ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

PS2105
ทฤษฎีและปรัชญาทางการเมือง
Political Theory and Philosophy
 ความนา

ทฤษฎีการเมืองมีต้นกาเนิดมาจากการทีม่ นุษย์ เป็ นสั ตว์ โลกทีม่ คี วามคิด รู้ จัก
แก้ ไขเปลีย่ นแปลงสิ่ งแวดล้ อม เพือ่ ให้ การดารงชีวติ ของตนมีความสุ ขและสะดวกสบาย สถาบัน
ทางสั งคมอันได้ แก่ ครอบครัว รัฐ กฎหมาย ศาสนา ฯลฯ กาเนิดขึน้ มาด้ วยสั ญชาติญาณของ
มนุษย์ และผ่ านการพัฒนาเป็ นเวลาหลายสิ บศตวรรษ จนเป็ นสถาบันทีย่ นื ยงตราบเท่ าทุกวันนี้
สถาบันทางสั งคมเหล่ านีล้ ้ วนแต่ มสี ่ วนช่ วยในการคา้ จุนชีวติ และเผ่ าพันธุ์คน
ตลอดจนเสริมสร้ างความสุ ขและความสะดวกสบายในการดารงชีวติ แต่ คนเป็ นผู้ทมี่ คี วามคิด
ดังนั้นกระบวนการพัฒนาแห่ งความคิดมนุษย์ จึงเป็ นสิ่ งหลีกเลีย่ งไม่ ได้ ทมี่ นุษย์ จะต้ องตั้ง
ข้ อสั งเกต ค้ นคว้ าสอบสวนสถาบันทางสั งคม พยามยามค้ นหาจุดกาเนิด ตั้งปัญหาโต้ แย้ งหรือ
สนับสนุนกลไกต่ างของสั งคม รวมทั้งเสนอความคิดปฏิรูปหรือสร้ างสรรค์ เพือ่ ทีจ่ ะให้ ตนและ
เพือ่ นร่ วมสั งคมประสบความสุ ขแห่ งชีวติ สิ่ งเหล่ านีค้ อื จุดเริ่มต้ น และนาไปสู่ วชิ าทฤษฎี
การเมือง
 ความหมายและลักษณะของทฤษฎีการเมือง

ทฤษฎีการเมือง (Political Theory) เป็ นสาขาหนึ่งของรัฐศาสตร์ และถือเป็ นสาขา
หนึ่งของวิชาปรัชญาด้ วย ในการศึกษาทฤษฎีการเมืองนั้นมีศัพท์ เฉพาะหลายคาทีเ่ กีย่ วข้ อง
ได้ แก่ ความคิดทางการเมือง ปรัชญาทางการเมือง อุดมการณ์ ทางเมือง สั งกัปทางการเมือง
และสิ ทธิทางการเมือง

ความคิดทางเมือง (Political Thought) หมายถึงความคิดที่เกีย่ วกับเรื่อง
การเมืองอย่างกว้ างๆ ความคิดทางการเมืองมีแนวโน้ มหนักไปในทางด้ านพรรณนา
(descriptive) และมักเน้ นหนักด้ านความคิด เชิงประวัติศาสตร์ คือเรียงลาดับว่ าใครคิด
อย่างใดเมือ่ ใด ปกติไม่ ค่อยมีการแยกเป็ นหัวข้ อวิเคราะห์
ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy)หมายถึง การศึกษาการเมืองใน
ระดับลึกซึ้งและเกีย่ วโยงกับสาขาวิชาอืน่ ด้ วย เพือ่ ให้ ร้ ู แจ้ ง ปรัชญาการเมืองมักเน้ นหลัก
จริยธรรมซึ่งเป็ นเสมือนหลักการหรือเหตุผลทีถ่ ูกต้ องและมีคุณธรรม ถือเป็ นรากฐาน
การเมืองแต่ ละแบบ
 อุดมการณ์ ทางการเมือง (Political
Ideology) ใช้ ในรู ปของความเชื่อและระดับ
ความคิดทีไ่ ม่ ลกึ ซึ้งนัก เน้ นความเชื่อศรัทธามากกว่ าหลักเหตุผล แต่ อุดมการณ์ ทาง
การเมือง มักมีผลในการยึดถือและมักเป็ นพลังผลักดันให้ เกิดการกระทา หรื อความ
เคลือ่ นไหวทางการเมือง อุดมการณ์ ไม่ จาเป็ นต้ องเป็ นสิ่ งทีถ่ ูกต้ องหรือยึดหลักศีลธรรม
และคุณธรรม แต่ เป็ นความเชื่อหรือความคิดทีป่ ลูกฝังเพือ่ ให้ เกิดผลทางการเมือง

สั งกัปทางการเมือง (Political Concept) หมายถึงความคิดหรือทรรศนะ
เกีย่ วกับศัพท์ เชิงนามธรรมทางการเมือง เช่ น ความยุตธิ รรม จุดมุ่งหมายแห่ งรัฐ
ผู้ปกครองทีด่ ี สิ ทธิ เสรีภาพ ความมัน่ คงแห่ งรัฐ ทฤษฎีการเมืองเป็ นการพยายามหาความ
เกีย่ วโยงระหว่ างสั งกัปต่ างๆ ดังกล่ าวโดยต้ องให้ เหตุผลและความเหมาะสม

 ลัทธิการเมือง (Political Ism) ได้ แก่หลักการทางการเมืองซึ่งมีลกั ษณะผสมผ
เสจากความคิดหรือทฤษฎี หลายท่ านประกอบกันเป็ นแนวคิดเกีย่ วกับระบบการเมือง
ชี้แนะการจัดวางอานาจ โครงสร้ างทางการเมือง ความเกีย่ วพันระหว่ างองค์ การที่ใช้
อานาจกับบุคคล
นิยามทฤษฎีการเมือง
 ยอร์ ช แคทเท็บ (George Kateb) ให้ ความหมายว่ าทฤษฎีการเมือง
คือข้ อเขียนซึ่งเสนอทรรศนะหรือแนวความคิดที่คดิ ว่ าดีและถูกต้ อง
เกีย่ วกับการจัดโครงสร้ างทางการเมือง
 รอเบอร์ ต อี.เมอร์ ฟี่ (Robert E.Murphy) ให้ ทรรศนะว่ าทฤษฎีการเมือง
เป็ นเรื่องทีเ่ กีย่ วข้ องกับการวิเคราะห์ ความคิดหรือปรัชญาเกี่ยวกับการเมือง
การปกครอง
 เอ็ดเวอร์ ด ซี .สมิธ. (Edward C.Smith) และอาร์ โนลด์
เจ.เซอร์ เชอร์
(Arnold J.Zurecher) เสนอคาจากัดความทีด่ ูจะครอบคลุมลักษณะและ
ขอบเขตของทฤษฎีการเมืองไว้ ได้ ท้งั หมด โดยให้ ไว้ ว่าทฤษฎีการเมืองคือ
“ส่ วนทั้งหมดของคาสอน (doctrine) ทีเ่ กีย่ วข้ องกับกาเนิด รู ปแบบ
พฤติกรรม และจุดมุ่งหมายของรัฐ คาสอน (doctrine) แบ่ งลักษณะ
ออกเป็ น ดังนี้
 ลักษณะแบบจริยธรรม (Ethical) ได้ แก่ ส่วนของทฤษฎีการเมืองทีเ่ กีย
่ วข้ องกับสิ่ ง
ใดควรทาไม่ ควรทา

ลักษณะแบบจินตนาการ (Speculative) คือส่ วนทีเ่ ป็ นความคิดฝันหรือ
มโนภาพทีย่ งั ไม่ ปรากฏขึน้ มา เช่ นการใฝ่ ฝันรัฐในอุดมคติ

ลักษณะเชิงสั งคมวิทยา (Sociological) เป็ นส่ วนหนึ่งของทฤษฎี
การเมืองทีเ่ กีย่ วข้ องกับการวิเคราะห์ หรือทดลองเปรียบเทียบเพือ่ แสวงหาความสั มพันธ์
ระหว่ างรัฐกับส่ วนอืน่ ๆของสั งคม

 ลักษณะแบบกฎหมาย (Legal) ได้ แก่ส่วนทีศ่ ึกษาเกีย่ วกับธรรมชาติของ
กฎหมาย สั งกัปของกฎหมาย และสถานะทางกฎหมาย ซึ่งเกิดขึน้ มาจากสถาบันต่ างๆ
และเป็ นเสมือนเครื่องมือทีจ่ ะกระจายและควบคุมการใช้ อานาจทางการเมือง

ลักษณะแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific) ทฤษฎีทเี่ กิดจากการสั งเกตการณ์
การทดลอง การเปรียบเทียบพฤติกรรมการเมืองเพือ่ จะค้ นหาแนวโน้ มและความน่ าจะ
เป็ น
 ทฤษฎีการเมือง
หมายถึง ทฤษฎีการเมืองทีม่ ่ ุงอธิบาย ปรากฏการณ์ หรือหลักการบาง
ประการ ทฤษฎีการเมืองอาจไม่ พจิ ารณาหลักจริยธรรม ทฤษฎีการเมือง
เป็ นเพียงการศึกษาสั งกัปกลุ่มหนึ่ง ๆ ว่ ามีความเกีย่ วพันเป็ นปัจยการ
อย่างไรคือ เน้ นเฉพาะเรื่อง
 ปรัชญาทางการเมือง หมายถึง ปรัชญาทางการเมืองนั้นมีขอบเขตกว้ างขวางกว่ าทฤษฎี
ปรัชญาทางการเมืองมักมุ่งอธิบายปรากฏการณ์ ท้งั หลายทั้งปวงทาง
การเมือง หลักการทางปรัชญาเน้ นทางด้ านจริยธรรม การศึกษาใน
ลักษณะปรัชญาจะลึกซึ้งและเกีย่ วโยงกับศาสตร์ อนื่ ๆ ด้ วย
 อุดมการณ์ การณ์ ทางการเมือง หมายถึง ความเชื่ อและความศรั ทธาโดยไม่ ใช้ เหตุผล
ประกอบ
อาจเรียกได้ ว่าเป็ น “ทฤษฎีแบบชาวบ้ าน”
 ลัทธิทางการเมือง หมายถึง การผสมผสานทฤษฎีการเมืองหลายทฤษฎีโดยนาบางส่ วนมา
ผสมผสานกลมกลืนกันประยุกต์ ให้ สอดคล้ องกับความต้ องการทีจ่ ะใช้
 ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีการเมืองกับปรัชญาทางการเมือง
ไม่คอ่ ยจะเด่นชัดนัก
 เพราะทฤษฎีกบ
ั ปรัชญามีลกั ษณะใกล้ เคียงกันมาก
 ข้ อแตกต่างอยูต
่ รงที่ปรัชญามีขอบเขตกว้ างขวางกว่าทฤษฎี
“ปรัชญาทางการเมืองมักจะมุง่ อธิบายปรากฎการณ์ทงหลายทั
ั้
ง้
ปวงทางการเมือง
 ซึง่ ต่างกับทฤษฎีการเมืองซึง่ มุง่ อธิบาย ปรากฎการณ์ หรื อ
หลักการบางประการ” และหลักการของปรัชญาเน้ นทางจริยธรรม
ในขณะที่ทฤษฎีอาจไม่พิจารณาหลักจริยธรรมเลยก็ได้
 นอกจากนี ้การศึกษาในลักษณะปรัชญาจะลึกซึ ้งและเกี่ ยวโยงกับ
ศาสตร์ อื่นๆ ด้ วย ผิดกับทฤษฎีที่เป็ นเพียงการศึกษาสังกัปกลุม่
หนึง่ ๆ ว่ามีความเกี่ยวพันเป็ นปั จยการอย่างไรคือเน้ นเฉพาะเรื่ อง
ตัวอย่างคือ
ในระดับทฤษฎีรัฐศาสตร์ อาจกล่าวได้วา่ พรรคการเมืองใน
ระบบพหุพรรคหรื อระบบหลายพรรคมีแนวโน้มที่จะค่อย
วิวฒั นาการกลายมาเป็ นระบบสองพรรค

ในระดับปรัชญา อาจกล่าวว่า หลังจากพิจารณาศาสตร์
หลายๆ สาขาแล้วปรากฏว่ามีแนวโน้มที่ของทุกอย่างจะเข้าสู่
ระบบสอง เช่น ในระบบครอบครัว ก็มีสามี,ภรรยา, ในระบบ
การศึกษา ก็มีครู กบั ศิษย์, ในระบบศาสนาหรื อจริ ยธรรมก็มี
ความดีกบั ความชัว่ ในภาวะทางภูมิศาสตร์กม็ ีร้อนกับหนาว
หรื อกลางวันกับกลางคืน เป็ นต้น
คุณค่ าและประโยชน์ ของทฤษฎีการเมือง
 ประโยชน์จากการศึกษาทฤษฎีการเมืองโดยเฉพาะทฤษฎี
การเมืองสมัยโบราณ
 แอนดริ ว แฮคเกอร์ (Andrew Hacker) เขียนไว้ วา่ “บรรดานัก
ปรัชญาการเมืองมีความสนใจในสิง่ ที่เขาเหล่านันควรจะ
้
ประพฤติ”
 บางคนจึงให้ ทรรศนะว่า ทฤษฎีการเมืองเป็ นเช่นเดียวกับความ
เพ้ อฝั นต่างๆ ที่ไม่ยอมรับสภาพความเป็ นจริงและไม่สามารถที่จะ
นามาใช้ ประโยชน์ในทางปฏิบตั ิ เบอร์ ก (Burke) เชื่อว่าความ
เสื่อมทรามของรัฐจะบังเกิดขึ ้น ถ้ าประชาชนพยายามจะฟื น้ ฟู
ทฤษฎีตา่ งๆ มาเป็ นหลักในการปกครอง
ลอเรนซ์ ซี. แวนลาสส์ (LAWRENCE C. WANLASS) ได้ ชี ้ให้ เห็น
คุณค่าของทฤษฎีการเมืองว่ามีหลายประการ
1. ทฤษฎีการเมืองช่วยให้คาจาจัดความที่ถูกต้องแก่ศพ
ั ท์
ทางการเมือง เช่น คาว่าเสรี ภาพ, ประชาธิปไตย, ฯลฯ คา
จาพวกนี้นิยมใช้กนั โดยทัว่ ไปไม่เฉพาะแต่นกั ศึกษา
รัฐศาสตร์เท่านั้น ทฤษฎีการเมืองสอนให้รู้ซ้ ึ งถึง
ความหมายที่แท้จริ งของศัพท์เฉพาะเหล่านี้ ซึ่งจะมีส่วน
ช่วยเป็ นอย่างมากในการแสดงโวหารทางการเมืองโน้ม
น้าวความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
2. ทฤษฎีการเมืองมีส่วนช่วยอย่างมากในการทาให้เข้าใจ
ประวัติศาสตร์ เพราะนาผูท้ ี่ศึกษาให้เข้าสู่บรรยากาศความคิดใน
สมัยก่อน ช่วยให้เข้าใจถึงพลังผลักดันที่ก่อให้เกิดการ
เคลื่อนไหวหรื อเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สาคัญๆ เพราะเหตุ
ที่วา่ ปรากฎการณ์ในอดีตเป็ นผลมาจากการกระทาของมนุษย์จึง
เป็ นการจาเป็ นที่จะต้องทราบถึงความคิดที่ชกั จูงให้เกิดการ
กระทานั้น เช่น การที่จะเข้าใจถ่องแท้ถึงประวัติศาสตร์โลกสมัย
กลาง (Middle Ages) นั้น จาเป็ นต้องทราบถึงการพิพาท
แย่งความเหนือกว่าในการปกครองคนระหว่างจักรพรรดิกบั
สันตะปาปา เป็ นต้น

3. ความรู้ ในความคิดทางการเมืองแห่งอดีตนันมี
้ สว่ น
ช่วยให้ เข้ าใจถึงการเมืองในสมัยปั จจุบนั เพราะปั ญหา
ทางการเมืองในปั จจุบนั ล้ วนเกิดขึ ้นจากสถานการณ์ใน
อดีต หรื ออาจเทีบเคียงได้ กบั ปรากฏการณ์ในอดีต และ
หลักการเมืองต่างๆ ที่นามาใช้ เป็ นผลมาจากวิวฒ
ั นาการ
ของความคิดทางการเมืองสมัยก่อน เช่น ทฤษฎีการ
แบ่งแยกอานาจในระบบการปกครองของสหรัฐอเมริ กามี
รากฐานมาจากความคิดของเมธีการเมืองสมัยกลาง เป็ น
ต้ น
4 ทฤษฎีการเมืองสอนให้มีความเข้าใจในนโยบาย
และการปรับปรุ งโครงร่ างทางการปกครอง เพราะ
ประเทศทุกประเทศต้องมีหลักการอันเกิดจากปรัชญา
การเมืองใดปรัชญาหนึ่งเป็ นสิ่ งนารัฐบุรุษและ
ประชาชน ในการวางนโยบายหรื อปฏิรูปการ
ปกครอง ความก้าวหน้าหรื อประสบความสาเร็ จของ
ระบบการเมืองในประเทศเป็ นผลมาจากการวางโครง
ร่ างการปกครองอยูบ่ นทฤษฎีการเมืองที่เหมาะสมกับ
สภาพการณ์ และความต้องการของประเทศนั้น
5. คุณค่านอกเหนื อไปจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่
การที่ทฤษฎีการเมืองเป็ นเสมือนตัวแทนแสดง
ให้เห็นถึงความรุ่ งโรจน์แห่งอาณาจักรทาง
ปัญญาในสมัยต่างๆ รัฐในอุดมคติหรื อเลิศนคร
แห่งจินตนาการล้วนแต่เป็ นสิ่ งที่สะท้อนให้เห็น
ถึงความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์และความ
พยายามที่จะใช้ความรู้ความเฉลียวฉลาด
เสนอแนะรู ปแบบที่ดีที่สุดแห่งการปกครอง
ปั จจุบน
ั นี้ทฤษฎีการเมืองวิวฒั นาการมาสู่รูปแบบที่มีลกั ษณะ
การใช้หลักเกณฑ์การพิสูจน์ทฤษฎีหรื อสมมุติฐานที่ต้ งั ขึ้นโดย
วิธีการแบบวิทยาศาสตร์ ใช้วิธีการวิจยั จากข้อมูล
ที่รวบรวมตามหลักสู ตร ทาให้ผลลัพธ์หรื อข้อสรุ ปมีความ
แม่นยามากยิง่ ขึ้น แม้จะไม่แน่นอนเหมือนกับทฤษฎีทาง
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) แต่กน็ บั ว่า
มีระดับความถูกต้องสูงกว่าวิธีการแบบเดิมที่ใช้เพียงการ
สังเกตการณ์และเปรี ยบเทียบ เพราะฉะนั้นจึงอาจกล่าวได้วา่
ทฤษฎีการเมืองมีคุณค่าที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ “ช่วยให้
วิชาการปกครองหรื อวิชารัฐศาสตร์มีลกั ษณะเป็ นปึ กแผ่น มี
กฎเกณฑ์และแน่นอนมากขึ้น”
 ยอร์ ช
แคทเท็บ กล่าวถึงประโยชน์ทฤษฎีทางการเมืองใน
ชีวิตประจาวันไว้ความว่า ปัจจุบนั คนโดยทัว่ ไปมีความต้องการ 3
ประการในเรื่ องที่เกี่ยวกับการเมืองหรื อเป็ นการเมืองในลักษณะเป็ นที่
หวังกันว่านักรัฐศาสตร์ผแู ้ ตกฉานในการศึกษาทฤษฎีการเมืองจะสนอง
ความต้องการทั้ง 3 ประการของคนทัว่ ไปได้ ความต้องกาที่วา่ นี้คือ
 1. ต้องการคาแนะนา ซึ่ งอาจจะเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับโคราสร้าง เช่น ควรวาง
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานหรื อควรกระจายอานาจหน้าที่ หรื อควร
กาหนดความรับผิดชอบอย่างไร
 2. ต้องการความถูกต้องเพื่อตัดสิ นเมื่อเกิดปั ญหาหรื อความไม่เข้าใจ
ระหว่างบุคคล
 3. ต้องการทักษะ (skill) ในการทานายเหตุการณ์ในอนาคตได้ถูกต้อง
หรื อใกล้เคียง
5
แคทเท็บ เชื่อว่า นักรัฐศาสตร์จะสามารถสนองความ
ต้องการทั้งสามประการนี้ได้เพราะเหตุที่วา่ นักรัฐศาสตร์
เป็ นผูท้ ี่ให้ความสนใจกับปั จจุบนั และอนาคต เป็ นผูท้ ี่คุน้ เคย
กับทฤษฎีการเมือง รู ้ซ้ ึ งถึงนรรยากาศการเมืองในอดีต ซึ่ง
อาจเทียบเคียงได้ละม้ายกับปั จจุบนั และอนาคต และเป็ นผูท้ ี่
มีนิสยั โน้มเอียงไปในทางชอบตั้งข้อสังเกตหรื อสงสัยในการ
เคลื่อนไหวหรื อเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ดังนั้นเขาจึง
ควรจะสามารถให้คาปรึ กษา ความถูกต้อง และพยากรณ์
เหตุการณ์ขา้ งหน้าได้ดีกว่าใคร
 นอกจากนี้ ประโยชน์ของทฤษฎีการเมืองยังมีหลายประการ
ผูท้ ี่ศึกษาควรรู ้จกั นามาใช้กบั ชีวิตประจาวัน เช่น เป็ นที่ทราบกันดีวา่ เมธี
การเมืองส่ วนมากใช้เหตุผลโน้มน้าวชนทัว่ ไปให้ศรัทธาและสบับสนุน
แนวความคิดของเขา ดังนั้นจึงพึงรู ้วา่ การใช้เหตุผลเป็ นวิธีการที่ดีที่สุดที่จะ
ชักจูงให้คนอื่นๆคล้อยตามความคิดเห็นของตนและในทานองเดียวกันคนที่มี
เหตุผลในการกระทาสิ่ งใดก็ตาม ไม่ควรที่จะใช้อารมณ์และตัณหาเข้าครอบงา
จิตใจ เพราะอาจทาให้ทาอะไรที่ไม่ถูกต้องหรื อโง่ๆได้
 ประโยชน์ที่สาคัญอีกประการหนึ่ งคือการศึกษาทฤษฎีการเมืองอาจจะทาให้
เป็ นบุคคลที่มีมนุษยสัมพันธ์ (human relations) ดี เพราะเหตุวา่
ทฤษฎีการเมืองสอนให้รู้จกั ความหลากหลายของธรรมชาติหรื อลักษณะนิสัย
ใจคอคน ดังนั้นผูท้ ี่ศึกษาทฤษฎีการเมือง จึงควรรู ้จกั แนวทางในการสร้าง
ความชื่นชอบให้กบั ผูแ้ วดล้อม

คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมืองที่หยิบยกมา
ข้างต้นนี้ เป็ นสิ่ งที่ยนื ยันได้วา่ วิชาทฤษฎีการเมืองไม่ใช่
เป็ นการศึกษาเรื่ องเพ้อฝัน หรื อความเลื่อนลอยของ
อุดมการณ์และความคิดต่างสมัยแต่เพียงอย่างเดียว ผูท้ ี่
ศึกษาควรจะมุ่งหาประโยชน์จากปรัชญาและความจริ ง
ซึ่งมีอยูใ่ นทฤษฎีการเมืองหลากหลายนั้น และนามา
ดัดแปลงปรับปรุ งให้เกิดประโยชน์แก่การครองชีวิตและ
สังคมโดยส่ วนรวม
 วัตถุประสงค์ และจุดมุ่งหมายปลายทางของทฤษฎี

วัตถุประสงค์ และจุดมุ่งหมายปลายทางของทฤษฎีการเมือง
ทั้งหมาย คือ การใฝ่ หา สั มมาร่ วม (Common Good) ซึ่ง
สร้ างสรรค์ สังคมให้ มีสุข สั มมนาร่ วมนีไ้ ม่ จาเป็ นต้ องมาจากการ
ดาเนินชีวติ ในทางที่ดมี ีศีลธรรม แต่ เป็ นผลมาจากการดาเนินการ
ทางการเมืองทีถ่ ูกต้ องมีประสิ ทธิภาพสามารถบันดาลความสุ ขให้
เกิดขึน้ แก่สังคมโดยส่ วนรวม ความแตกต่ างของทฤษฎีการเมือง
ของแต่ ละเมธีการเมือง อยู่ทมี่ รรควิธี (Mean) ที่จะนาไปสู่
จุดหมายปลายทางดังกล่าว ในขณะทีน่ ักทฤษฎีการเมืองบางท่ าน
เช่ นเพลโต เชื่อว่ าคนเท่ านั้นทีจ่ ะสามารถนาคนไปสู่ ความสุ ขได้
อริสโตเติลเชื่อว่ า กฎหมายเป็ นเครื่องมือปกครองทีส่ ามารถ
นาไปสู่ สัมมนาร่ วม
ประวัตกิ ารปกครองนครรัฐกรีก
กรี กสมัยเฮเลนนิค (Helenic) ศตวรรษที่ 8 และ 9 ก่ อนคริ สตกาล
ประกอบด้ วยนครรัฐต่ างๆทีต่ ้งั กันกระจัดกระจายตามหุบเขากรีก
และดินแดนเมดิเตอร์ เรเนียน มีขนบธรรมเนียม ระบบสั งคม และ
ลัทธิศาสนาคล้ ายคลึงกัน ด้ านการเมืองต่ างเป็ นอิสระและมี
อธิปไตยเป็ นของตนเอง ร่ วมกันอยู่แบบพันธมิตร
 ระบบการปกครองนครัฐกรีก สมัยแรกนั้นเป็ น
 ระบบกษัตริยาธิปไตยหรือราชาธิปไตย (Monarchy)
 ศตวรรษที่ 7 ก่ อนคริสตกาลรู ปการปกครองเปลีย่ นเป็ น
 คณาธิปไตย (Oligrachy) คณะผู้ปกครองประกอบด้ วยหัวหน้ าเผ่ า
ต่ อมาระบบคณาธิปไตยเสื่ อมลง เพราะผู้ปกครองขีเ้ กียจและแตกแยก
กันเอง จึงเข้ าสู่ ระบบทรราชย์ หรือทุชนาธิปไตย (Tyranny)
 ระหว่ าง 700-500 ก่ อนคริสตกาล ประชาชนถูกกดขี่จึงร่ วมมือกับเหล่ า
ขุนนางผู้มีความรู้ทาการปฏิวตั ิกวาดล้างทรราช จนศตวรรษที่ 5 และ
4 ก่อนคริสตกาล ทุกๆนครรัฐเปลีย่ นรูปการปกครองเป็ นแบบ
ประชาธิปไตย (Direct Democracy)
สรุ ปว่ านครรั ฐในกรี กซึ่ งมีจานวนมาก จะให้ นคร
รัฐทุกแห่ งเหมือนกันหมดย่ อมเป็ นไปไม่ ได้ แม้ ว่านครรัฐ
จะมีความความคล้ ายคลึงกัน แต่ ความแตกต่ างด้ านสั งคม
และการเมืองก็มอี ยู่ไม่ น้อย โดยเฉพาะด้ านความคิดเห็น
ทางการเมืองและสถาบันการปกครอง ในบรรดานครรัฐ
กรีกทั้งหมด เอเธนส์ และสปาร์ ต้าได้ รับการยอมรับว่ าเป็ น
นครรัฐทีย่ งิ่ ใหญ่ และเป็ นผู้นาของของนครรัฐอืน่ ๆ
นครรั ฐเอเธนส์
ชนชั้นในสังคม
 ประชากรประมาณ 250,000- 275,000 คน
 พื้นที่ประมาณ 1,000 ตารางไมล์
พลเมือง(CITIZEN) จานวนประมาณ 1/3
“เขาเป็ นส่ วนหนึ่งของรัฐ และรัฐเป็ นส่ วนหนึ่งของเขา”
“การเป็ นพลเมืองไม่ใช่ทรัพย์สินที่ใครจะถือเอาได้คน
เดียวเป็ นสมบัติแต่เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งยอมให้พลเมืองคนอื่น
ใช้ร่วมกับตนเสมือนคนในญาติหรื อครอบครัว
เดียวกัน”
ต่ างด้ าว(Met ice)
ประมาณ 1/6
ไม่มีสิทธิ ในการปกครองของรัฐ
เสี ยภาษีพิเศษซึ่ งบรรดาพลเมืองได้รับการยกเว้น
ค่าบารุ งกองทัพ
ทาส (Slave)
ปฏิบต
ั ิภารกิจแทนนาย
เสรี ภาพไม่นอ
้ ยในการเขียนและการพูด
นายไม่มีสิทธิ ที่จะทาอันตรายทาสของเขาจนถึงแก่ชีวต
ิ
คนทุกคนไม่มีสิทธิ ทาร้ายร่ างการทาสซึ่ งไม่ใช่ทาสของ
เขา
สถาบันการปกครอง
 สภาประชาชน
ประกอบด้วยชายที่มีอายุ 20 ขึ้นไป
 หน้าที่
 นิ ติบญ
ั ญัติ
 ควบคุมนโยบายต่างประเทศ
 ควบคุมฝ่ ายบริ หาร
 ประชุม 10 ครั้งต่อปี
บางครั้งเปิ ดประชุมทุก 10 วัน
 ควบคุมการปฏิบตั ิงานของคณะมนตรี หา้ ร้อยอย่างกว้างขวาง
 อาจปฎิเสธของเสนอของคณะมนตรี หา้ ร้อย
 สามารถแก้ไขเพิ่มเติมกฤษฎีกาหรื อบทบัญญัติที่ออกมาโดยคณะมนตรี ฯ
คณะมนตรีห้าร้ อย(Council of Hundred)
 ปฏิบต
ั ิงานในระหว่างสมัยประชุมของสภาและอานวยงานของสภาในวาระ
ประชุม
 สมาชิกคณะมนตรี ประกอบด้วยพลเมืองชายเอเธนส์ 500 คนโดยเลือกเอาผูแ้ ทน
เผ่าแต่ละเผ่า เผ่าละ 50 คน คัดเลือกด้วยการจับฉลาก
 สมาชิกแต่ละคนมีอายุประจาการครั้งละ 1 ปี และห้ามไม่ให้ดารงตาแหน่ ง 2 ปี
ติดต่อกัน
 อานาจหน้าที่ ได้แก่
 การวางนโยบายและเป็ นคณะกรรมการดาเนิ นงานของสภา, การเตรี ยมวาระ
ประชุมของสภา, สามารถที่จะออกกฤษฎีกาและกาหนดรายละเอียดเพิ่มเติมตัวบท
กฎหมายทีฝ่ายสภาบัญญัติข้ ึน, ควบคุมดูแลการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่บริ หาร
ทั้งหมด, จัดการการคลังและการเก็บภาษี, ควบคุมการเลือกตั้ง, เป็ นตัวแทนเจรจา
กับผูแ้ ทนรัฐอื่นๆ, และในบางครั้งอาจทาหน้าที่เป็ นศาลสถิตยุติธรรมกาหนด
ความผิดและลงโทษเพื่อให้การปฏิบตั ิงานมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
ใช้ระบบหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกันทางาน โดยแบ่งเป็ น
คณะกรรมการ 10 คณะ
แต่ละคณะมี 50 คน ประกอบด้วยผูแ้ ทนเผ่าหนึ่ งเผ่าใดโดยเฉพาะ
41 คน และจากเผ่าอื่นๆ เผ่าละ 1 คน ทางานแทนคณะมนตรี ฯ
คณะละ 1 ใน 10 ของปี
 แต่ละวันคณะกรรมการจะจับฉลากเลือกสมาชิกคนหนึ่ งให้ทา
หน้าที่เป็ นประธานของคณะ ห้ามไม่ให้ผใู้ ดดารงตาแหน่งนี้ได้
เกินกว่า 1 วัน
ในชีวต
ิ สมาชิกทั้งหมดของคณะกรรมการต้องเข้าร่ วมในการ
ประชุมของคณะมนตรี ฯ สมาชิกอื่นๆ มีสิทธิเข้าร่ วมแต่ไม่บงั คับ
ศาล
(Court)
 เป็ นสถาบันที่ถือว่าเป็ นตัวแทนแสดงอานาจอธิปไตยโดยสมบูรณ์ของ
ประชาชน
 ประกอบด้ วยชาวเอเธนส์ชายที่มีอายุ 30 ปี ขึ ้นไปจานวน 6,000 คน
 คัดเลือกด้ วยวิธีจบ
ั สลากจากแต่ละเผ่าๆ ละ 600 คน
 ในการพิจารณาคดีแต่ละคดี จะมอบอานาจในการเป็ นผู้พิพากษาให้ กบ
ั
สมาชิกของศาลจานวนหนึง่ ซึง่ ต้ องมีผ้ แู ทนของแต่ละเผ่าจานวนเท่ากัน
และไม่มีการแจ้ งให้ ทราบล่วงหน้ าว่าจะมอบเรื่ องใดให้ พิจารณา เพื่อ
ป้องกันการยุติธรรม
 ศาลนี ้ทาหน้ าที่พิพากษาทังคดี
้ แพ่งและคดีอาญา คาตัดสินถือเป็ น
เด็ดขาดไม่มีอทุ ธรณ์สมาชิกของศาลเป็ นทังตุ
้ ลาการและลูกขุนไม่มี
อัยการ ทังโจทก์
้
และจาเลยต้ องปฏิบตั ิหน้ าที่ของตนด้ วยตนเองไม่มี
ทนายความ
 ขบวนการตัดสินคดีเริ่ มโดยการลงมติก่อนว่า ผิดหรื อไม่ ถ้ าไม่ผิดก็ให้ ยก
ฟ้อง ถ้ าผิดก็หามติกาหนดโทษ โดยเลือกเอาโทษอย่างใดอย่างหนึง่ ที่คคู่ ดี
เสนอแนะนอกจากพิจารณาคดีแล้ ว
 ศาลยังทาหน้ าที่ควบคุมเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ เป็ นผู้ตรวจสอบคุณสมบัติของ
เจ้ าหน้ าที่ศาลซึง่ เลือกด้ วยวิธีจบั สลาก รวมทังตรวจสอบบั
้
ญชีการเงินต่างๆ
ซึง่ มีเงินของรัฐเกี่ยวข้ องอยู่
 ข้ อบกพร่ องของศาลอยูท
่ ี่ข้อกาหนดที่วา่ การเป็ นสมาชิกของศาลต้ อง
กระทาด้ วยความสมัครใจ แม้ จะมีคา่ ตอบแทนให้ แต่ก็เป็ นจานวนน้ อย
 เป็ นเหตุให้ บรรดาผู้ที่มีความสามารถแต่ต้องรับผิดชอบในเรื่ องการทามาหา
เลี ้ยงชีพไม่ประสงค์จะเป็ นสมาชิก ผลที่ตามมาก็คือสมาชิกของศาลส่วน
ใหญ่ประกอบด้ วยบรรดาคนชราและผู้ที่ไม่มีความสามารถอย่างแท้ จริง
ใช้ระบบหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกันทางาน โดยแบ่งเป็ น
คณะกรรมการ 10 คณะ
แต่ละคณะมี 50 คน ประกอบด้วยผูแ้ ทนเผ่าหนึ่ งเผ่าใดโดยเฉพาะ
41 คน และจากเผ่าอื่นๆ เผ่าละ 1 คน ทางานแทนคณะมนตรี ฯ
คณะละ 1 ใน 10 ของปี
 แต่ละวันคณะกรรมการจะจับฉลากเลือกสมาชิกคนหนึ่ งให้ทา
หน้าที่เป็ นประธานของคณะ ห้ามไม่ให้ผใู้ ดดารงตาแหน่งนี้ได้
เกินกว่า 1 วัน
ในชีวต
ิ สมาชิกทั้งหมดของคณะกรรมการต้องเข้าร่ วมในการ
ประชุมของคณะมนตรี ฯ สมาชิกอื่นๆ มีสิทธิเข้าร่ วมแต่ไม่บงั คับ
คณะสิบนายพล
(Ten Generals)
 ในทางทฤษฎีคณะสิบนายพลเป็ นตาแหน่งหน้ าที่ทางการทหาร แต่
ในทางปฏิบตั ิแล้ วบรรดานายพลเหล่านี ้มีอิทธิพลในทางการเมืองเป็ น
อย่างมาก
 เป็ นตาแหน่งที่ขึ ้นมาจากการเลือกตังโดยตรงและสามารถที
้
่จะครอง
ตาแหน่งต่อไปได้ อีกเมื่อหมดวาระแล้ ว หากได้ รับเลือกซ ้าอีก
 กฎหมายกาหนดให้ อานาจหน้ าที่ของนายพลแต่ละคนทัดเทียมกันและ
แบ่งงานกันทาเป็ นประเภทๆ เพื่อไม่ให้ เกิดการซ้ อนงานกัน
 แต่ในทางปฏิบต
ั ิจะมีนายพลคนหนึง่ สามารถครอบงาและมีอิทธิพล
เหนือนายพลคนอื่นๆ ทาหน้ าที่เป็ นหัวหน้ าอย่างไม่เป็ นทางการ
หน้าที่ของคณะสิ บนายพลนี้ แม้จะเน้นหนักไปในทางนโยบาย
ต่างประเทศและการทหาร แต่ใน
บางครั้งขยายคลุมไปถึงเรื่ องการคลัง รวมตลอดถึงนโยบายใน
ประเทศด้วย ขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์แวดล้อม และบุคลิกของ
หัวหน้านายพล
 ฐานะของกลุ่มนายพลคล้ายคลึงกับคณะรัฐมนตรี ในระบบการ
ปกครองปัจจุบนั
หัวหน้านายพลเปรี ยบเสมือนนายกรัฐมนตรี อาจเรี ยกประชุ มและ
ยืน่ ข้อเสนอต่อสภาระยะเวลาการดารงตาแหน่งขึ้นอยูก่ บั การ
สนับสนุนของสภา หากไม่ได้รับการสนับสนุนเพียงพอตาแหน่ง
ก็อาจได้รับการกระทบกระเทือน
โสเครติส SOCRATES
มีชีวิตอยูร่ ะหว่างปี 469-399 ก่อนคริ สตกาล
โสเครติส เป็ นปราชญ์ชาวเอเธนส์ในยุคเอเธนส์ตกต่า ประชาชนขาดความเชื่อมัน่ ต่อระบบ
การเมือง โสเครติสได้ปลุกชาวกรี กให้แสวงหาความจริ งและคุณธรรมว่าความรู้และ
ความดีงามมีอยูจ่ ริ ง สามารถเรี ยนรู้ได้ เชื่อว่า การที่คนเราทาอะไรนั้นย่อมทาตามความรู ้
ที่เขามี และทาสิ่ งนั้นก็เพราะเห็นว่า สิ่ งนั้นเป็ นสิ่ งดี
โสเครติสมีความศรัทธาในความรู้อย่างยิง่ เห็นว่าคนรู ้จริ งจะทาแต่ความดี ความไม่รู้จะ
นาไปสู่การทาชัว่ เชื่อว่า “ความรู้คือคุณธรรม”
โสเครติสเห็นว่า นครรัฐที่ดีแบ่งพลเมืองออกเป็ น ๓ พวก ได้แก่ ประชาชนทัว่ ไป :แรงงาน
ช่าง พ่อค้า ฯ ทหาร และชนชั้นปกครอง
โสเครติส เป็ นนักปราชญ์ที่เด่นที่สุดแห่งยุค แต่ไม่เคยเขียนอะไรไว้เลย เดิมมุ่งแสวงหาสัจจะจากจักรวาล
และธรรมชาติ แต่ไม่อาจหาคาอธิบาย จึงหันมาสนใจปั ญหาของมนุษย์ จริ ยธรรม และสัจจะในการ
ดารงชีวติ เขาเชื่อว่า สัจจะ ความดีงาม และความยุติธรรม เป็ นนิรันดร มนุษย์เกิดมาพร้อมกับ “ความรู้ที่
แฝงอยูภ่ ายในคน”
 ทฤษฎีเกี่ยวกับรัฐ ปรากฏในอุตมรัฐ(Republic) ว่า อะไรคือความยุติธรรม และรัฐที่ยต
ุ ิธรรมควร
บริ หารอย่างไร โดยพลเมืองจะต้องได้รับการฝึ กอบรมที่สอดคล้องกับหน้าที่ และรัฐที่ยตุ ิธรรม คือรัฐที่คน
แต่ละพวกได้ทาหน้าที่ของตนเองเพื่อให้เกิดความสมดุลในรัฐ
 โสเครติส สอนสานุศิษย์วา่ ความมัง่ คัง่ และอานาจสาคัญน้อยกว่าคุณงามความดีของแต่ละคน และสอนให้
คิดและหาคาตอบด้วยเหตุผลตามลาดับขั้น จนได้รับคาตอบ

เมื่อเอเธนส์พา่ ยแพ้สงครามกับนครรัฐสปาต้า ความพ่ายแพ้ทาให้มุ่งหาตัวผูร้ ับผิดชอบ โสเครติส
ถูกกล่าวหาว่าไม่เชื่อในศาสนาของเอเธนส์ และเป็ นผูท้ าลายเด็กหนุ่มสาวด้วยการใช้คาสอนที่ยยุ ง
ให้เกิดปฏิกิริยาต่อความคิดผูป้ กครองรัฐ จึงถูกมองว่าเป็ นผูท้ า้ ทายอานาจผูป้ กครอง โสเครติส
ได้รับการพิจารณาโทษให้ตายด้วยการดื่มยาพิษ เมื่ออายุได้ 71 ปี
 ความตายของโสเครติส ทาให้ชาวเอเธนส์รู้สึกว่า สังคมที่เป็ นอิสระและเป็ นสังคมเปิ ดจะต้องมีนก
ั
คิดและนักวิจารณ์สงั คม และที่สาคัญสังคมนั้นควรจะต้องปกป้ องนักคิดนักวิจารณ์สงั คมนั้นด้วย
 จึงเป็ นบทเรี ยนต่อประวัติศาสตร์ ความเจริ ญรุ่ งเรื องของสังคมตะวันตกที่ยอมรับการ
วิพากษ์วจิ ารณ์และปกป้ องบรรดานักคิดของสังคม ทาให้สงั คมรู ้จกั เผชิญกับความจริ งที่เป็ นความ
ผิดพลาดของตนเอง

PLATO เพลโต
มีชีวิตอยูร่ ะหว่างปี ที่ 429-347 ก่อนคริ สตกาล
เพลโตเชื่อว่า สังคมที่มีระเบียบดีกว่าเสรี ภาพทางการเมือง ปรากฏในผล
งานชื่อ Republic หรื อ อุดมรัฐ ซึ่ งมีผปู ้ กครองที่เลือกสรรว่าเป็ นผูม้ ีสติปัญญาและพร้อมด้วย
ศีลธรรมจรรยา ซึ่งเพลโตเรี ยกว่า กษัตริ ยน์ กั ปรัชญา ในอุดมรัฐมีชนชั้นกลางได้แก่ทหารซึ่งเพลโต
เรี ยกว่า ผูร้ ักษาเมือง
เพลโต เห็นว่าทรัพย์สินเป็ นที่มาของอานาจ และอานาจเป็ นที่มาของความขัดแย้งและความไม่เท่าเทียม
กัน ดังนั้นเพื่อขจัดความขัดแย้งและความไม่เท่าเทียม คือการยกเลิกกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สินของบุคคล
โดยสิ้ นเชิง
แนวคิดเพลโตกับการปกครองว่า ทุกคนมีเสรี ภาพ สามารถพูดและทาในสิ่ งที่ชอบได้ แต่ถา้ บุคคลมี
เสรี ภาพมากเกินไป จะมีการเรี ยกร้องหาผูป้ กป้ องเพื่อจะทาให้ความสงบเรี ยบร้อยกลับคืนสู่ สภาพเดิม

เพลโตได้นาหลักปรัชญาของโสเครติสเรื่ องความดีงามเป็ นนิรันดรมาขยายหลักปรัชญาของตน
เพลโตได้ต้งั สถาบันการศึกษา “อะคาเดมี”ดาเนินการสอนนานกว่า 900 ปี และถูกสัง่ ปิ ดโดย
จักรพรรดิจสั ติเนียนด้วยข้อหาว่าต่อต้านขัดขวางการเผยแพร่ ศาสนาในปี ค.ศ.529
 ด้านการปกครอง เพลโตเชื่อว่า”สังคมที่มีระเบียบดีกว่าเสรี ภาพทางการเมือง”ปรากฏใน
Republic ที่รัฐหรื อสังคมควรจะไปให้ถึง ได้แก่ หลักความยุติธรรมและความดีงาม “นาโลก
ที่เป็ นอยูไ่ ปสู่ โลกแห่งความคิด”
 ราชาผูเ้ ป็ นนักปราชญ์ มาจากชายและหญิงที่ดีที่สุดเพื่อให้ได้บุตรที่เลิศลักษณะ โดยชายและหญิง
จะต้องให้บุตรกับคู่ที่รัฐเลือกให้ เมื่อกาเนิดบุตรแห่งรัฐแล้ว ชายและหญิงนั้นจึงอาจไปหาคู่ที่ใจ
ชอบได้


เด็กที่บุตรแห่งรัฐจะถูกแยกไปเลี้ยงดูในอารักขาของรัฐ เพื่อพ่อแม่และบุตรจะได้ไม่รู้จกั กันหรื อ
ผูกพันกัน เพื่อก่อให้เกิด “ภราดรภาพ” ที่ทุกคนในสังคมจะถือว่าเป็ นพี่นอ้ งกับคนอื่นๆทั้งหมด
และบุตรแห่งรัฐจะได้รับการศึกษาเหมือนกันทั้งหมด ได้แก่ กายบริ หารและดนตรี เมื่ออายุถึง20
ปี จะต้องมีการคัดเลือก ผูท้ ี่เรี ยนต่อไปไม่ไหวจะถูกปั ดไปเป็ นชั้นสามัญของรัฐ คนที่เหลือจากการ
คัดเลือกจะต้องรับการศึกษาต่ออีก 10 ปี จนบุคคลมีอายุครบ 30 ปี จะมีการคัดเลือกอีกครั้ง ผูท้ ี่
ไม่ผา่ นจะต้องออกไปเป็ นทหารซึ่งเป็ นชนชั้นกลาง ทาหน้าที่ป้องกันรัฐ ส่ วนพวกที่ผา่ นการ
คัดเลือกทั้งชายและหญิงก็ตอ้ งไปเรี ยนวิชาชั้นสู งต่อ คือวิชาปรัชญา อีก 5 ปี เมื่อจบภาคทฤษฏี
แล้วต้อง”ศึกษาภาคปฏิบตั ิ”อีก 15 ปี จนอายุ 50 ปี จึงถือว่าพร้อมที่จะเป็ น “ราชาผูเ้ ป็ นปราชญ์”
หมายถึงผูป้ กครองที่เฉลียวฉลาดและมีคุณธรรมอันสู งส่ ง
รัฐในอุดมคติของเพลโต กาหนดขึ้นจากนครรัฐซึ่ งมีจานวนพลเมืองไม่มาก โดยเพลโตมิได้วางแบบ
สาหรับรัฐในปัจจุบนั ที่มีอาณาเขตกว้างขวางและพลเมืองนับล้านๆ ดังนั้นรัฐตามรู ปแบบในอุดมคติจึงไม่มี
อยูจ่ ริ ง
 เพลโตเห็นว่าทรัพย์สินเป็ นที่มาของอานาจและอานาจเป็ นที่มาของความขัดแย้งและความไม่เท่าเทียมกัน
ดังนั้นเพื่อขจัดความขัดแย้งและความไม่เท่าเทียมกันในสังคม วิธีการคือการยกเลิกกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สิน
ของบุคคลเสี ยโดยสิ้ นเชิง ซึ่งเป็ นต้นกาเนิดของลัทธิคอมมิวนิสต์
 แนวคิดเพลโตเกี่ยวกับการปกครองของรัฐประชาธิ ปไตยว่า ทุกคนมีเสรี ภาพ จึงสามารถจะพูดและทา
ลักษณะนี้เป็ นลักษณะเด่นของรัฐประชาธิปไตย แนวคิดในปรัชญาข้อนี้ถูกถือว่า เป็ นต้นกาเนิดของการ
ปกครอง “ระบอบเผด็จการ”

ธรรมชาติของคนและรัฐ
รัฐเกิดขึ้นจาก”ความจาเป็ น” ของมนุษย์ เราเรี ยกความช่วยเหลือของคนอื่นๆ เพื่อที่จะ
สัมฤทธิผลในความต้องการแต่ละอย่างเข้ามาอยูร่ วมกันในสถานที่เดียวกัน เราเรี ยก
สถานที่น้ นั ว่ารัฐ
 สังคมได้สร้างกฎหมายขึ้นเป็ นธรรมนูญการปกครอง กฎหมายจึงเป็ นสิ่ งที่สอนให้คนใน
รัฐได้เรี ยนรู้ถึงระเบียบ กติการอยูร่ ่ วมกันและเป็ นการดารงชีวติ ที่ดี เป็ นสิ่ งที่ทาให้
โครงสร้างทางสังคมและการเมืองของรัฐอยูไ่ ด้ ทุกคนมีพนั ธะต่อรัฐในฐานพฤะที่รัฐให้
สิ่ งที่มีประโยชน์แก่เขามากกว่าบิดามารดา
 ด้านจริ ยธรรม คนมักจะแสวงหาแต่สิ่งที่ดี คนต้องมีความรู ้โดยการศึกษาเพียงพอที่จะ
แยกแยะได้วา่ สิ่ งใดดีสิ่งใดชัว่ คนเลือกประพฤติแต่สิ่งที่ดีจึงจะพบกับคุณธรรม จิตใจ
ของคนสาคัญกว่าร่ างกายเพราะจิตใจเป็ นสิ่ งบงการ
 คุณความดีมี4ประการคือ ความฉลาดรอบรู ้ ความยุติธรรม ความกล้าหาญ และความ
รู้จกั ประมาณ

ความยุติธรรม (JUSTICE)
ผลของการแบ่งแยกชนชั้นและแบ่งหน้าที่
ความยุติธรรมของบุคคล
แบ่งชนชั้นในสังคมออกเป็ น 3
ชนชัน คือ ผูป้ กครอง เจ้าหน้าที่ และผูผ้ ลิต คุณธรรม
ประจาจิตประกอบด้วย 3 อย่าง คือ ตัญหา ความกล้าหาญ
และตรรกหื อเหตุผล
ความยุติธรรมของรัฐ คุณธรรมแห่ งรัฐคือปั ญญา
(ผูป้ กครอง) ความกล้าหาญ(ทหาร.เจ้าหน้าที่ของรัฐ)และ
ขันติ (ผูผ้ ลิตหรื อช่างประดิษฐ์)
รัฐในอุดมคติ
 ในหนังสื อ The Repulblic เสนอรู ปแบบของรัฐที่ดีที่สุด คือ รัฐที่มีความยุติธรรม
สถิตเป็ นหลักของรัฐ
 ราชาปราชญ์ เป็ นผูป
้ กครอง
 ปกครองในระบบราชาธิ ปไตย หรื ออภิชนาธิ ปไตยก็ได้
 ระบบการศึกษาของรัฐ โดยมุ่งมัน
่ ที่จะเป็ นเครื่ องมืออบรมและเลือกเฟ้ นคนในรัฐ
ว่าเหมาะสมกับหน้าที่อะไร
-ขั้นต้นให้การศึกษาแก่ทุกคนในแบบบังคับจนถึง อายุ 18 ปี ต่อด้วยฝึ กอบรมทหาร
อีก 2ปี เน้นพลศึกษาและดนตรี สอบไม่ผา่ นเป็ นผูผ้ ลิต ถือว่าจิตถูกครอบงา
โดยตัญหา
-ขั้นที่ 2 ระยะเวลา 15 ปี แบ่งเป็ น 2ตอน เริ่ มอายุ 20 ปี 10แรก เรี ยน คณิ ตศาสตร์
พื้นฐาน-สุ งสุ ดและดาราศาสตร์ แล้วทดสอบ ไม่ผา่ นออกไปรับใช้รัฐในฐานะ
ทหารหรื อผูป้ ้ องกันรัฐ ผ่าน ศึกษาปรัชญาแสวงหา “ความดี”และ “สัจจะธรรม”
 เรี ยนจบอายุครบ 35 ปี ทางานในตาแหน่ งบริ หารทางพลเรื อนและ
ทหาร เป็ นการทดสอบภาคปฏิบตั ิ อีก 15 ปี อายุครบ 50 ปี พอดี ถ้า
ปฏิบตั ิงานได้ดีเยีย่ ม จะได้เป็ นสมาชิกของคณะราชาปราชญ์
 ชนชั้นผูป
้ กครองและนักรบจะต้องไม่มีทรัพย์สินส่ วนตัวและห้าม
การมีครอบครัว
 รัฐบริ การอุปกรณ์แห่ งการดารงชีวิตของชนชั้นสู งซึ่ งเป็ นของ
ส่ วนรวม
 ยอมรับความเสมอภาคของชาย-หญิง “ชายเป็ นเหตุแห่ งการกาเนิ ด
ในขณะที่หญิงเป็ นผูใ้ ห้กาเนิด”
 ไม่มีกฎหมายในรัฐอุดมคติ
 ให้ราชาปราชญ์เป็ นผูป
้ กครองจะได้ใช้ความรู ้นาชนไปสู่ สันติสุข
ประยุกตรัฐ (PRACTICAL STATE)
 ใน The Laws กฎหมายถูกกาหนดแทนที่ราชาปราชญ์
 โครงสร้างการปกครองเป็ นลักษณะผสมระหว่างคณาธิ ปไตยกับ
ประชาธิปไตย
 อาณาบริ เวณ หางจากชายทะเลพอสมควร เพื่อป้ องกัน
แสนยานุภาพทางน้ าและลัทธิพาณิ ชนิยม
 ประสงค์ทีจะให้มีประชาคมเป็ นสังคมกสิ กรรมซึ่ งมีผลผลิตเพียง
พอที่จะเลี้ยงคนในประชาคมได้
 การกสิ กรรมเป็ นสิ่ งที่ดีเพราะไม่ทาให้คนร่ ารวยจนเกินไป จนทา
ให้ลืมกิจกรรมสาธารณะ
 ที่ดินรัฐแบ่งออกเป็ น 50/40 ส่ วนเท่าจานวนประชากรและมอบให้เป็ น
กรรมสิ ทธิ์ให้กบั พลเมืองคนละส่ วน
 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเจ้าของเว้นแต่ให้ต่อกับทายาท
 ไม่มีบุตรยกให้บุตรคนอื่นถูกเก็บเป็ นของรัฐและแบ่งให้ทุกคนเท่าเทียมกัน
 ทรัพย์สินอื่นๆ นอกเหนื อไปจากแผ่นดินทุกคนอาจมีไม่เท่ากันได้
 คนจะมีทรัพย์สินรวมเป็ นมูลค่ามากไปกว่าสี่ เท่าของค่าแผ่นดินหนึ่ งแปลง
ไม่ได้
่ ายใต้กฎหมายอย่าง
 การพาณิ ชย์อนุ ญาตให้คนต่างด้าวประกอบได้แต่อยูภ
เข้มงวด
พลเมืองทุกคนสามารถถืออาวุธทาการป้ องกันรัฐได้
มีสิทธิ เป็ นสมาชิกในสภาซึ่ งมีอานาจเลือกตั้งคณะมนตรี
360 และ
ตุลาการ
แบ่งชนชั้นและการมีส่วนทางการเมืองตามค่าของทรัพย์สิน
การรับสิ ทธิ ทางการเมืองมากน้อยตามชนชั้น
เพื่อความสมานฉันท์ภายในรัฐ การแต่งงานควรทาไปในรู ปของ
การผสมผสาน คนรวยควรแต่งกับคนจนเป็ นต้น
การปกครองควรมีคณะปกครองพิเศษ เพื่อทาหน้าที่ควบคุม
ตาแหน่งที่มาจากการเลือกตั้ง เรี ยกว่า “คณะมนตรี รัตติกาล”
จานวนผู้ปกครอง รัฐที่มีกฎหมาย รัฐที่ไม่มีกฏหมาย
คนเดียว
ราชาธิปไตย
ทุชนาธิปไตย
คนส่ วนน้อย
อภิชนาธิปไตย
คณาธิปไตย
คนส่ วนใหญ่
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
เพลโตเชื่อมัน่ ในการปกครองโดยคน (Rule of men)
นักปรัชญาคนสาคัญที่ได้รับอิทธิพลแนวคิดของเพลโต คือ จัง จาค รุ สโซ และนักปรัชญาชาว
เยอรมันชื่อ เฮเกล เห็นว่า รัฐจะมีความสามัคคีโดยทุกคนเห็นพ้องต้องกันหมดเป็ นเรื่ องเป็ นไป
ไม่ได้ จึงได้ยดึ ถือหลักความสามัคคี ที่ยอมให้มีความเห็นแตกต่างกันออกไปได้ อันเป็ นการให้
เสรี ภาพแก่ปัจเจกบุคคล
 เพลโตยอมรับว่า ราชาผูเ้ ป็ นนักปราชญ์น้ น
ั หาได้ยากยิง่ จึงทดแทนได้ดว้ ยการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยและให้กฎหมายมีความสาคัญสูงสุ ด เพราะกฎหมายจะเป็ นเครื่ องยึดเหนี่ ยว
ผูป้ กครองให้มุ่งผลประโยชน์ส่วนรวมมิใช่ประโยชน์ส่วนตัว
 เพลโตเมื่ออายุ 81 ปี ได้ไปร่ วมงานเลี้ยงและขอนอนพักผ่อนเพื่อหลับ และพบว่าเพลโตได้สิ้นใจ
ไปโดยสงบ

ARISTOTLE อริ สโตเติล
พ.ศ. 159 - 221
เป็ นลูกศิษย์ของเพลโตและโสเครติส โดยรับแนวคิดของเพลโตมาเป็ นส่ วนมาก เขาเห็น
ว่า มนุษย์เป็ นสิ่ งที่ได้รับการพัฒนาในระดับสูงกว่าสัตว์และพืช อย่างไรก็ดีมนุษย์มี
คุณลักษณะพิเศษว่า เป็ นนายเหนือธรรมชาติทางวัตถุ เพราะมนุษย์มีเหตุผลมีสติปัญญา
 แนวคิดทางการเมืองของอริ สโตเติล
- ประเทศที่ดีตอ
้ งประกอบด้วยบุคคลประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไป โดยรัฐจัดให้บุคคล
เหล่านั้นอยูร่ ่ วมกันด้วยความสันติและสงบสุ ข
- ระบบทรัพย์สินเอกชนเป็ นเครื่ องค้ าจุนให้บุคคลไม่ตอ
้ งพึ่งพาคนอื่น

อริ สโตเติลเคยศึกษาในสถาบัน “อะคาเดมี” ถึง 18 ปี เคยเป็ นอาจารย์ถวายสอนแก่พระเจ้าอเล็ก
ซานเดอร์มหาราช
 อริ สโตเติลได้ชื่อว่ารอบรู ้และเชี่ยวชาญในศาสตร์ ต่างๆ ได้เขียนหนังสื อทั้งหมดประมาณ 400
เล่ม จึงได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่งศาสตร์สมัยใหม่ เขาเป็ นผูจ้ ดั ระบบโดยคิด “ตรรกวิทยา”
เป็ นเครื่ องมือเพื่อให้การทางานจัดระบบความคิดเป็ นไปได้
 แนวคิดและการวิเคราะห์ของอริ สโตเติลให้ความสาคัญกับ การสังเกตและการพิจารณาใคร่ ครวญ
ทางสติปัญญา โดยการสังเกตปรากฏการณ์ พืจารณาเหตุผลจากสภาพความเป็ นจริ ง แล้วจึงสรุ ป
วางเป็ นทฤษฎี
 อริ สโตเติลเห็นว่า สังคมที่ดีคือสังคมที่คนในสังคมมีความรู ้สึกเป็ นมิตรกันหรื อเป็ นสังคมที่มี
ความเสมอภาค หมายถึง ความยุติธรรมตามส่ วน

เพลโตเชื่อว่า ทุกคนมีฐานะเป็ นราษฏรเท่ากันแต่สติปัญญาของแต่ละคนไม่เท่ากัน ดังนั้น หน้าที่ที่
จะได้รับย่อมแตกต่างกันไป ส่ วนเกียรติที่จะได้รับก็ข้ ึนกับหน้าที่น้ นั ว่าอานวยประโยชน์ให้กบั
สังคมพียงใด
 ในทางการเมืองการปกครอง ปรากฏในหนังสื อ Politics แบ่งรู ปแบบการปกครองเป็ น 3
ประเภท โดยถือจานวนผูป้ กครองเป็ นหลัก
- การปกครองที่บุคคลเพียงคนเดียวมีอานาจสู งสุ ด
- การปกครองที่กลุ่มบุคคลขนาดเล็กเป็ นผูม
้ ีอานาจในการปกครอง
- การปกครองที่คนส่ วนใหญ่มีอานาจปกครอง รู ปแบบการปกครองที่ดีที่สุด คือคนจานวนมากมี
อานาจพอที่จะคอยตรวจสอบป้ องกันมิให้ผปู ้ กครองใช้อานาจโดยไม่ชอบธรรม

จานวน
เพื่อประชาชน
คนเดียว
คณะ
ประชาชนทั้งหมด
เพื่อผู้ปกครอง
ราชาธิปไตย
ทุชนาธิปไตย
(Monarchy)
(Tyranny)
อภิชนาธิปไตย
คณาธิปไตย
(Aristocracy)
(Oligarchy)
มัชฌิมวิถีอธิปไตย ประชาธิปไตย
(Polity)
(Democracy)
อริสโตเติลเชื่อมั่น การปกครองโดยกฎหมาย (Rule of law)
ความหมายของรูปแบบระบบการเมือง
Monarchy = ระบบกษัตริ ยห์ รื อราชาธิปไตย
 Aristocracy = ระบบขุนนางหรื ออภิชนาธิ ปไตย
 Polity = ระบบที่ปกครองโดยชนชั้นกลาง
 Tyranny = ระบบทรราชย์
 Oligarchy = ระบบพวกพ้องหรื อคณาธิ ปไตย
 Democracy = ระบบประชาธิ ปไตย

องค์ประกอบของรัฐใน Politics มี 3 ส่ วน
-อานาจดาเนินกิจการสาธารณะ :- สงคราม สันติภาพ สัมพันธไมตรี การออกกฎหมาย และการ
ตรวจสอบค่าใช้จ่ายบริ การสาธารณะ
-อานาจเกี่ยวกับกิจการเจ้าหน้าที่ :- การแบ่งหน่วยงาน การจัดตั้งหน่วยงานของรัฐ การแต่งตั้ง
เจ้าหน้าที่ การกาหนดนโยบาย การจัดเก็บภาษี
-อานาจเกี่ยวกับการแต่งตั้งผูพ้ ิพากษาและกาหนดเขตอานาจศาล
 อริ สโตเติลเห็นว่า รัฐที่เป็ นปกติสุขต้องมีชนชั้นกลางมากกว่าอีก 2 ชนชั้น เพราะหากมี 2 ชนชั้น
มากกว่าชนชั้นกลาง รัฐจะเป็ นสังคมของนายกับบ่าว ซึ่งจะเป็ นรัฐที่ดีไม่ได้

ความคิดทางการเมืองสมัยกรี กตอนปลายและโรมัน
สิ้ นยุคของอริ สโตเติล ความรุ่ งเรื องของนครรัฐกรี กก็สิ้นสุ ดลงโดยแสนยานุภาพของพระเจ้าอเล็ก
ซานเดอร์แห่งมาร์เซโดเนีย
 สานักศึกษาที่มีชื่อเสี ยงในสมัยนี้ ได้แก่ สานักสตอยอิกส์ อีพิคิวเลียน และซิ นนิ คส์

ลัทธิอิพิคิวเรี ยน(EPICUREANISM)
เกิดจากแนวคิดของอีพิคิวรุ ส ปราชญ์ชาวเอเธนส์ เคยศึกษาที่สานักอะคาเดมีของเพลโต
ผูถ้ ือปรัชญาชีวติ ว่า “จงมีชีวติ อยูอ่ ย่างไม่กา้ วร้าวใคร”เชื่อว่าจุดหมายปลายทางชีวติ คน
คือความสุ ขของคน จึงสอนว่าคนฉลาดควรหลีกหนีการเมือง เพราะจะนาสิ่ งยุง่ ยากมาให้
และเป็ นอุปสรรคต่อจุดหมายของชีวติ นัน่ คือ ความสุ ขสาราญ
 ลัทธิ อีพิคิวเรี ยน เห็นความสาคัญของการมีกฎหมายและรัฐบาล เพื่อรักษาความสุ ขของ
คนในสังคมทุกคน กฎหมายมีไว้เพื่อประกันเสถียรภาพระหว่างบุคคล “มนุษย์เคารพ
กฎหมายเพราะเขากลัวผลร้ายอันจะเกิดจากการไม่ปฏิบตั ิกฎหมาย

กลุม่ อิพิควิ เรี ยน
เป็ นกลุ่มที่ค่อนข้างรวย วัตถุนิยม และมีทรัพย์สินมาก จึงม่งแสวงหาความสุ ขและการ
รักษาความมัน่ คงทางทรัพย์สิน เป็ นจุดประสงค์ทางการเมือง
 มนุษย์อยูร่ ่ วมกันในสังคมไม่จาเป็ นต้องพึ่งพาอาศัยกัน เพราะมนุษย์มีทุกสิ่ งอย่าง
สมบูรณ์ การไปยุง่ เกี่ยวกับการเมืองเพราะสถานการณ์บงั คับ(อริ สโตเติลบอกว่าทุกคนมี
ส่ วนร่ วมทางการเมือง)
 รัฐก่อตัวขึ้นเพื่อรักษาไว้ซ่ ึ งความมัน
่ คงปลอดภัยของบุคคล ไม่ให้ถูกแทรกแซงหรื อถูก
ทาร้ายจากบุคคลอื่น
 นิ ยมระบบกษัตริ ย ์ เชื่อว่าเป็ นระบบแข็งแกร่ งและประกันความปลอดภัย

กลุม่ ซินนิค
นครรัฐกรี ก ทาสและชนต่างด้าวไม่มีสิทธิใดๆ ในทางการเมือง จึงเข้ามาเป็ นสมาชิกกลุ่ม
ซินนิค ไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็ นพลเมือง กลุ่มนี้โจมตีนครรัฐของกรี ก
 ต่อต้านพวกผูด
้ ี สอนให้คนยากจนเกลียดชังต่อผูด้ ีและต่อต้านการแบ่งชนชั้น เห็นว่า
ทรัพย์สินไม่ได้เป็ นตัวแบ่งแยกชนชั้น ความฉลาดที่เป็ นการแบ่งแยกคนฉลาดกับคนโง่
 สร้างสังคมใหม่ ที่ไม่มีการครอบครองทรัพย์สิน ไม่มีระบบครอบครัว ไม่มีชาติหรื อ
กฎหมาย จึงเป็ นแนวคิดพวกอนาธิปไตย แบบไม่มีผปู้ กครองหรื อไร้รัฐ

กลุม่ สโตอิค
เชื่อในความเสมอภาคของมนุษย์ เห็นว่ากฎหมายธรรมชาติเป็ นสิ่ งศักดิ์สิทธิ์และกาหนดความเป็ นไป
ของทุกสิ่ ง มุ่งดาเนินชีวติ ตามกฎเกณฑ์ธรรมชาติ การต่อต้านหรื อเปลี่ยนแปลงกฎหมายธรรมชาติเป็ น
เรื่ องอันตราย
 เป็ นต้นกาเนิ ดแนวความคิดรัฐบาลโลก(world state)และกฎของพระเจ้า เชื่อว่าทุกคนเป็ นบุตร
ของพระเจ้า จึงเป็ นพี่นอ้ งกัน ทุกคนเป็ นพลเมืองภายใต้กฎหมายธรรมชาติ
 ความเสมอภาคว่าคนทุกคนเท่ากันหมด ฐานะทางสังคมไม่ใช่เครื่ องชี้ความเป็ นคน ทุกคนมีหน้าที่ตอ
้ง
ปฏิบตั ิให้สอดคล้องกับธรรมชาติและความต้องการของพระเจ้า

สรุปแนวคิดของกลุม่
พวกอิพิคิวเรี ยน เป็ นกลุ่มคนร่ ารวย จึงมีแนวคิดทางการเมืองที่นิยมความสุ ขและความ
มัน่ คงในชีวติ
 พวกซิ นนิ ค เป็ นคนต่างด้าวที่ถูกรัฐกดขี่มาตลอด จึงไม่ตอ
้ งการการปกครองที่มีรัฐบาล
 พวกสโตอิค เป็ นกลุ่มปรัชญาทางการเมือง ซึ่ งปั จจุบน
ั เราใช้แนวคิดมาสนับสนุน
ความคิดของการสร้างองค์การระหว่างประเทศ

แนวคิดทางการเมืองของนักปรัชญาเมธีในยุคคริ สต์ศาสนา
ตอนต้ น
นักบุญออกัสติน ( St.Augustine)
เป็ นผูน้ าทางศาสนาคริ สต์ที่มีชื่อเสี ยงมากที่สุดในยุคกลาง เป็ นนักคิดและนักเขียน มี
ผลงานที่มีชื่อเสี ยงมากในยุคนั้นคือ “City of god” ซึ่งมีอิทธิพล และมีบทบาทที่
สนับสนุนให้ศาสนาคริ สต์มีความสาคัญที่สุดและเป็ นศูนย์กลางของการศึกษารัฐศาสตร์
ในเวลาต่อมา
งานเขียนเกิดขึ้นหลังจากการแตกสลายของโรม โดยพวกไม่นบั ถือศาสนาคริ สต์วจิ ารณ์
ว่า สวาเหตุที่โรมล่มสลายเพราะโรมันไม่สนใจซี ซาร์ แต่ไปยอมรับศาสนาคริ สต์ จึงเป็ น
ตัวการทาให้โรมล่มสลาย

หนังสือ CITY OF GOD
ให้เหตุผลการล่มสลายของของอาณาจักรโรมันว่าไม่เกี่ยวช้องกับศาสนา เพราะศาสนาไม่สามารถ
หยุดยั้งสงครามได้ ในทางกลับกัน ศาสนาคริ สต์ช่วยกล่อมเกลาความป่ าเถื่อนของผูร้ ุ กรานไปได้มาก
มิฉะนั้นแล้วโรมันอาจเสี ยหายมากกว่านี้
 อาณาจักรของพระเจ้า เพื่อสร้างสันติสุขบนพื้นโลกโดยอาณาจักรของพระเจ้าจะชนะอาณาจักรบน
พื้นโลกที่เป็ นเมืองของผูไ้ ม่เชื่อในพระเจ้า
 อาณาจักรของมนุษย์ที่ดีตอ
้ งมีความยุติธรรม ความยุติธรรมมาจากพระเจ้า
 ความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันของมนุษย์ มนุษย์ทุกคนนับถือศาสนาคริ สต์มีความเชื่ อในพระเจ้าองค์
เดียวกัน พยายามไถ่บาปไปสู่ สวรรค์ของพระเจ้า

นักบุญโทมัส อะไควนัส (ST.THOMAS AQUINAS)
 งานเขียน rule
of the prince มีแนวคิดสนับสนุนการปกครองอันมีศาสน
จักรเป็ นผู้นาอาณาจักร
 รั ฐต้ องอยู่ภายใต้ อานาจขององค์ การศาสนาคริ สต์ ศาสนาจักรถือโองการของพระเจ้ าที่
ใครไม่ อาจล่วงละเมิดได้ ศาสนาจักรต้ องมีอานาจมากกว่ ารัฐ เพราะการมีชีวิตที่ดีคือการ
มีชีวติ ภายใต้ การนาของพระเจ้ า
 ไม่ สนับสนุนการปกครองแบบประชาธิปไตย แต่ สนับสนุนการปกครองแบบราชาธิปไตย
ให้ เลือกตั้งคนดีเข้ ามาปกครองประเทศโดยไม่ สนับสนุนการสื บราชสมบัติ โดยเห็นว่ าการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยจะทาให้ เกิดการแตกแยกขึน้ ได้
 ประชาชนต้ องเชื่ อฟังผู้ปกครอง หากผู้นาผิดหรื อเป็ นทรราชย์ ให้ สวดอ้ อนวอนพระเจ้ า
แนวคิดทางการเมืองยุคฟื น้ ฟูวิทยาการ(RENAISSANCE)
เกิดแนวคิดฟื้ นฟูความรู้ทางด้านศิลปะ จากที่ผลิตเพื่อรับใช้พระเจ้ามาเป็ นเพื่อรับใช้มนุษย์ โดยนาศิลปะ
กรี กและโรมันเข้ามาใช้ใหม่
 มีการค้นพบดินแดนใหม่ๆ การค้นพบเข็มทิศทาให้เกิดการพัฒนาการเดินเรื อ จนพบดินแดนใหม่ๆ ที่
ไม่เคยรู้จกั มาก่อน การขยายตัวการค้า
 ศาสนาคริ สต์เริ่ มเสื่ อมลง เกิดจากพระมีฐานะร่ ารวยใช้ชีวต
ิ สุ ขสบาย มีการปฏิรูปศาสนา แบ่งเป็ น
โรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนด์
 มีการสร้างระบบกฎหมายใหม่และพัฒนาระบบการเงินเพื่อสนับสนุนระบบการค้าทางไกล
 การเสื่ อมของระบบฟิ วดัล ระบบอุปถัมภ์ระหว่างผูด
้ ีกบั ชาวนาสิ้ นสุ ดลง

การปฎิรูปศาสนา เกิดจากการปกครองอย่างเข้มงวดและการกระทาอย่างไม่เหมาะสมของผูน้ าทาง
ศาสนา โดยปฎิรูปกฎเกณฑ์ของศาสนาเสี ยใหม่ ให้สิทธิเสรี ภาพแก่ชาวคริ สต์ในเรื่ องการนับถือ
พระเจ้าตามทัศนะของตัวเอง (เดิมโรมกุมอานาจในการนับถือศาสนาโดยไม่ให้เสรี ภาพ) ต่อมา
ศาสนาคริ สต์ได้แยกเป็ น 2 นิกาย ภายใต้การนาของ Martin Luther เป็ นหัวหน้ากลุ่ม
โปรเตสแตนส์ (protestant)
 ลัทธิ สมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ แยกอานาจระหว่างศาสนาจักรและอาณาจักร โดยกษัตริ ยม
์ ีอานาจ
อธิปไตยของตนเอง
 การเกิดขึ้นของรัฐชาติ โดยกษัตริ ยแ์ ต่ละคนจะพยายามสร้างรัฐชาติข้ ึน ได้แก่ การรวบรวมคนที่มี
เผ่าพันธุ์และภาษาเดียวกันให้มาอยูร่ วมกัน

นิโคลัส แมคคีอาเวลลี(NICOLAS MACHIAVELLI)
เขียนหนังสื อการเมืองการปกครองที่มีชื่อเสี ยงชื่อ The Prince แนวคิดสาคัญคือ
อาณาจักรกับศาสนจักรต้องแยกออกจากกัน การเมืองเป็ นเรื่ องของการใช้อานาจ
ปกครอง ซึ่งรู ปแบบการปกครองในทัศนะของแมคคีอาเวลลีมี 2 แบบคือ สาธารณรัฐ
กับ ราชอาณาจักร โดยมี “เจ้า”เป็ นผูป้ กครอง
 เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ “รัฐ” โดยให้รัฐเป็ นสถาบันกาหนดการใช้อานาจปกครองใน
รู ปแบบต่างๆ และมี “เจ้า” ที่มีความสามารถเป็ นผูน้ า
 แมคคีเวลลีใช้ขอ
้ เท็จจริ งทางประวัติศาสตร์เป็ นรากฐานในการสร้างทฤษฎีของตนเพื่อ
เสนอวิธีการใช้อานาจปกครอง

ข้อเขียนของแมคคีเวลลีสนับสนุนการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ โดยอ้าง “อานาจเด็ดขาด” ว่า
เป็ นสิ่ งจาเป็ นเพือ่ ความมัน่ คงและสันติภาพ เพื่อให้ความชอบธรรมกับอานาจเด็ดขาดของกษัตริ ย ์ โดยเน้น
การรวมศูนย์อานาจ
 ได้รับยกย่องว่าเป็ นผูบ
้ ุกเบิกวิชารัฐศาสตร์สมัยใหม่ วางแนวทางให้รัฐเป็ นสถาบันของอานาจทางการ
ปกครอง และที่เน้นย้าในการครองอานาจ ก็คือ เจ้า หรื อผูป้ กครองจะต้องทาการปกครองเพื่อประโยชน์
ของผูอ้ ยูใ่ ต้ปกครอง มิฉะนั้นจะครองอานาจอยูไ่ ด้ไม่นาน
 แนวคิดของแมคคีเวลลีมีส่วนในการผลักดันในทางการเมือง คือ การก่อตั้งระบบการเมืองแบบรัฐชาติ
(nation-state) ในปัจจุบนั

คุณสมบัตข
ิ องมุขบุรุษ
ผูป
้ กครองต้องทาตนเป็ นคนมัธยัสถ์ ไม่สุรุ่ยสุ ร่าย
ผูป
้ กครองจะต้องมีความเด็ดขาด
ระหว่างความรักและความยาเกรงของพลเมือง หาก
จาเป็ นแล้วผูป้ กครองย่อมต้องเลือกเอาประการหลัง
ผูป
้ กครองต้องเป็ นคนรอบคอบ
ผูป
้ กครองควรมีคุณสมบัติแห่งจิ้งจอกและราชสี ห์
รวมเข้าใจด้วยกัน
ฌอง โบแดง (JEAN BODIN)
ได้รับการยอมรับว่าเป็ นผูท้ ี่นาการเมืองเข้าสู่หลักของเหตุผล และเป็ นคนแรกที่ใช้คาว่า “อานาจ
อธิปไตย”ซึ่งหมายถึงอานาจที่มีลกั ษณะปราศจากขอบเขตถาวร และสูงสุ ดล้นพ้น โดยเสนอให้ใช้อานาจ
อธิปไตยเป็ นอานาจสูงสุ ดในการปกครองรัฐ เพื่อลดอานาจของสันตปาปาที่อิงอานาจสูงสุ ดอันเป็ น
อานาจของพระเจ้าที่ไร้ขอบเขต
 อานาจอธิ ปไตย เป็ นอานาจสู งสุ ดในการปกครองรัฐ เป็ นอานาจที่แบ่งแยกไม่ได้ของ “รัฐ” และกษัตริ ย ์
เป็ นผูใ้ ช้อานาจ คือความเป็ นผูม้ ีอานาจสู งสุ ดในแผ่นดิน
 ระบบกษัตริ ยเ์ หมาะสมที่สุด การสื บราชสมบัติทาให้เกิดความต่อเนื่ องของระบอบการปกครอง โดย
กษัตริ ยต์ อ้ งไม่ใช้อานาจโดยอาเภอใจ

โธมัส ฮอบส์ (THOMAS HOBBES)
ผลงานที่สาคัญคือ “เลวีเอตัน” (Leviathan)เสนอว่า สังคมเป็ นสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น ไม่ได้เกิดตาม
ธรรมชาติ สังคมขัดแย้งกันเพราะมนุษย์มีความเห็นแก่ตวั มนุษย์น้ นั มีความ โดดเดี่ยว ยากแค้น
โสโครก ป่ าเถื่อน และอายุส้ นั สังคมจึงต้องมี “รัฐ”ทาหน้าที่รักษาสันติภาพและปกป้ องคนในสังคม
โดยคนในสังคมต่างยินยอมทาสัญญาสละสิ ทธิบางประการเพื่อให้ได้ความสงบและมัน่ คงปลอดภัย
แต่มนุษย์อาจละเมิดสัญญา จึงต้องตั้ง “องค์อธิปัตย์” เป็ นผูท้ รงอานาจอธิปไตยอันเป็ นอานาจสูงสุ ดให้
ปฎิบตั ิตามสัญญา
 องค์อธิ ปัตย์ (Leviathan)มีอานาจเด็ดขาดโดยไม่มีขอ
้ จากัด

ข้อเสนอของฮอบส์ มีอิทธิพลอย่างมากต่อระบบนิติบญั ญัติของรัฐสภาอังกฤษในเวลาต่อมา กล่าวคือ
รัฐสภาอังกฤษจะออกกฎหมายใดๆ ก็ได้ เพราะถือว่ารัฐสภาอังกฤษมีอานาจสู งสุ ด
 สัญญาสังคมของฮอบส์ เป็ นสัญญาระหว่างประชาชนด้วยกัน เพื่อก่อตั้ง “องค์อธิ ปัตย์”ขึ้นมาปกครอง
แต่องค์อธิปัตย์มิได้เป็ นคู่สญ
ั ญาด้วย จึงไม่อยูใ่ นฐานะจะผิดสัญญาได้ โดยองค์อธิปัตย์มีหน้าที่ตรวจ
ตราและลงโทษผูไ้ ม่ปฏิบตั ิตามสัญญาสังคม โดยการมอบอานาจเป็ นการมอบถาวร
 อานาจอธิ ปไตยขององค์อธิ ปัตย์เป็ นอานาจเด็ดขาดและสู งสุ ด กฎหมายที่ออกมาจึงถือว่ายุติธรรม
อานาจเป็ นตัวกาหนดความถูกผิด ประชาชนมีหน้าที่ยอมรับกฎหมายว่าเหมาะสมและยุติธรรม

แนวคิดเรื่ องอานาจอธิปไตยของฮอบส์ เป็ นแนวคิดที่นาไปสู่การเป็ น “รัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จ”
 ลิเวียธัน (Liviathan) แปลว่า สิ่ งที่น่ากลัว หมายถึงอานาจที่เด็ดขาดของผูป
้ กครองที่ทาให้
ผูอ้ ื่นต้องเกรงกลัว
 ระบบกษัตริ ยเ์ ป็ นระบบการปกครองที่ดีที่สุด เพราะสามารถสร้างความสามัคคีในชาติ ได้ ฮอบส์
เป็ นนักคิดที่สนับสนุนอานาจกษัตริ ย ์


The Utilitarians : สานักประโยชน์ นิยม
 สภาพบรรยากาศทางสังคมและการเมืองในช่วงศตวรรษที่ 18 ถึง
19 มีความเปลี่ยนแปลงโดยทัว่ ไปในภาคพื้นทวีปยุโรป โดยเฉพาะ
ประเทศอังกฤษได้รับผลกระทบจากสภาพความเปลี่ยนแปลงและ
ความปั่นป่ วนมากเป็ นพิเศษ อันสื บเนื่องมาจากเกิดการปฏิวตั ิ
อุตสาหกรรม ซึ่งยังผลให้เกิดชนชั้นใหม่ข้ ึนในสังคมอังกฤษ คือ
ชนชั้นกรรมกร หรื อชนชั้นผูใ้ ช้แรงงาน (Labor) และต่อมาได้
วิวฒั นาการมาเป็ นพรรคกรรมกร

ปรัชญาเมธีที่มีชื่อเสี ยงแห่งสานักประโยชน์นิยม ได้แก่ เจอเรมี เบนธัม (Jeremy
Bentham) เจมส์ มิลล์ (James Mill) และจอห์น สจ๊วต มิลล์ (John
Stuart Mill) หลักการพื้นฐานร่ วมในการพิจารณาแนวความคิดทางสังคมและ
การเมืองแห่งสานักนี้ที่จดั ได้วา่ เป็ นหัวใจของทฤษฎีแห่งสานักนี้กว็ า่ ได้ นัน่ ก็คือ
หลักการคานึงถึงความสุ ขของคนหมู่มาก (The Greatest Happiness
Principle) ความแตกต่างในความคิดของปรัชญาเมธีท้งั สามนี้จะมีในส่ วนของการ
นามาใช้ปฏิบตั ิเท่านั้น ซึ่งเราจะศึกษาในลาดับต่อไปถึงการตีความหลักประโยชน์นิยม
ของจอห์น สจ๊วต มิลล์ ที่ผดิ แผกไปจากหลักการดั้งเดิมของเจอเรมี เบนธัม

เป็ นที่ยอมรับกันว่า ลัทธิประโยชน์นิยมได้เข้ามาแทนที่สงั คมอังกฤษ โดยเริ่ มจากยุค
ตอนต้นสมัยพระเจ้ายอร์ชที่ 3 (King george III) จนถึงตลอดสมัยพระนางเจ้า
วิคตอเรี ย (Queen Victoria) ถือว่า Benthamites คือกระบอกเสี ยงของ
ลัทธิเสรี นิยมและเป็ นแรงผลักดันอยูเ่ บื้องหลังของการปฏิรูปกฎหมายครั้งใหญ่ที่ทาให้
รัฐบาลอังกฤษเป็ นตัวแทนผลประโยชน์ของประชาชน อาจกล่าวได้วา่ แนวความคิด
ประโยชน์นิยมเป็ นการปรับปรุ งหลักทฤษฎีเสรี นิยมที่อาจจัดได้วา่ เป็ นหลักของสานัก
เสรี นิยมแบบประโยชน์นิยม โดยที่ถือว่าเสรี นิยมแบบประโยชน์นิยมยอมให้การ
แทรกแซงของรัฐมีได้มากกว่าเสรี นิยมในแบบสิ ทธิธรรมชาติของจอห์น ล๊อค (John
Locke) ตามทฤษฎีแห่งสานักประโยชน์นิยม การกาหนดฐานะอันชอบธรรมของ
รัฐบาลไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั ความสัมพันธ์ทางสัญญาระหว่างผูป้ กครองกับผูอ้ ยูใ่ ต้ปกครอง
หากขึ้นอยูก่ บั ประโยชน์เท่านั้น นัน่ คือความสามารถของรัฐบาลที่จะอานวยความผาสุ ก
อันยิง่ ใหญ่ที่สุดเท่าที่จะกระทาได้ให้แก่ราษฎรของต

หากเปรี ยบเทียบกับนักคิดผูอ้ ื่นร่ วมสมัย อาจกล่าวได้วา่ พวกสานักประโยชน์นิยม (โดย
ยกเว้นจอห์น สจ๊วต มิลล์) มีทศั นะตรงกับโทมัส ฮ๊อบส์ (Thomas Hobbes)
ที่วา่ “คนเราเชื่อฟังผูป้ กครองไม่ใช่เป็ นเพราะพันธะข้อผูกพันทางกฎหมายหรื อทาง
ศีลธรรม หากเป็ นเพราะว่าเป็ นเรื่ องผลประโยชน์ของตน” ข้อแตกต่างระหว่างสานัก
ประโยชน์นิยมกับทัศนะของฮ๊อบส์อยูต่ รงที่วา่ “ฮ๊อบส์ยนื ยันว่าผลประโยชน์ส่วนตัว
จะได้รับการส่ งเสริ มอย่างดีที่สุดจากองค์อธิปัตย์ผทู ้ รงอานาจและไม่จากัดส่ วนเบนธัม
และสานักประโยชน์นิยมผูอ้ ื่นกลับคิดว่ารัฐบาลอันมีอานาจจากัด จะบรรลุถึงจุดหมายนี้
ได้ดีที่สุด” อาจกล่าวได้วา่ หากจะเปรี ยบในเรื่ องการมองสังคมระหว่างฮ๊อบส์กบั สานัก
ประโยชน์นิยมแล้ว พวกสานึกประโยชน์นิยมมองในแง่ที่ดีกว่ามาก หลายคนเชื่อว่าฮ๊
อบส์มองสภาพดั้งเดิมของมนุษย์ที่ปราศจากรัฐบาลว่าเป็ นภาวะของการมุ่ง
ประหัตประหารกัน เพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนที่มีอยู่ อย่างไรก็ดี ฮ๊อบส์เองนั้นก็
ไม่ได้ประณามธาตุแท้ของคนว่า “เลวร้าย” เสี ยเลยทีเดียว เพียงแต่ช้ ีให้เห็นถึงว่ามนุษย์
โดยทัว่ ไปเต็มไปด้วยกิเลศ ตัณหา และความกลัวที่อาจทาให้คนชัว่ ร้ายได้”
สังคมนิยมแบบอดุ มคติ (Utopian Socialism)
-แนวคิดได้รับอิทธิพลจากข้อเขียนของธอมัส มอร์ (Thomas More
1478-1535)
ในหนังสื อชื่อ ยูโธเปี ย (Utopia) ซึ่งแต่งขึ้นในปี ค.ศ.1516
โดยเป็ นชื่อเกาะที่สร้างขึ้นในจินตนาการซึ่งมีระบบสังคมและระบบ
การเมืองสมบูรณ์ที่ดี หนังสื อเล่มนี้มีอิทธิพลมากจนกระทัง่ ชื่อหนังสื อ
กลายเป็ นศัพท์ที่มีความหมายภาษาอังกฤษไปด้วย คือ
หมายถึงการสร้างจินตนาการ หรื อวาดภาพสภาพสังคมที่เลอ
เลิศอย่างที่เป็ นความเชื่อเรื่ องสังคมสมัยพระศรี อาริ ยเมตไตรย์






แนวคิดสังคมนิยมแบบอุดมคติมีลักษณะดังนี้คอื
- ต่อต้านการมีทรัพย์สินเป็ นของส่ วนตัว และต่อต้านการที่ผมู ้ ีทรัพย์สินส่ วนตัวมากเอาประโยชน์จากผูท้ ี่
ยากจน
- ต้องการให้สงั คมเป็ นเจ้าของทรัพย์สินหรื อความมัง่ คัง่ ต่างๆ
- ต้องการให้เกิดความสามัคคีกลมเกลียวกันในการดาเนินชีวติ ภายในสังคม
- ถือว่า การชักชวนให้คนหันมานิยมสังคมนิยมด้วยวิธีการให้การศึกษาอย่างทัว่ ถึง
- ความเชื่อในวิศวกรรมทางสังคม (social engineering) คือมีการใช้ความรู้ทางสังคมศาสตร์เพื่อจัดระบบ
ทางสังคมให้เหมาะสม
- มีแนวคิดคล้ายเสรี นิยม แต่ถือว่ายังไม่เพียงพอ คือต้องมีอุดมการณ์สงั คมนิยมโดยเฉพาะและมุ่งให้
แพร่ หลายโดยการให้การศึกษา

สังคมนิยมแบบมาร์ กช์ (Marxian Socialism)
 ลักษณะสาคัญประการแรก คือ
 ต้องการให้ทรัพย์สินไม่วา่ จะเป็ นที่ดิน การผลิตและผลผลิต การค้าขาย ถือว่า เป็ นของกลางที่จะต้อง
ดาเนินการหรื อจัดการโดยรัฐ สังคมนิยมแบบมาร์กช์เป็ นแบบที่ตอ้ งการให้ส่วนกลางมีบทบาทมากที่สุด
ส่ วนกลางในที่น้ ีหมายถึงรัฐแบบสังคมนิยม (social state) ซึ่ งจัดว่าเป็ นปรากฎการณ์ชวั่ คราว เมื่อรัฐสูญสลาย
ไปแล้ว ส่ วนกลางหมายถึงกลุ่มต่างๆ ที่ประชาชนก่อตั้งขึ้นมา
ลักษณะสาคัญประการทีส่ องคือ
 การที่มาร์ กช์ตอ
้ งการให้เกิดการปฏิวตั ิเพื่อเข้าสู่สภาพสังคมนิยมเต็มรู ปแบบโดยเร็ว ทั้งนี้โดยเน้นการต่อสู้
ระหว่างชนชั้นเพื่อได้มาซึ่งระบบสังคมนิยม ซึ่ งมาร์กช์ถือว่าเป็ นช่วงเวลาระหว่างยุคนายทุนและยุค
คอมมิวนิสต์

สั งคมนิยมแบบประชาธิปไตย (Democratic Socialism) คือ
- การผสมผสานหลักการเมืองการปกครองแบบประชาธิ ปไตยเข้ากับ
ระบบเศรษฐกิจที่รัฐหรื อรัฐบาลมีอานาจจากัดเสรี ภาพทางเศรษฐกิจของ
เอกชนบางประการด้วยการเข้าดาเนินการเองบางส่ วน เพื่อประโยชน์
ส่ วนรวม
- ระบบการปกครองนี้จะเห็นว่า ประชาชนทัว่ ไปไม่วา่ จะอยูใ่ น
สถานภาพใดในสังคม สามารถมีส่วนในการปกครองประเทศโดยเท่า
เทียมกัน คือมีความเสมอภาคทางการเมือง เป็ นการปกครองที่ประชาชน
เป็ นเจ้าของและเป็ นผูใ้ ช้อานาจอธิปไตยได้โดยผ่านผูแ้ ทนราษฎร ด้วย
การจัดให้มีรัฐบาลที่เลือกตั้งขึ้นโดยประชาชน
รัฐบาลมีบทบาทและอานาจทางเศรษฐกิจบางประการเพื่อให้บุคคล
ทัว่ ไปได้รับประโยชน์ในการดารงชีวติ รัฐบาลจะใช้อานาจในด้าน
เศรษฐกิจและสังคมในส่ วนที่สาคัญ คือการวางแผนเศรษฐกิจโดยรัฐ
โอนกิจการสาคัญเป็ นของรัฐเพื่อให้รัฐประกอบการเอง การดาเนินการ
สาธารณูปโภค โดยรัฐ และการจัดเก็บภาษีอากรตามความสามารถ

ส่ วนในภาคเอกชน เอกชนก็ยงั สามารถมีเสรี ภาพในการ
ประกอบการทางเศรษฐกิจในส่ วนที่เป็ นสิ ทธิอานาจของบุคคล เอกชนมี
สิ ทธิ ที่จะเป็ นเจ้าของทรัพย์สิน แสวงหาผลประโยชน์หรื อผลกาไรได้ใน
ลักษณะที่ถูกต้องชอบธรรมภายในขอบเขต

เพื่อความเป็ นธรรมในสังคมและเพื่อขจัดการกดขี่เอารัดเอาเปรี ยบหรื อ
การเบียดเบียนทั้งหลายนั้น รัฐหรื อรัฐบาลจะกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ เพื่อ
ป้ องกันการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบของบุคคล และรัฐบาลจะ
เป็ นผูด้ าเนินการให้สวัสดิการที่สาคัญแก่ประชาชนทัว่ ไป เช่น การจัดหา
ที่อยูอ่ าศัยการรักษาพยาบาล การหางานให้ประชาชน การศึกษาที่เป็ น
บริ หารให้เปล่าในระดับที่สาคัญการดาเนินกิจการสาธารณูปโภคใน
ลักษณะที่ทวั่ ถึงพอเพียงและราคาถูก การช่วยเหลือเยาวชน คนชรา ผู้
พิการ การคุม้ ครองผูใ้ ช้แรงงานทั้งหลายซึ่ งได้แก่กรรมกรและเกษตรกร
โดยให้หลักประกันเกี่ยวกับค่าจ้างและแรงงาน สภาพการทางาน สุ ขภาพ
อนามัย สวัสดิการอื่นๆ ที่จาเป็ นในการครองชีพ และอานาจในการ
ต่อรองกับนายจ้าง รวมตลอดถึงการช่วยเหลืออื่นๆ
ในระบบสังคมนิ ยมประชาธิ ปไตยนี้ เท่าที่ได้ปฏิบต
ั ิกนั อยูใ่ นหลาย
ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศอังกฤษได้ให้ความสาคัญกับ
ประชาชนทั้งหลายโดยไม่แยกชั้นวรรณะ แต่พร้อมกันนั้นก็สนับสนุนให้
ผูท้ ี่ใช้แรงงานได้มีได้มีบทบาททางเศรษฐกิจ เช่น ได้รับการปฏิบตั ิที่เป็ น
ธรรม สามารถดูแลรักษาผลประโยชน์ของตนได้ และมีอานาจทาง
การเมืองการปกครองด้วยการรวมตัวกันขึ้นเป็ นพรรคการเมือง และมี
โอกาสจัดตั้งรัฐบาลได้
คอมมิวนิสต์ (COMMUNISM)
บุคคสแรกที่ได้ชื่อว่าเป็ นผูว้ างรากฐานของอุดมการณ์คอมมิวนิสต์คือ คาร์ล มาร์กช์
(Karl Marx, 1818-1883) เป็ นชาวเยอรมัน เชื้อสายยิว
 มาร์ กช์ได้รับอิทธิ พลจากแนวคิดบางอย่างของเฮเกล แต่เขามองภาพกลับกัน คือ เขาเห็น
ว่า สภาวะทางวัตถุต่างๆ โดยเฉพาะเรื่ องราวทางเศรษฐกิจมีลกั ษณะเป็ น “โครงสร้าง
ส่ วนล่าง” ซึ่งมีอิทธิพลต่อความคิดและความเชื่อนานาประการซึ่ งเป็ นโครงสร้าง
ส่ วนบน

ถ้อยแถลงแห่งคอมมิวนิสต์น้ ี มีนโยบายระบุไว้ 8 ข้อ คือ
 การยึดที่ดินเป็ นของรัฐและการใช้ค่าเช่าจากที่ดินเหล่านั้นเพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายของรัฐระหว่างที่ยงั
ไม่บรรลุความเป็ นสังคมคอมมิวนิสต์
 ภาษีเงินได้เก็บในอัตราส่ วนที่สูงขึ้นเมื่อมีรายได้สูง หรื อที่เรี ยกว่าภาษีกา้ วหน้า (progress
sive tax)
 ยกเลิกสิ ทธิ ในมรดก
 ให้มีศูนย์กลางสิ นเชื่อ โดยการจัดตั้งธนาคารของรัฐ
 กิจการขนส่ งเป็ นของรัฐ
 ให้รัฐเป็ นเจ้าของโรงงานมากยิง่ ขึ้นและให้มีการแบ่งสรรที่ดินใหม่
 ให้เป็ นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องทางาน
 ให้มีการศึกษาของรัฐแก่เด็กทุกคนและไม่ให้มีการใช้แรงงานเด็ก

(1) ทฤษฎีวภิ าษทางวัตถุ (Dialectical Materialism
 คาร์ ล มาร์ กช์ได้รับอิทธิ พลทางความคิดในเรื่ องวิภาษหรื อไดอะเล็คติมาจากปรัชญาชาว
 เยอรมัน ชื่อ เฟรดริ ก เฮเกล ตามปรัชญาไดอะเล็คติค ประวัติศาสตร์ หรื อเหตุการณ์ของ
โลกมีการเปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ ไม่มีการอยูค่ งที่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจากการจัดแย้ง
หรื อการเป็ นปฏิปักษ์ต่อกันโดยเริ่ มจากการมีจุเริ่ มต้น ซึ่ งเรี ยกว่า จุดยืน (thesis)
และมีสภาพการณ์ที่เป็ นปฏิปักษ์หรื อจุดแย้ง (antithesis) เกิดขึ้น ต่อจากนั้นจะ
เกิดผลลัพธ์จากการปะทะกันระหว่างจุดยืน กับ จุดแย้ง กลายเป็ นสภาวะที่เรี ยกว่า จุดยุบ
(synthesis) แต่สภาพจุดยุบก็อยูไ่ ม่ถาวร ทั้งนี้เพราะจะกลายเป็ นตัวจุดยืนใหม่ซ่ ึง
ย่อมผ่านกระบวนการเดิมต่อไปอีกเป็ นลูกโซ่
 การเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการดังกล่าว เฮเกลถือว่า เป็ นกฎแห่ งจักรวาลและเกิดขึ้น
ใน “ความคิด” ก่อน เมื่อความคิดเปลี่ยน “วัตถุ” หรื อเหตุการณ์ต่างๆ ก็จะเปลี่ยนตาม
ไปด้วย ตามทัศนะของเฮเกล “ความคิด” สาคัญที่สุด และเป็ นตัวการที่ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางวัตถุ


คาร์ล มาร์กช์ยอมรับว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงเป็ นแบบวิภาษ แต่มีทศั นะในทางตรงกันข้าม
ว่าอะไรเป็ นต้นเหตุหรื อตัวการและอะไรเป็ นตัวผลที่เกิดขึ้นตามมา มาร์กช์เห็นว่า “วัตถุ” เป็ น
ตัวกาหนด “ความคิด” “วัตถุ” ที่ใช้โดยมาร์กช์เป็ นศัพท์ที่หมายถึงสภาพรู ปธรรมโดยทัว่ ไป
และหมายถึงวิถีการผลิต (mode of production) โดยเฉพาะ โดยที่ทฤษฎีของ
มาร์กช์เป็ นไปในทางตรงกันข้ามกับเฮเกล ดังนั้นมาร์กช์จึงกล่าวว่า เขาได้ทาให้เฮเกลยืนได้ถูก
ทิศทาง (set him the right way up) คือ ศีรษะหรื อความคิดอยูด่ า้ นบนและตัว
วัตถุอยูด่ า้ นล่างโดยที่เป็ นตัวเหตุหรื อตัวก่อให้เกิดผล โดยวัตถุเป็ นตัวการให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงและการเปลี่ยนแปลงนั้นถือว่า เป็ นไปตามทฤษฎีวภิ าษ คือ จากจุดยืนเกิดขึ้นก่อน
แล้วจึงมีจุดแย้งและจุดยุบตามมา
(2) ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมือง
 คาร์ ล มาร์ กช์ ถือว่า วัตถุเป็ นตัวการหรื อตัวกาหนดให้เกิดเหตุการณ์ท้ งั หลายใน
ประวัติศาสตร์แนวความคิดของมาร์กช์เรี ยกว่า “ลัทธิวตั ถุนิยมเชิงประวัติศาสตร์”
(historical materialism) ซึ่งเป็ นการนาทฤษฎีวภิ าษวิธีทางวัตถุมาประยุกต์ใช้
ในการตีความทางประวัติศาสตร์ และโดยที่ “วัตถุ” ที่มาร์กช์ใช้หมายถึง เรื่ องราวทาง
เศรษฐกิจ จึงมักเรี ยกทฤษฎีของคาร์ล มาร์กช์ ว่าเป็ น “economic
determinism” หมายความว่า เศรษฐกิจเป็ นตัวเหตุที่มีอิทธิพลต่อคามเป็ นไปใน
สังคม ไม่วา่ จะเป็ นด้านการเมือง การศึกษา การศาสนา ปรัชญา ศิลปวัฒนธรรม และบรรดา
ความสัมพันธ์ต่างๆ ในสังคมทั้งหลายไม่วา่ จะเป็ นในครอบครัวหรื อในความสัมพันธ์
ประเภทใดก็ตาม

การวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ โดยถือว่า เศรษฐกิจเป็ นตัวนาในส่ วนที่เกี่ยวกับ
การเมือง มีความสาคัญในอุดมการณ์คอมมิวนิสต์มาก มาร์กช์มองการเมืองว่าเป็ นเรื่ องของ
การต่อสู้ระหว่างชนชั้น (social class) อันเกิดจากการขัดผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
ในทัศนะของมาร์กช์มีเพียง 2 ชนชั้นเท่านั้นไม่วา่ จะเป็ นประวัติศาสตร์สมัยใด ยกเว้นสมัย
เริ่ มมีมนุษย์ในโลกใหม่ๆ สองชนชั้นได้แก่ ผูป้ กครองและผูถ้ ูกปกครอง

วิวฒั นาการของสังคมตามทฤษฎีของมาร์กช์แบ่งออกเป็ นดังนี้ (จรู ญ สุ ภาพ 2534 :
133-134) คือ

1) ยุคดั้งเดิม ซึ่ งมีมนุษย์จานวนน้อยและทรัพยากรมีอยูม่ ากมาย ความจาเป็ นจะ
แก่งแย่งหรื อกดขี่จึงยังไม่เกิดขึ้น เป็ นสังคมขนาดเล็ก ไม่มีชนชั้นและไม่มีความสานึกใน
เรื่ องกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สิน

2) ยุคทาส มีชนชั้นคือ นายทาสกับทาส นายจะใช้แรงงานทาสเพื่อการผลิต เริ่ ม
ยุคของการมีชนชั้นและยึดหลักกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สิน

3) ยุคศักดินา มีเจ้าของที่ดินและผูม้ ีสภาพสู งทางสังคม ซึ่ งอยูใ่ นฐานะเหนือ
ผูใ้ ช้แรงงานในที่ดิน ซึ่งถูกเอาเปรี ยบและกดขี่

4) ยุคทุนนิยม มีนายจ้างกับกรรมกร นายจ้างหรื อนายทุนจะใช้แรงงาน
กรรมกรในการผลิตและมุ่งที่จะผูกขาดเอาเปรี ยบกดขี่กรรมกรอยูเ่ สมอ

5) ยุคสังคมนิยม ซึ่งเกิดจากการปฏิวตั ิลม้ ล้างนายทุนของชนชั้นกรรมาชีพ เป็ น
ยุคที่กรรมกรมีอานาจเด็ดขาดและผูกขาดอานาจการปกครองและเศรษฐกิจ แต่ในทาง
ปฏิบตั ิจะเป็ นยุคที่พรรคคอมมิวนิสต์มีอานาจสูงสุดแต่กลุ่มเดียว



6) ยุคคอมมิวนิสต์ ซึ่งเป็ นยุคสุ ดท้าย คือไม่มีรัฐ รัฐบาล กฎหมายต่างๆ บุคคลจะอยูโ่ ดยเสรี
ปราศจากการกดขี่ใดๆ ทุกคนจะดารงชีวติ และผลิตตามความสามารถและจะไม่มีการเอาเปรี ยบ
กดขี่กบั และกันในสังคมคอมมิวนิสต์ตามทฤษฎีของคาร์ล มาร์กช์ การแบ่งชนชั้นและการ
ขัดแย้งเพราะชนชั้นอันสื บเนื่องมาจากการแตกต่างทางเศรษฐกิจจะไม่มี ทรัพย์สินจะเป็ นของ
กลาง และแต่ละคนจะได้รับผลประโยชน์จากการทางานตามคามจาเป็ นของแต่ละคน คือจะไม่
ขึ้นอยูก่ บั การทางานมากหรื อทางานน้อย ตามทัศนะของมาร์กช์ ระบบเศรษฐกิจในสังคม
คอมมิวนิสต์จะไม่มีการฉกฉวยประโยชน์หรื อไม่มีการเอารัดเอาเปรี ยบ (exploitation)
โดยชนชั้นหนึ่งจากอีกชนชั้นหนึ่ง มาร์กช์มีความเห็นว่าเมื่อปราศจากเสี ยซึ่ งชนชั้น คือเมื่อไม่มี
ชนชั้นผูป้ กครองกับชนชั้นผูถ้ ูกปกครองย่อมหมายถึงการสู ญสลายของรัฐ กระบวนการสูญ
สลายของรัฐนี้แบบที่มาร์กช์เรี ยกว่า “รัฐจะเหี่ยวเฉาหรื อร่ วงโรยหมดสิ้ นไปเอง” (The
state will wither away)
(3) ทฤษฎีวา่ ด้วยรัฐและการปฏิวตั ิ

คาร์ล มาร์กช์มีแนวคิดแบบอุดมการณ์อรัฐนิยม คือต่อต้านอานาจของรัฐและไม่
ต้องการให้มีรัฐเพราะถือว่ารัฐเป็ นเครื่ องมือของชนชั้นปกครองและเป็ นเครื่ องมือแห่ง
การกดขี่ ในทัศนะของมาร์กช์รัฐไม่ใช่ของที่จะต้องเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แต่เกิดขึ้นด้วย
ความจาเป็ น คือเกิดขึ้นเพราะการขัดแย้งในเรื่ องต่างๆ ระหว่างมนุษย์ไม่อาจยุติได้ ต้องมี
อานาจควบคุม เมื่อเป็ นเช่นนี้แต่ละยุคแต่ละสมัยก่อนก่อนที่จะเข้าสู่ สงั คมคอมมิวนิสต์
ย่อมจะต้องมีรัฐ
 ) ถือว่า การปฏิวต
ั ิเป็ นวิธีการในการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทางเดียวเท่านั้น กล่าวคือ
เมื่อวิทยาการในการผลิตทั้งปวงจะไม่ยอมวางมือ เพราะผูท้ ี่เป็ นเจ้าของการผลิตเชื่อว่า
ระบบเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่เป็ นอยูน่ ้ นั ดีอยูแ่ ล้ว จึงไม่ยอมเปลี่ยนแปลง เช่น
ขุนนาง ศักดินา เจ้าของที่ดิน หรื อนายทุนอุตสาหกรรม มีความเห็นแก่ตวั และไม่ยอม
เปลี่ยนแปลงใดๆ เลย เพื่อคาวมเป็ นธรรมในสังคมจึงจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องใช้การ
ปฏิวตั ิเพื่อล้มล้างบุคคลเหล่านี้

มาร์กช์ไม่เคยเชื่อว่า ชนชั้นนายทุนหรื อระบบทุนนิยมหรื อระบบอื่นๆ ที่บกพร่ องนั้นจะ
สามารถปรับปรุ งตนเองได้ ดังนั้น สิ่ งที่บกพร่ องอยูแ่ ล้วในปั จจุบนั ก็จะบกพร่ องต่อไป
ในอนาคต ทางออกจึงต้องใช้กาลังล้มล้างการปฏิวตั ิแต่ประการเดียว มาร์กช์เชื่อว่า การ
ปฏิวตั ิเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากระบบทุนนิยมไปสู่ ระบบ
คอมมิวนิสต์
 มาร์ กช์พยายามสนับสนุนให้มีการปฏิวต
ั ิลม้ ล้างระบบนายทุน แต่มีปัญหาว่า เมื่อล้มล้าง
นายทุนได้แล้วจะเป็ นสังคมคอมมิวนิสต์ได้ทนั หรื อไม่มาร์กช์หาทางออกด้วยการกล่าว
ว่า ช่วงเชื่อมต่อกันระหว่างรัฐนายทุนกับสังคมที่ปราศจากรัฐ (stateless
society) นั้นจะต้องมีองค์การทางการเมืองอยูใ่ นรู ปแบบของ “เผด็จการของชนชั้น
กรรมาชีพ” (dictatorship fo the proletariat) ในช่วงเวลาดังกล่าว รัฐ
ยังคงสภาพอยู่ แต่มาร์กช์ถือว่า จะเป็ นรัฐที่ผดิ แผกแตกต่างจากที่เคยเป็ นมาเพราะจะเป็ น
ครั้งแรกที่ผปู้ กครองเป็ นตัวแทนของคนหมู่มาก คือผูใ้ ช้แรงงานมีอานาจและไม่มีชนชั้น
ที่สามารถแสดงตัวเป็ นปฏิปักษ์ได้อย่างแท้จริ ง ทั้งนี้ เพราะนายทุนกาลังถูกกวาดล้างให้
หมดสิ้ นไปอาจเรี ยกช่วงเวลาที่เป็ นเผด็จการของชนชั้นกรรมาชีพนี้วา่ เป็ นรัฐแบบสังคม
นิยม คือยังไม่เป็ นคอมมิวนิสต์อย่างที่ประสงค์

ความเป็ นมาของประชาธิปไตย
คาว่า “ประชาธิปไตย” (Democracy) มาจากรากศัพท์ภาษากรี ก คือ Demos แปลว่า
ประชาชน (people) ซึ่งความหมายเดิมในภาษากรี กหมายถึง คนยากจน (the poor) หรื อคน
ส่ วนมาก (the many) กับ Kratos หมายถึง อานาจ (power) หรื อ การปกครอง (rule)
ดังนั้น คาว่า ประชาธิปไตย (Democeacy) จึงหมายถึง rule by the people หรื อ
การปกครองโดยประชาชน

ความหมายประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในภายหลังนั้น อาจแบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

1. ความหมายแคบ ถือว่า ประชาธิปไตยเป็ นเพียงรู ปแบบการปกครองแบบหนึ่งเท่านั้น แต่มี
ลักษณะพิเศษคือ ประชาชนในแต่ละประเทศมีสิทธิ อานาจ และโอกาสที่จะเข้าควบคุมกิจการ
ทางการเมืองของชาติ หรื อพูดง่ายๆ คือประชาชนมีอานาจปกครองตนเอง

2. ความหมายกว้าง หมายถึง ปรัชญาของสังคมมนุษย์ หรื อวิถีชีวติ ที่ยดึ ถือ อุดมคติและ
หลักการบางประการที่กาหนดแบบแผนแห่งพฤติกรรมระหว่างมนุษย์ในสังคม ในกิจการทาง
การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม

ประชาธิปไตย (Henry Maine)เป็ นแต่เพียงรู ปแบบการปกครองหนึ่งเท่านั้น แต่มี
สักษณะเป็ นพิเศษคือ ประชาชนในแต่ละประเทศมีสิทธิ มีอานาจ และมีดอกาสที่จะเข้าควบคุม
กิจทางการเมืองของชาติ

ประชาธิปไตย (C.C.Rodee and others) หมายถึง ปรัชญาของสังคมมนุษย์
หรื อวิถีชีวติ ที่ยดึ ถืออุดมการณ์และหลักการบางประการที่กาหนดแบบแผนแห่งพฤติกรรม
ระหว่างมนุษย์ในสังคม ในส่ วนที่เป็ นกิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

ประชาธิปไตย (Austin Ranney) หมายถึง รู ปแบบการปกครองประเภทหนึ่งซึ่ง
จัดระบบการปกครองตามหลักการใหญ่ๆ ที่ยดึ ถือหลักอานาจอธิปไตยของปวงชน ความเสมอ
ภาคทางการเมืองการปรึ กษาหารื อจากประชาชน และการปกครองโดยอาศัยเสี ยงข้างมาก

1. ประชาธิปไตยในฐานะเป็ นอุดมการณ์หรื อลัทธิทางการเมือง ในแง่อุดมการณ์หรื อ
ลัทธิการเมืองนั้น หลักการประชาธิปไตยยึดมัน่ ว่า ทุกคนมีความเท่าเทียมกันและยอมรับ
ว่าทุกคนมีสิทธืเสรี ภาพ

2. ประชาธิปไตยในฐานะเป็ นรู ปแบบของการปกครอง ในแง่ของรู ปแบบการ
ปกครองนั้น หลักประชาธิปไตยถือว่า รู ปแบบการปกครองที่ดีที่สุดจะต้องเป็ นรู ปแบบ
การปกครองที่มห้สิทธิเสรี ภาพแก่ประชาชนมากที่สุด ตลอดจนการยอมรับว่า ประชาชน
เป็ นเจ้าของอานาจสูงสุ ดในการปกครอง หรื อเป็ นการปกครองโดยประชาชน

3. ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็ นวิถีชีวติ ในแง่ของวิถีชีวติ นั้น การปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยจะต้องสอดคล้องกับวิถีชีวติ ของประชาชนในประเทศ


แนวความคิดประชาธิปไตยสมัยใหม่ เริ่ มมีข้ ึนในราวศตวรรษที่ 17 อันเป็ นยุคฟื้ นฟู
ศิลปวิทยาการ (Renaissance) ในยุคนี้แนวความคิดเกี่ยวกับมนุษย์เริ่ ม
เปลี่ยนแปลงไปจากความเชื่อที่วา่ มนุษย์จะต้องมีความผูกพันกับสังคมอย่างใกล้ชิด กลับ
เปลี่ยนไปเป็ นการให้ความสาคัญต่อปั จเจกชนมากขึ้น โดยถือว่าบุคคลควรผูกพันกับคน
อื่นๆ ในฐานะที่เป็ นสมาชิกแห่งมนุษยชาติโดยเท่าเทียมกันมากกว่าที่จะผูกพันกับสังคม
ฉะนั้นในแนวความคิดนี้จะเน้นถึงคุณ่าแห่งความเป็ นมนุษย์ การให้สิทธิเสรี ภาพและการ
ยอมรับความเท่าเทียมกับของบุคคลนักคิดที่มีความสาคัญที่มีอิทธิพลในยุคนี้ได้แก่
John Locke, Jean jacques Rousseau, John Stusrt Mill
และJeremy Bentham

John Locke (1632-1704) นักปราชญ์ชาวอังกฤษ แนวความคิดที่สาคัญของ Locke คือ
การให้ความสาคัญต่อสิ ทธิเสรี ภาพของบุคคล โดยถือเป็ นสภาพตามธรรมชาติ (State of
Nature) ที่ตอ้ งมีสนั ติภาพ ไมตรี จิตร การช่วยเหลือกันและการคุม้ ครองป้ องกันซึ่ งกันและ
กัน นอกจากนี้ Locke ได้เน้นว่า คนเราไม่สามารถทาอะไรได้ตามอัธยาศัย ทั้งนี้ เพราะมี
ข้อจากัดอยูท่ ี่การมีสิทธิในทรัพย์สินที่หามาได้ดว้ ยแรงงานของตน การสนับสนุนให้เอกชนมี
สิ ทธิในทรัพย์สิน จัดเป็ นหลักสาคัญที่สุดและถือเป็ นหลักธรรมชาติอย่างหนึ่ง รัฐบาลที่จดั ตั้ง
ขึ้นมิได้ก่อให้เกิดสิ ทธิดงั กล่าวขึ้นมา นอกจากนี้ยงั เชื่อว่าสิ ทธิเสรี ภาพนั้นเป็ นสิ่ งที่จะโอนให้
ใครไม่ได้ การยินยอม (consent) ให้จดั ตั้งสังคมและรัฐบาลนั้นเป็ นสิ่ งที่มนุษย์ได้บอกเลิก
ที่จะเป็ นผูพ้ ิพากษาในเรื่ องต่างๆ ด้วยตนเอง จึงมอบสิ ทธิดงั กล่าวให้แก่เสี ยงข้างมากนั้นทา
หน้าที่แทน จะเห็นได้วา่ Locke มีความเชื่ออย่างจริ งใจต่อสิ ทธิเสรี ภาพส่ วนบุคคล ซึ่งการให้
สิ ทธิเสรี ภาพนั้นได้กลายเป็ นลักษณะเด่นประการหนึ่งของระบอบประชาธิปไตย


Jean Jacques Rousseau (1712-1778) เกิดที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเชอร์
แลนด์ ในปี ค.ศ. 1762 ได้พิมพ์หนังสื อชื่อ The Social Contract ซึ่งเป็ นหนังสื อ
ทางปรัชญาการเมืองที่สาคัญที่มีทฤษฎีเกี่ยวกับเจตจานงร่ วม (General will) และอานาจ
อธิปไตยของปวงชน ตลอดจนที่มาแห่งอานาจที่ชอบด้วยกฎฆมาย และในหนังสื อชื่อ
Discourse on The Origin of Inequality นั้นรุ ซโซได้ให้ทศั นะเกี่ยวกับ
สภาพของมนุษย์วา่ มนุษย์เราเป็ นคนดีต้งั แต่เกิดมา เลวลงเพราะมีสถาบันที่เลวปกครองอยู่ และ
ได้เห็นว่า สภาพธรรมชาติในสังคมมนุษย์ไม่มีความเสมอภาพกันโดยเฉพาะในเรื่ องทรัพย์สินและ
กฎหมาย

ในส่ วนที่เกี่ยวกับหลักในการปกครองนั้นรัฐบาลซึ่ งเป็ นตัวแทนของอานาจอธิปไตย
(เจตจานงร่ วม) นั้นย่อมมีอานาจในการปกครองโดยสมบูรณ์ ขณะเดียวกันรัฐควรปล่อยให้
เอกชนมีสิทธิเสรี ภาพตามสมควรภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย หน้าที่ของรัฐบาลไม่เพียงแต่
ปกครองและรักษากฎหมายเท่านั้น แต่ตอ้ งมีหน้าที่คุม้ ครองเสรี ภาพของเอกชน คอยดูแล
เอกชนไม่ให้ใช้สิทธิเสรี ภาพเกินขอบเขตที่กฎหมายวางเอาไว้จนละเมิดสิ ทธิเสรี ภาพของคน
อื่น รวมทั้งความมัน่ คงของรัฐด้วย จะเห็นได้วา่ รุ ซโซเน้นถึงขอบเขตของสิ ทธิเสรี ภาพว่าจะ
ปล่อยให้ประชาชนมีสิทธิเสรี ภาพโดยปราศจากขอบเขตจากัดนั้นไม่ได้ เพราะถ้าไม่เช่นนั้น
แล้วสังคมก็จะสู ญสลาย รัฐบาลก็จะหมดอานาจเพราะทุกคนถือว่าการกระทาของตนชอบ
ด้วยกฎหมายเป็ นเหตุให้เกิดอนาธิปไตยได้ การปกครองที่ดีตอ้ งมีการจากัดสิ ทธิเสรี ภาพของ
ประชาชนให้เหมาะสม ไม่ปล่อยให้ประชาชนมีเสรี ภาพมากจนรัฐบาลไม่อาจควบคุมได้ แต่
ขณะเดียวกันก็จะต้องไม่จากัดสิ ทธิใดๆ แก่ราษฎร เว้นไว้แต่เป็ นเรื่ องที่เป็ นผลดีต่อสังคม

สาหรับในเรื่ องเจตจานงร่ วม (อานาจอธิปไตย) นั้น ตามทัศนะของรุ ซโซจะต้องถูกเสมอ
เพราะถือว่าเป็ นหลักความจริ งที่สุด และมีเจตนารมณ์ที่จะทาอะไรเพื่อประโยชน์สูงสุ ดของ
สังคม และยังเชื่อว่าเจตจานงร่ วมหรื ออานาจอธิปไตยเป็ นของประชาชน รัฐบาลในฐานะเป็ น
ตัวแทนในการทาหน้าที่ปกครองนั้นจะมีอานาจมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยูก่ บั ประชาชนซึ่ง
เป็ นเจ้าของได้มอบให้ และจะต้องสนองเจตนารมณ์ตามความต้องการของประชาชนที่จะบง
การ สาหรับรู ปแบบการปกครองนั้น รุ ซโซมีความนิยมการปกครองแบบประชาธิปไตย
โดยตรง (direct democracy) มากกว่าประชาธิปไตยทางอ้อม (indirect
democracy) เพราะเห็นว่าเป็ นลักษณะประชาธิปไตยโดยแท้จริ ง เพราะประชาชนทุก
คนสามารถเข้าร่ วมประชุมได้โดยไม่ตอ้ งผ่านผูแ้ ทน จะเห็นว่า แนวความคิดของรุ ซโซดังกล่าว
ได้ส่งผลอย่างยิง่ ต่อรู ปแบบการปกครองประชาธิปไตยในปัจจุบนั

Jeremy Bentham (1749-1832) เกิดที่กรุ งลอนดอน ประเทศอังกฤษ ผลงานที่
น่าสนใจของเบนธัม คือการคิดทฤษฎีของผลที่ได้รับ (Utility) เป็ นแนวคิดที่ตอ้ งการแสวงหา
คาตอบว่า อะไรคือความดีงามหรื อผลที่ได้รับ ซึ่ งเบนธัม ได้ให้แนวคิดว่า สิ่ งใดที่นามาซึ่งความสุ ข
สิ่ งนั้นคือ ความดีงาม และสิ่ งใดไม่ได้นามาซึ่ งความสุ ขก็ไม่ใช่สิ่งดีงาม สาหรับแนวความคิด
เกี่ยวกับรัฐนั้น เบนธัมเห็นว่ารัฐเป็ นคณะบุคคลที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อส่ งเสริ มและธารงรักษาผลที่ได้รับ
จากการกระทา เป็ นองค์กรที่ออกกฎหมายและเป็ นกลุ่มบุคคลที่รวมกันขึ้นเพือ่ ธารงไว้ซ่ ึงความสุ ข
กฎหมายเป็ นทั้งคาสัง่ (command) และการควบคุม (restraint) ฉะนั้นกฎหมายจึงมี
ลักษณะจากัดสิ ทธิเสรี ภาพเพื่อที่จะส่ งเสริ มความสุ ข เพราะจุดหมายสาคัญของกฎหมายคือ การ
ประนีประนอมผลประโยชน์ต่างๆ (reconcile interests) ซึ่งผลประโยชน์ส่วนบุคคล
จะถูกจากัดเพื่อประโยชน์สุขของส่ วนรวม ส่ วนในเรื่ องสิ ทธิในทรัพย์สินนั้น รัฐไม่อาจจะยึด
ทรัพย์สินของเอกชนได้โดยไม่เสี ยค่าตอบแทน การยึดทรัพย์สินของเอกชนไม่วา่ จะเพือ่ การใดๆ ก็
ตามต้องมีค่าตอบแทนอย่างเหมาะสม ส่ วนในเรื่ องเสรี ภาพนั้นถึงแม้จะจาเป็ นมากเพียงใดก็ยงั
สาคัญน้อยกว่าความสุ ข เสรี ภาพต้องรับใช้ความสุ ข จุดมุ่งหมายปลายทางของรัฐมิใช่เพื่อสถาปนา
เสรี ภาพที่กว้างขวางที่สุด หากแต่เป็ นไปเพื่อความสุ ขสูงสุ ด

กฎหมายที่ดีตามทัศนะของเบนธัมนั้นเป็ นกฎหมายที่ให้ความสุ ขเพิ่มพูนขึ้นมิใช่เป็ นการ
เพิ่มพูนเสรี ภาพมีนกั ปราชญ์บางคนเห็นว่าความสุ ขกับเสรี ภาพมักจะขัดแย้งกันเสมอไม่มากก็
น้อย แต่เบนธัมกลับเห็นว่าจะไม่มีโอกาสขัดแย้งกันได้เลยในสิ ทธิความเสมอภาคกันนั้น
เอกชนทุกคนมีสิทธิเสมอภาคกันตามกฎหมาย นโยบายเร่ งด่วนของรัฐคือการให้ประกันว่า จะ
มีความเสมอภาคกันในด้านทรัพย์สินให้มากที่สุด จากแนวความคิดดังกล่าว จะเห็นว่า การให้
สิ ทธิเสรี ภาพและภราดรภาพจัดเป็ นนโยบายเร่ งด่วนของรัฐที่พึงกระทาเพื่อจะได้นาความสุ ข
มาสู่มวลชน ซึ่งถือว่า เป็ นลักษณะของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยแท้จริ ง

John Stuart Mill (1806-1823) เป็ นชาวอังกฤษ เมื่ออายุ 21 ปี ได้เริ่ ม
ปรับปรุ งแนวคิดของตนเกี่ยวกับปรัชญาของ เบนธัม และได้เขียนหนังสื อหลายเล่ม เล่มที่
สาคัญ เช่น System of Logic (1843) On the Liberty (1859)
Utilitarianism (1863) โดยเฉพาะหนังสื อ Utilitarianism นั้นเป็ นทฤษฎี
จริ ยธรรม (Ethical theory) ที่น่าสนใจโดยมีสาระที่สาคัญพอสรุ ปได้วา่ ความสุ ข
ที่สุด (greatest happiness) ของคนเราคือ การประสบความสาเร็ จในสิ่ งที่ตน
ปรารถนา และสิ่ งชักจูงใจที่รุนแรงที่สุดของบุคคลคือการแสวงหาความสุ ขที่สูงสุด สาหรับ
แนวคิดเกี่ยวกับรัฐนั้นปรากฏในหนังสื อชื่อ On the Liberty (1859) มิลล์ได้เสนอ
ว่า รัฐบาลที่ดีที่สุดจะต้องปล่อยให้เอกชนมีสิทธิเสรี ภาพโดยเฉพาะเสรี ภาพในการคิด การ
ค้นคว้า การอภิปราย การปรึ กษาหารื อ หรื อการมีจิจารณญาณที่ชอบด้วยศีลธรรม ตลอดจน
การปฏิบตั ิที่ชอบด้วยศีลธรรม เพราะว่าเสรี ภาพเหล่านี้มีลกั ษณะเป็ นความดีในตัวของมันเอง
โดยไม่ตอ้ งอาศัยกฎหมายหรื อขนบธรรมเนียมมาช่วยส่ งเสริ ม เพราะเป็ นสิ่ งที่ติดมากับการ
เกิดของมนุษย์ การยอมรับมีสิทธิต่างๆ เหล่านี้จดั เป็ นเครื่ องหมายของอารยธรรมด้วยรัฐบาล
ประชาธิปไตย แม้จะมีประสิ ทธิภาพสูงเพียงใดหากไม่เคารพสิ ทธิเสรี ภาพของบุคคลแล้วก็
เป็ นรัฐบาลที่ดีไม่ได้
อุดมการณ์ ประชาธิปไตย มีลกั ษณะสาคัญ
1) การมีศรัทธาในความสามารถของมนุษย์ มีศรัทธาในสติปัญญาในการที่มนุ ษย์
สามารถร่ วมมือกันทางาน ความสามารถของมนุษย์ที่สาคัญได้แก่ การรู้จกั เหตุผล และ
การยึดหลักเหตุผลด้วยวิธีการทดลองค้นหาแบบวิทยาศาสตร์
 2) เชื่อในสิ ทธิ เสรี ภาพที่จะแสดงความคิดเห็น เนื่ องจากวิธีการหาข้อเท็จจริ งตาม
อุดมการณ์ประชาธิปไตยถือหลักการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ จึงเชื่อว่า การยอมให้ทุก
ฝ่ ายเสนอข้อเท็จจริ ง เหตุผล และความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาที่กาลังพิจารณาอยูใ่ ห้หมด
เสี ยก่อนแล้วจึงร่ วมกันตัดสิ นใจจะเป็ นวิธีทีดีที่สุด
 ความเสมอภาคในโอกาส
 ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ
 ความเสมอภาคทางสั งคม
 ความเสมอภาคทางสการเมือง

4) อานาจทางการปกครองของรัฐบาลเกิดขึ้นจากความยินยอมของประชาชน การให้ความ
ยินยอมเท่ากับเป็ นการสร้างความชอบธรรมให้กบั กาลังหรื ออานาจ ดังนั้น รัฐบาลที่ชอบ
ธรรมจึงเป็ นรัฐบาลที่เป็ นตัวแทนของประชาชน

5) สถาบันการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ที่เป็ นกลไกลของรัฐนั้น มีอยูเ่ พื่อรับใช้
บุคคลในสังคม คนเข้ามาอยูภ่ ายใต้การปกครองของรัฐบาลก็เพราะเขาคิดว่า รัฐบาลจะเป็ น
เครื่ องมือในการที่จะช่วยให้เขามีชีวติ ที่ดีกว่าแต่ก่อน มีเสรี ภาพ ความมัน่ คงปลอดภัยใน
ทรัพย์สิน และสิ ทธิในทรัพย์สินส่ วนบุคคลเหนือสิ่ งอื่นใด อานาจของรัฐควรมีอยูอ่ ย่าง
จากัด
็ ว้ ย
 6) รัฐเป็ นเพียงอุปกรณ์ที่ช่วยให้คนในสังคมบรรลุถึงความสุ ขสมบูรณ์และรัฐอยูไ่ ด้กด
เป้ าหมายที่จะคุม้ ครองชีวติ ทรัพย์สิน และการแสวงหาความสุ ข ดังนั้น ประชาชนมีสิทธิที่
จะทาการต่อต้านรัฐบาลที่ไม่ปฏิบตั ิตามจุดมุ่งหมายดังกล่าว หรื อรัฐบาลที่ใช้อานาจเป็ น
ธรรม ไม่ใช่ใช้ธรรมเป็ นอานาจนัน่ เอง

ประชาธิปไตยในฐานะเป็ นระบอบการปกครอง
1) อานาจอธิปไตยมาจากประชาชน (popular sovereignty) หรื อถือว่า
ประชาชนเป็ นเจ้าของรัฐ
 2) ประชาชนจะต้องมีส่วนร่ วมในการปกครองประเทศหรื อปกครองตนเอง (Selfgovernment) แต่โดยที่ประชาชนไม่สามารถที่จะเข้าไปทาการปกครองด้วย
ตนเอง ดังนั้น ประชาชนจึงมีสิทธิที่จะดาเนินการในเรื่ องต่อไปนี้
 ทาการเลือกตัวแทนเข้าไปปกครองแทนตน
 แสดงมติหรื อความคิดเห็นในรู ปแบบต่าง ๆ
 จัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นเพื่อทาหน้าที่แทนประชาชนในเรื่ องขบวนการทางการเมือง
 การเสนอข้อคิดเห็นต่าง ๆ ต่อรัฐบาลโดยตรงหรื อผ่านสื่ อมวลชน เป็ นต้น

3) รักษาผลประโยชน์ของฝ่ ายข้างมากในการปกครอง (majority rules) เพราะเสี ยง
ข้างมาก คือ เจตจานงร่ วม (General Will) ของประชาชน แต่ในขณะเดียวกัน ก็ตอ้ ง
ให้ความสาคัญและรักษาผลประโยชน์ให้แก่ฝ่ายข้างน้อยด้วย (minority rights)

4) หลักกฎหมาย (The Rule of Law) เป็ นหลักในการปกครอง จะ
ยึดถือความเห็นส่ วนตัวหรื ออารมณ์ส่วนตัวไม่ได้ ดังนั้น รัฐบาลจึงจาเป็ นที่จะต้องตั้งอยูบ่ น
หลักแห่งกฎหมาย การที่บุคคลจะได้มาซึ่ งสิ ทธิหรื อเสี ยไปซึ่งสิ ทธิน้ นั จะต้องเป็ นไปตามตัว
บทกฎหมายที่บญั ญัติไว้ในขณะนั้นเท่านั้น
 ) หลักความยินยอมเห็นชอบร่ วมกัน (consensus) หรื อความสมัครใจของประชาชน
เป็ นหลัก ดังนั้น จึงไม่นิยมการบังคับ เพราะความยินยอมและหลักขอบความเห็นพ้องต้องกัน
นั้นจะนาไปสู่ มนุษยสัมพันธ์อนั ดี การที่รัฐบาลจะกระทาในสิ่ งซึ่ งจะเป็ นผลให้ประชาชนส่ วน
ใหญ่เสี ยผลประโยชน์น้ นั ประชาชนส่ วนใหญ่จะต้องให้ความยินยอมเห็นชอบก่อน

6) หลักการปกครองที่วา่ รัฐบาลที่ดีตอ้ งมีอานาจจากัด (The Least Government
is the Best Government) ดังนั้น จึงจาเป็ นต้องกาหนดขอบเขตอานาจของรัฐบาล
ไว้ เช่น ด้วยการกาหนดไว้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญหรื อกฎหมายสาคัญ ๆ ของรัฐ หลักการ
จากัดอานาจของรัฐประการหนึ่ง คือ หลักการรั้งถ่วงและได้ดุลแห่งอานาจ (checks and
balances) กล่าวคือ ให้อานาจนิติบญั ญัติ อานาจบริ หาร และอานาจตุลาการต่างมีอิสระ
แก่กนั และสามารถที่จะตรวจสอบซึ่งกันและกันได้

7) หลักความเสมอภาค (Equality) การปกครองระบอบประชาธิปไตยถือว่า
ประชาชนทุกคนมีความเสมอภาคกันในเรื่ องโอกาส เช่น โอกาสที่จะมีส่วนร่ วมทางการเมือง
เท่าเทียมกัน เช่น มีโอกาสที่จะได้เป็ นผูแ้ ทนหรื อเข้าไปร่ วมในวงการของรัฐบาล เป็ นต้น
 8) หลักการใช้เหตุผล (Rationality) ซึ่ งเป็ นหลักที่ยอมรับว่า มนุษย์เป็ นสัตว์ฉลาด
(Homo Sapiens) ดังนั้น การปกครองในระบอบประชาธิปไตยจึงยอมให้มีการ
โต้เถียงกัน ยอมให้มีการอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ทั้งนี้ เพราะวิธีการดังกล่าว
เป็ นวิธีการที่จะให้ได้มาซึ่งเหตุผลและข้อสรุ ป การเอาชนะกันในทางการเมืองนั้น ควรจะ
เอาชนะกันด้วยเหตุผล มิใช่กาลังหรื อเล่ห์กล เพราะเหตุผลที่ดีน้ นั จะก่อให้เกิดความเห็นพ้อง
ต้องกันอีกด้วย และเมื่อปรากฏว่าต่างฝ่ ายต่างก็มีเหตุผลพอ ๆ กันก็อาจต้องใช้วธิ ีการตัดสิ นด้วย
การออกเสี ยงแสดงมติต่อไป

10) หลักของมนุษย์ในแง่ดี (optimistic) ประชาธิปไตยเชื่อว่า มนุษย์แต่ละคนมี
ความดีอยูใ่ นตัวเอง มีคุณค่าในตัวเอง มนุษย์เกิดมาเป็ นคนดี ดังนั้น รัฐบาลจึงไม่จาเป็ นที่
จะต้องทาการควบคุมมากเกินไป
 11) หลักเสรี ภาพ (Liberty) เสรี ภาพเป็ นสิ่ งจาเป็ นของมนุษย์ที่จะช่วยให้มนุษย์
สามารถแสดงออกซึ่งปัญญาและเหตุผลของเขาได้ โดยปกติแล้ว เสรี ภาพจะถูกบัญญัติไว้ใน
กฎหมายรัฐธรรมนูญทั้งนี้เพื่อเป็ นหลักประกันว่า การใช้เสรี ภาพของแต่ละบุคคลจะต้องไม่
ละเมิดเสรี ภาพของผูอ้ ื่นด้วย ซึ่งเป็ นการใช้เสรี ภาพที่ชอบธรรมและมีเหตุผลอย่างแท้จริ ง
 12) หลักความสาคัญของวิธีการ (means) ว่า มีความสาคัญเท่ากับจุดหมายปลายทาง
(aims) ประชาธิปไตยยอมรับว่า วิธีการที่จะไปสู่จุดหมายปลายทางนั้นมีหลายวิธีและ
แตกต่างกันตามความเหมาะสมกับสภาพสังคมและสิ่ งแวดล้อม แต่การปกครองในระบอบ
เผด็จการมักจะมุ่งจุดหมายปลายทางโดยไม่คานึงถึงความเหมาะสมของวิธีการว่า ประชาชน
จะพอใจหรื อส่ วนใหญ่จะเห็นด้วยหรื อไม่

ประชาธิปไตยในฐานะเป็ นวิถีชีวิต
1) เคารพเหตุผลมากกว่ าบุคคล คือต้องไม่ศรัทธาหรื อเชื่อในตัวบุคคลหนึ่งบุคคลใดจน
ลืมนึกถึงความสามารถที่แท้จริ ง โดยต้องยอมรับว่าคนทุกคนมีความสามารถและมี
สติปัญญาอยูใ่ นวงจากัดอาจมีทศั นะที่ถูกต้องในบางเรื่ องและอาจผิดในบางเรื่ องจะต้อง
ไม่เคร่ งครัดในระบบอาวุโส (seniority) มากเกินไป ต้องยอมรับฟั งความคิดเห็น
ของคนอื่นเพื่อค้นหาเหตุผลที่ถูกต้องอย่าแท้จริ ง เพราะเหตุผลจะช่วยจรรโลงให้
ประชาธิปไตยดาเนินไปได้

2) รู้ จักการประนีประนอม ผูท้ ี่เลื่อมใสในระบอบประชาธิปไตยจะต้องรู้จกั
ยอมรับความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ไม่ยดึ มัน่ ในความคิดของตนอย่างไม่ยอมผ่อนปรนแก้ไข
และต้องใช้เหตุผลให้มากที่สุดในการตัดสิ นปั ญหาต่างๆ การรู ้จกั ประนีประนอม คือการ
ยอมรับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งอย่างสันติวธิ ีผทู้ ี่มีจิตใจเป็ นประชาธิปไตยต้องไม่
นิยมการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีรุนแรง

3) มีระเบียบวินัย สังคมประชาธิปไตยจะดาเนินไปได้ดีคนในสังคมจะต้องเป็ นผูท้ ี่มีระเบียบ
วินยั ประพฤติปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์และตามกฎหมายบ้านเมืองอย่างสม่าเสมอ ถ้ามีความรู ้สึกว่า
กฎหมายที่ใช้อยูไ่ ม่เป็ นธรรมก็ตอ้ งหาทางเรี ยกร้องให้มีการแก้ไขกฎหมายนั้น ไม่ใช่ฝ่าฝื นไม่
ยอมรับเพราะถ้าคนบางคนละเมิดกฎหมายได้คนอื่นก็ยอ่ มทาเช่นเดียวกัน ประชาธิปไตยเป็ น
ลัทธิที่บูชาสิ ทธิและเสรี ภาพก็จริ ง แต่การอ้างสิ ทธิเสรี ภาพนั้นต้องมีความระมัดระวังให้อยู่
ภายใต้ขอบเขตของกฎหมายการใช้สิทธิเสรี ภาพเกินขอบเขตจนละเมิดหรื อก้าวก่ายในสิ ทธิ
เสรี ภาพของผูอ้ ื่นหรื อทาให้เกิดความไม่สงบในสังคมย่อมเป็ นสิ่ งที่มิชอบและไม่ควรปฏิบตั ิ
อย่างยิง่ สังคมประชาธิปไตยจะดาเนินไปด้วยดี คนในสังคมจึงจาเป็ นต้องมีระเบียบวินยั

4) มีความรั บผิดชอบต่ อส่ วนรวม ความรับผิดชอบต่อส่ วนรวมจะเกิดขึ้นจาก
ความรู้สึกของคนในสังคมว่า ตนเป็ นเจ้าของประเทศและประเทศเป็ นของคนทุกคน การ
ประพฤติตนให้เป็ นพลเมืองดี ได้แก่ การช่วยกันรักษาสมบัติของส่ วนรวมหรื อสมบัติของ
สาธารณะ เป็ นต้น

ขอขอบพระค ุณครับ
117
ของฝากครั บ
วิถีชีวติ ที่เป็ นประชาธิปไตยเกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพทีเ่ ป็ นประชาธิปไตย
(democratic personality) โดยตรง ผูท้ ี่มีบุคลิกภาพที่เป็ นประชาธิ ปไตย
นั้น (ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช, 2523 : 63-65) ได้แก่ บุคคลซึ่ง
 มีความคิดเห็นเป็ นของตนเอง ไม่นิยมการตามความคิดเห็นของผูอ้ ื่น เว้นเสี ยแต่วา่ จะถูก
ชักจูงให้คล้อยตามได้วา่ ความคิดเห็นนั้นมีเหตุผลควรที่จะเชื่อถือ
 เป็ นคนที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพการณ์ใหม่ๆ ได้ง่าย
 มีความรับผิดชอบ พร้อมที่จะรับผิดชอบในสิ่ งที่เขาได้กระทาลงไป
 ไม่มีอคติต่อศาสนาอื่น หรื อถูกเหยียดหยามชนชาติอื่น
 คิดถึงบุคคลอื่นในฐานะที่เขาเป็ นตัวของเขาเอง ไม่ใช่ไปจัดประเภทให้เขา เช่น ไม่เรี ยก
เขาว่า “หัวรุ นแรง” หรื อ “พวกฝ่ ายซ้าย”
 มองโลกในแง่ดีอยูเ่ สมอ มีศรัทธาและความหวังต่อชีวต
ิ
ั ผูย้ งิ่ ใหญ่ง่ายๆ แม้วา่ จะยอมรับอานาจ แต่อานาจนั้นต้องมีเหตุผล
 ไม่ยอมก้มหัวให้กบ
หรื อมีความชอบธรรม

ส่ วนบุคลิกภาพที่ไม่เกื้อกูลต่อการปกครองแบบประชาธิปไตยนั้นได้แก่บุคลิกภาพแบบเผด็จการหรื อ
นิยมอานาจ ผูท้ ี่มีทีท่าว่าจะเป็ นเผด็จการ (ถ้าเป็ นผูน้ า) หรื อชอบปกครองแบบเผด็จการ คือบุคคลซึ่ง
 1.ยอมรับอะไรง่ายๆ ยอมตามสังคมอยูเ่ สมอโดยไม่มีความคิดเห็นโต้แย้งต่อค่านิ ยมของสังคมทั้งนี้
เพราะบุคคลประเภทนี้ตอ้ งการการยอมรับจากสังคม ต้องการความมัน่ คง และไม่สามารถจะพบกับการ
ที่ตนเองเกิดไปมีความคิดเห็นที่ผดิ แผกแตกต่างไปจากคนหมู่มากได้ ในทานองเดียวกัน ถ้าใครมีความ
คิดเห็นไม่ตรงกัน ตนก็ทนเขาไม่ได้เช่นกัน
 2.มองโลกว่าเต็มไปด้วยความหลอกลวง ไม่มน
ั่ คง ไม่ปลอดภัย ไม่น่าอยู่ ไม่มีอะไรแน่นอนเมื่อมี
ความรู้สึกเช่นนี้อยูแ่ ล้วก็มกั จะเกิดความปั่ นป่ วนกวนใจ ต้องหันหน้าเข้าไปพึ่งบุคคลหรื อสิ่ งของเอาไว้
คอยยึดมัน่ อย่างงมงาย บุคคลประเภทนี้จึงชอบผูเ้ ผด็จการ ชอบการใช้อานาจเด็ดขาด และมีทศั นคติวา่
สิ่ งที่โลกเราหรื อชาติตอ้ งการมากที่สุด คือการมีผนู ้ าที่เข้มแข็ง
 3) เป็ นคนที่เคร่ งครัดจนเกินไป ไม่รู้จก
ั ผ่อนสั้นผ่อนยาว ไม่ค่อยยอมปรับตัว ไม่ค่อยจินตนาการจะ
เรี ยกว่า เป็ นพวกนุรักษ์นิยมก็ได้ ไม่ค่อยมีปฏิกิริยาเท่าไร เป็ นพวกทองไม่รู้ร้อน และนิยมคติที่วา่ “พูด
ไปสองไพเบี้ย นิ่งเสี ยตาลึงทอง”
 4) เป็ นผูท
้ ี่นิยมชาติจนเกินไป จนใจแคบต่อเพื่อร่ วมโลก คนอื่นๆ ที่มีเชื้อชาติ ภาษาต่างไปจากตน คน
ที่มีเชื้อชาติคนละอย่างกับตน หรื อมีความคิดเห็นแตกต่างไปจากตนมักจะถูกมองว่าเป็ นคนประหลาด
น่ากลัว น่าอันตราย และชอบประทับตราให้คนอื่นว่า เป็ นโน่นเป็ นนี่ เช่น “ไอ้คนชาติน้ ีมนั ขี้เกียจ” หรื อ
“ไอ้พวกนั้นมันหัวรุ นแรง” เป็ นต้น
