ปรัชญาการศึกษา

Download Report

Transcript ปรัชญาการศึกษา

1001102 การพัฒนาหลักสูตร
(CURRICULUM DEVELOPMENT)
3(2-2-5)
วรรณภร ศิรพ
ิ ละ
คาอธิบายรายวิชา
1001102 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5)
(Curriculum Development)
 ปรัชญา แนวคิดทฤษฎีการศึกษา ประวัติความเป็ นมาของการจัด
การศึกษาไทย ระบบการจัดการศึกษาไทย วิสยั ทัศน์และแผนพัฒนา
การศึกษาไทย ทฤษฎีหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาไทย
และต่างประเทศ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้ นฐาน กระบวนการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา การวิเคราะห์หลักสูตรตามมาตรฐาน
การศึกษาและมาตรฐานช่วงชั้น การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรก่อนและหลังการใช้หลักสูตร การวิเคราะห์
ปั ญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาการจัดการศึกษา

ปรัชญา ในภาษาไทย
เป็ นคาที่พระเจ้าวรวงค์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์
ประพันธ์ทรงบัญญัติขนจากค
ึ้
าภาษาสันสกฤตว่า
“ปร + ชญา” แปลว่า ความรูอ้ นั ประเสริฐ
ปรัชญาการจัดการศึกษา

ปรัชญา ภาษาอังกฤษว่า Philosophy แปลว่า วิชาที่วา่
ด้วย หลักแห่งความรูแ้ ละความจริง ซึ่งมาจากรากศัพท์
ภาษากรีกว่า “Philosophia” แปลว่า phileo
หมายถึง loving หรือความรัก คาว่า sophia
หมายถึง wise หรือ wisdom ซึ่งแปลว่า ความรูห้ รือ
ความฉลาด ดังนั้น ปรัชญาตามภาษาอังกฤษซึ่งมีรากศัพท์
มาจากภาษากรีก จึงแปลว่า love of wisdom หรือ
ความรักที่มีต่อความรู ้
ปรัชญาการจัดการศึกษา

ปรัชญา คือ การแสวงหาความจริง อาศัยเหตุผล
 ปรัชญาคือการค้นพบความรูเ้ กี่ยวกับ "ความจริง" ซึ่ง
เป็ นความรูท้ ี่อยูเ่ หนื อความรูต้ ามกฎเกณฑ์ที่ตายตัว
และเป็ นความรูท้ ี่มีลกั ษณะเป็ น "ศิลป์ " และเป็ น
ความรูใ้ นฐานะ "ศาสตร์พิเศษ" ของมนุ ษย์
ปรัชญาการจัดการศึกษา

ในเชิงวิชาการ ปรัชญา หมายถึง การศึกษาหาความ
จริง หรือ แก่นแท้ของสรรพสิ่งที่มีอยูใ่ นโลกและจักรวาล
อย่างมีระบบ และมีระเบียบแบบแผน
ปรัชญาการจัดการศึกษา

ปรัชญา คือ ศาสตร์แห่งหลักการ ซึ่งมุง่ แสวงหาความ
จริงอันเป็ นที่สุด มีโครงสร้างเนื้ อหา แบ่งเป็ น 3 สาขา
หลัก คือ อภิปรัชญา ญาณวิทยา และคุณวิทยา
ขอบเขตของปรัชญา คือ มุง่ ตอบคาถามว่า อะไรคือ
ความรูท้ ี่ถกู ต้อง อะไรคือความดี ความงาม
ปรัชญาการจัดการศึกษา

ปรัชญาเป็ นศาสตร์ที่วา่ ด้วยหลักการศึกษา การอธิบาย
ความหมายของคาว่า การศึกษา บทบาทและ
ความสาคัญของการศึกษา บทบาทของผูใ้ ห้การศึกษา
บทบาทของผูเ้ รียน วิธีการเรียนรูท้ ี่แท้จริง ความรูท้ ี่
จาเป็ น ฯลฯ โดยคาดคะเนไปสู่อนาคต การสังเคราะห์
การประเมินค่า การวิเคราะห์และการวิพากษ์วจิ ารณ์
โดยอาศัยหลักเหตุผล
ปรัชญาการจัดการศึกษา

ปรัชญาเป็ นศาสตร์ที่วา่ ด้วยหลักการศึกษา การอธิบาย
ความหมายของคาว่า การศึกษา บทบาทและ
ความสาคัญของการศึกษา บทบาทของผูใ้ ห้การศึกษา
บทบาทของผูเ้ รียน วิธีการเรียนรูท้ ี่แท้จริง ความรูท้ ี่
จาเป็ น ฯลฯ โดยคาดคะเนไปสู่อนาคต การสังเคราะห์
การประเมินค่า การวิเคราะห์และการวิพากษ์วจิ ารณ์
โดยอาศัยหลักเหตุผล
เรียนปรัชญาไปทาไม

เรียนปรัชญาเพื่อ
"คิดให้เป็ น วิเคราะห์ได้ แก้ปัญหา
(อธิบายความเชื่อ) ได้ แบบ มนุ ษย์"
ประเภทของปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม (Essentialism)
 ปรัชญาสาขาสัจวิทยานิ ยม หรือ นิ รน
ั ตรนิยม (Perenialism)
 ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญาวิวฒ
ั นาการนิยม
(Progressivism)
 ปรัชญาสาขาปฏิรูปนิ ยม (Reconstructionism)
 ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนิ ยม หรือปรัชญาสวภาพนิ ยม
(Existentialism)
 ปรัชญาวิเคราะห์ (Philosophical Analysis)

ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม
(Essentialism)
วิลเลียม ซี แบกเลย์ (William C. Bagley)
เป็ นผูก้ าหนดปรัชญา
 สารัตถนิ ยม (Essentialism) มาจากภาษาละตินว่า
Essentia หมายถึง สาระ หรือ เนื้ อหาที่เป็ นหลัก เป็ นแก่น
เป็ นสิ่งสาคัญปรัชญาสารัตถนิ ยม ในทางการศึกษา คือ
ปรัชญาที่ยดึ เนื้ อหา (Subject Matter) เป็ นหลักสาคัญ
ของการศึกษา และเนื้ อหาที่สาคัญนั้นก็ตอ้ งเน้นเนื้ อหาที่
ได้มาจากมรดกทางวัฒนธรรม ที่ควรได้รบั การถ่ายทอดต่อไป

ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม
(Essentialism)
องค์ประกอบที่ “จาเป็ น” (essential) ของ
การศึกษาควรเลือกมาจากความรูใ้ นปั จจุบนั และ
ประวัติศาสตร์
 หน้าที่ของโรงเรียน คือ การสอนสิ่งที่จาเป็ นให้แก่เด็ก
 สารนิ ยมผนวกแนวความเชื่อตามหลักปรัชญาของจิต
นิ ยม (Idealism) และสัจนิ ยม (Realism) เข้า
ด้วยกัน

ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม
(Essentialism)

ลัทธิสจั นิยม หรือวัตถุนิยม (Realism)
Aristotle ศิษย์เอกของ Plato เป็ นบิดาของ ลัทธิสจั นิ ยม
เชื่อว่าโลกแห่งความเป็ นจริงคือโลกแห่งวัตถุ คือ สิ่งทั้งหลายที่
เห็นตามธรรมชาติน้ันเป็ นจริงในตัวของมันเองไม่ขึ้นอยูก่ บั จิต
และโลกแห่งวัตถุนี้จะเป็ นโลกที่เปิ ดเผยความจริงและความรู ้
ให้แก่เรา ด้วยเหตุนี้การค้นหาความรูข้ องวัตถุนิยมจึงอาศัย
การเฝ้ าสังเกตอย่างมีระเบียบ
ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม
(Essentialism)

ลัทธิจิตนิ ยม หรือคตินิยม (Idealism)
Plato เป็ นบิดาแห่งปรัชญาสาขาจิตนิ ยม
เชื่อว่า ความเป็ นจริง (Reality) เป็ นความนึ กคิด (Mind)
และเป็ นจิตรภาพ (Idea) หรือ แบบ (From) ที่มีอยูใ่ น
จินตนาการของเรา โลกแห่งความเป็ นจริงอันสูงสุด
(Ultimate reality) จึงเป็ นโลกแห่งจินตนาการ
(A world of mind)
ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม
(Essentialism)

ลัทธิจิตนิ ยม เชื่อว่า การล่วงรูค้ วามจริงได้ตอ้ งอาศัยจิต
(Mind) อาศัยปั ญญา(Intellect) เพื่อเข้าถึงความเป็ นจริง
ที่มีอยูใ่ นจิตรภาพ(Idea) คือ เราใช้ปัญญาและความคิดใน
การรับรูค้ วามจริงเมื่อปั ญญาล่วงรูส้ ิ่งที่เป็ นจริงแล้วก็หมายถึง
เรามี“ความรู”้
ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม
(Essentialism)

การรูน้ ้ันจะเกิดขึ้ นได้ก็ต่อเมื่อมีองค์ประกอบสาคัญ 2 ส่วน
คือ
1. การรับรู ้ (Percepts) คือ การได้รบั ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุ
ต่าง ๆ มาโดยผัสสะ
2. การเข้าใจ หรือสัญชาน (Concept) คือ ความนึ กคิดที่
เกิดขึ้ นในจิตของเรา ความเข้าใจนั้นต้องอาศัยการรับรูใ้ นการ
ป้อนข้อมูลต่าง ๆจากผัสสะ
ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม
(Essentialism)

สารนิ ยม คือ การศึกษา เป็ นแนวทางที่จะนาไปสู่การอนุ รกั ษ์และ
ถ่ายทอดวัฒนธรรม ซึ่งมีที่มาจากจิตนิ ยมให้ความคิดเกี่ยวกับการ
มองจิตว่าจิตเป็ นศูนย์กลางของสัจธรรม เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญ
ในการกาหนดสารนิ ยม จุดเน้นจึงอยูท่ ี่เนื้ อหา ส่วนสัจนิ ยมให้
แนวความคิดในด้านทัศนะพื้ นฐานที่วา่ สัจธรรมนั้นอยู่ในสิ่งต่าง ๆ
หรือวัตถุเชิงกายภาพ เน้นลักษณะของการศึกษาในเชิงปริมาณ
การเรียนรูข้ อ้ เท็จจริงเกี่ยวกับเนื้ อหาและการจัดเนื้ อหามีความจา
เป็ นมาก ถ้าหากเราต้องเรียนโดยวิธีสงั เกต และโดยธรรมชาติ
หลักการสาคัญตามแนวคิดของปรัชญาการศึกษา
สารัตถนิยม

การเรียนรู ้ เกิดขึ้ นได้จากการทางานหนักและนาไป
ประยุกต์ใช้ได้ ความมีระเบียบวินัย เคร่งครัดเป็ นสิ่งสาคัญ
ปลูกฝัง่ ให้เด็กเกิดความมานะ พยายาม ต้องอุทิศตนเพื่อ
จุดหมายปลายทางในอนาคต
 การริเริ่มทางการศึกษา ควรเริ่มต้นที่ครู ครูเป็ นผูน
้ าในการ
เรียน และสร้างพัฒนาการให้กบั เด็ก ทาหน้าที่เชื่อมโยงโลก
ของผูใ้ หญ่กบั โลกของเด็กเข้าด้วยกัน
หลักการสาคัญตามแนวคิดของปรัชญาการศึกษา
สารัตถนิยม

หัวใจสาคัญของการศึกษา คือ การเรียนรูเ้ นื้ อหาวิชามาเชื่อมโยงกัน
การศึกษาช่วยให้เอกัตบุคคลตระหนักในศักยภาพของตน ความรูแ้ ละ
ประสบการณ์ที่เป็ นมรดกตกทอดเป็ นสิ่งที่ดีงามและถูกต้อง เน้น
ความสาคัญของ “ประสบการณ์ของเชื้ อชาติ”
 โรงเรียนควรรักษาวิธีการดั้งเดิมที่ใช้ระเบียบวินัยและการอบรมจิตใจ
เป็ นสิ่งที่ส่งเสริมการเรียนรู ้ การสอนเด็กให้เกิดการเรียนรู ้ ควรสอน
ให้เข้าใจในสาระสาคัญ แม้วา่ จะต้องมีการปรับให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของเด็ก
ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม
(Essentialism)

พวกสารนิ ยมจึงสนับสนุ น The Three R’s (3 R ‘s) คือ
การอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็ น ความเชื่อตามปรัชญานี้
ผูเ้ รียน คือ ดวงจิตเล็ก ๆ และประกอบด้วยระบบประสาทสัมผัส
ครูคือต้นแบบที่ดีที่มีความรูจ้ ึงจาเป็ นต้องทาหน้าที่อบรมสัง่ สอน
นักเรียนโดยการแสดงการสาธิต หรือเป็ นนักสาธิตให้ผเู้ รียนได้
เรียนรูแ้ ละเห็นอย่างจริงจัง
ปรัชญาสาขาสารนิยมหรือลัทธิสารัตถนิยม
(Essentialism)

สาหรับหลักสูตรการศึกษาตามแนวคิดนี้ ประกอบด้วย ความรู ้
ความจริง การแสดงความรูโ้ ดยเน้นให้ผเู้ รียนแสวงหาข้อมูล
ข้อเท็จจริง การสรุปองค์ความรูจ้ ากข้อมูลและข้อเท็จจริง ทักษะ
เจตคติ ค่านิ ยม วัฒนธรรม เนื้ อหาวิชาสาระที่เกี่ยวกับจิต เช่น
วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา และส่วนที่เกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์น้ันก็มีวชิ าที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์กายภาพ
คณิตศาสตร์ เป็ นต้น
หลักการศึกษาของปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม

ธรรมชาติของการเรียน คือ งานหนัก และไม่มุง่ หวังจะนาไปใช้
ทันที ฉะนั้น กระบวนการเรียนรูต้ อ้ งผ่านจิต โดยญาณและแรง
บันดาลใจ
 การริเริ่มทางการศึกษาควรอยูท
่ ี่ครูมากกว่าอยูท่ ี่นักเรียน
หลักการศึกษาของปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม

หัวใจสาคัญของกระบวนการทางการศึกษา คือ การนา
เนื้ อหาวิชาที่เลือกสรรมาเชื่อมโยงประสานกัน สาระสาคัญของ
ความรู ้ คือ วิชาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ และความรูป้ ั จจุบนั เน้น
ปริมาณความรูเ้ ป็ นสาคัญ
 โรงเรียนควรรักษาไว้ซึ่งวิธีจด
ั การเรียนรูโ้ ดยใช้ระเบียบวินัยและ
การฝึ กฝนทางสติปัญญา
สรุปแนวคิดปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม

มุ่งเพื่ออนุรกั ษ์ และสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่ดีงาม
ของสังคมไทยให้แก่คนรุน่ หลัง
 หลักสูตรประกอบด้วยเนื้ อหาสาระ การฝึ กฝนทักษะ
ค่านิยม ความเชื่อ และความรูพ้ ้ นฐานของสั
ื
งคม
 ผูส
้ อนเป็ นผูก้ าหนดตัดสิน คัดเลือกสิ่งที่เห็นว่าผูเ้ รียนควร
จะเรียน ผูเ้ รียนจะเป็ นผูร้ บั ผูฟ้ ั ง ฝึ กฝนตนเองให้เกิด
ความเข้าใจ และเชี่ยวชาญในสิ่งที่เรียน
สรุปแนวคิดปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม

การเรียนการสอนใช้วิธีการเรียนรูจ้ ากครูและตารา
 เน้นการบรรยาย ซักถามเพื่อให้เกิดความเข้าใจเนื้ อหา
มากกว่าแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน
ปรัชญาสาขาสัจวิทยานิยม หรือ นิรนั ตรนิยม
(Perenialism)
มีรากฐานมาจากแนวคิดของ Plato ส่วนหนึ่ งแต่ส่วนใหญ่มาจาก
แนวคิดฝ่ ายวัตถุนิยมแบบคลาสสิก (classic realism) ของ
Aristotle และโทมัสนิ ยมของ Saint Thomas Aquinas
ผูน้ าทางความคิด แนวคิดและความเชื่อ
 แนวความคิดหลักทางการศึกษาของสัจวิทยานิ ยม เชื่อว่า
หลักการของความรูจ้ ะต้องมีลกั ษณะจีรงั ยัง่ ยืนอย่างแท้จริง
(perenial มีความหมายถึง ความคงที่ ความไม่เปลี่ยนแปลง)
ควรได้รบั การอนุ รกั ษ์ สืบสานและถ่ายทอดให้แก่คนรุ่นหลังต่อไป

ปรัชญาสาขาสัจวิทยานิยม หรือ นิรนั ตรนิยม
(Perenialism)

เพลโต กล่าวว่าโลกที่เราอยูน่ ี้ ไม่ใช่โลกที่แท้จริง ดังนั้นความรูท้ ี่
ได้จากโลกนี้ จึงเป็ นความรูท้ ี่เป็ นจริงสูงสุดไม่ได้ ความรูอ้ ยูท่ ี่จิต
มนุ ษย์ในการเข้าใจความจริงสูงสุดได้ ความจริงสูงสุด คือ มโน
มติ (Ideas) อริสโตเติล เห็นว่าทุกสิ่งอย่างในโลกมี 2 ส่วน
คือ รูปและสาระและมีความเป็ นนิ รนั ดร์ ทั้งเพลโตและ
อริสโตเติล เห็นตรงกันว่าจิตหรือปั ญญาของมนุ ษย์เข้าถึงความ
จริงแท้สงู สุดได้ และความรูไ้ ด้มาจากเหตุผลมากกว่าจาก
ประสาทสัมผัส
ปรัชญาสาขาสัจวิทยานิยม หรือ นิรนั ตรนิยม
(Perenialism)
หลักการสาคัญของปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม มี 6 ประการ
คือ
 แม้สภาพแวดล้อมจะต่างกัน แต่ธรรมชาติของมนุ ษย์ยอ
่ม
เหมือนกันในทุกแห่งหน การศึกษาจึงควรเป็ นอย่างเดียวกัน
สาหรับทุกคน คือ เพื่อพัฒนาคนให้เป็ นคนที่สมบูรณ์
ปรัชญาสาขาสัจวิทยานิยม หรือ นิรนั ตรนิยม
(Perenialism)
หลักการสาคัญของปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม มี 6 ประการ
คือ
 คุณลักษณะสูงสุดของมนุ ษย์ คือ ความมีเหตุผล
(rationality) ดังนั้น มนุ ษย์ ต้องใช้ความมีเหตุผลคอย
ควบคุมสัญชาตญาณตามธรรมชาติที่เป็ นอานาจฝ่ ายตา่ ของตน
เพื่อนาไปสู่จุดมุง่ หมายของชีวติ ที่ได้เลือกสรรแล้ว
ปรัชญาสาขาสัจวิทยานิยม หรือ นิรนั ตรนิยม
(Perenialism)
หลักการสาคัญของปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม มี 6
ประการ คือ
 หน้าที่ของการศึกษา คือ การแสวงหาและการนามาซึ่งความ
จริงอันเป็ นนิ รนั ดร การศึกษาควรหาทางให้ผเู้ รียนปรับตัวให้
เข้ากับความจริง มิใช่ให้ปรับตัวเข้ากับสังคม
ปรัชญาสาขาสัจวิทยานิยม หรือ นิรนั ตรนิยม
(Perenialism)

หลักการสาคัญของปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม มี 6
ประการ คือ
 การศึกษามิใช่การเลียนแบบอย่างชีวต
ิ แต่เป็ นการเตรียมตัว
เพื่อชีวติ
 นั กเรียนควรเรียนรูว้ ช
ิ าพื้ นฐานบางวิชาเพื่อให้เข้าใจและ
คุน้ เคยกับสิ่งที่คงทนถาวรของโลก วิชาที่ควรเรียน คือ วิชา
ภาษาประจาชาติ ปรัชญา และวิจิตรศิลป์ ศาสนา วรรณคดี
ปรัชญาสาขาสัจวิทยานิยม หรือ นิรนั ตรนิยม
(Perenialism)

ด้านการเรียนการสอนนั้น จุดเน้นอยูท่ ี่กิจกรรมซึ่งจัดเพือ่ การ
ฝึ กและควบคุมจิตเนื้ อหาสาระที่มาจากธรรมชาติในรูปของ
สาขาวิชาการและความสามารถทางจิต เช่น เนื้ อหาของ
คณิตศาสตร์ ภาษา ตรรกวิทยา วรรณกรรมชิ้ นเอก และลัทธิ
คาสอน จะต้องนามาศึกษาและเรียนรู ้ วิธีการสอน ได้แก่ การ
ฝึ กฝนทางปั ญญา เช่น การอ่าน การเขียน การฝึ กทักษะ การ
ท่องจา และการคานวณ ฝึ กฝนสติปัญญา โดยการเรียนรู ้
ไวยากรณ์ ตรรกวิทยา และวาทศิลป์
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

พิพฒ
ั นาการ หรือ Progressive หมายถึง การ
เปลี่ยนแปลงไม่หยุดนิ่ ง การจัดการศึกษาต้องปรับปรุง
ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง จึงได้เชื่อว่า
“แนวทางแห่งความมีอิสระเสรีที่จะนาไปสู่การ
เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง วัฒนธรรมและสังคม”
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

แนวคิดและความเชื่อของปรัชญาพิพฒ
ั นาการนิ ยม หรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิ ยม โดยมีความเชื่อว่า นักเรียนเป็ นบุคคลที่มี
ทักษะพร้อมที่จะปฏิบตั ิงานได้ ครูน้ันเป็ นผูน้ าทางในด้านการ
ทดลองและวิจยั หลักสูตรเป็ นเนื้ อหาสาระที่เกี่ยวกับ
ประสบการณ์ต่าง ๆ ของสังคม
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

พิพฒ
ั นาการนิ ยมเป็ นปรัชญาการศึกษาในปั จจุบนั ของอเมริกา
เริ่มขึ้ นในปี ค.ศ. 1925 เป็ นทัศนะทางการศึกษาที่มีอิทธิพล
มากที่สุดในอเมริกา รุสโซ (Jean Jacques Rousseau)
เป็ นบุคคลแรกที่หนั มาให้ความสาคัญต่อการพัฒนาการของเด็ก
รุสโซเชื่อว่า การศึกษาจะช่วยพัฒนาเด็กไปในทางที่ดีได้
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)
ระหว่างปี ค.ศ. 1746 – 1827 มีนักการศึกษาชาวสวีเดน
ชื่อ เพสตาโลสซี (Johann Heinrich Pestalozzi)
มีแนวคิดว่า การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ดังนั้ น
การที่จะยึดอะไรเป็ นหลัก ไม่วา่ จะเป็ นด้านความรู ้ หรือ
ความเชื่อย่อมเป็ นการถ่วงพัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลง
ของเด็ก เพสตาโลสซีจึงเป็ นอีกบุคคลที่เน้นพัฒนาการของ
ผูเ้ รียน
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ได้ศึกษาเพิ่มเติมในต้น
คริสต์ศตวรรษที่ 20 หลักปรัชญาของ ดิวอี้ คือ แทนที่จะเน้น
การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็ นเลิศทางสติปัญญาของผูเ้ รียน ดิวอี้
หันมาเน้นใช้การศึกษาเป็ นเครื่องมือในการพัฒนาตัวผูเ้ รียนแทน
โดยเน้นว่า ผูเ้ รียนควรมีความเข้าใจและตระหนักในตนเอง
(self – realization) ในการที่คนจะพัฒนาไปได้น้ัน จะต้องรู ้
ก่อนว่าจะพัฒนาไปสู่จุดใด ผูเ้ รียนควรมีส่วนร่วมในการจัดทิศทาง
ของการพัฒนาตนเอง จากความสนใจ ปั ญหาของตนเอง ทาให้เกิด
การสอนแบบเน้นผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)
เกิดวิธีการเรียนแบบแก้ปัญหา (problem solving)
หรือเรียนด้วยการปฏิบตั ิ (learning by doing)
และจากหลักการที่ว่า การพัฒนา คือ การเปลี่ยนแปลง
คนเราจะหยุดพัฒนาไม่ได้ ดังนั้น การเรียนรูข้ องคนเราจึง
มิได้หยุดอยูแ่ ต่ในโรงเรียนเท่านั้น แต่จะดาเนินไปตลอด
ชีวิตของผูเ้ รียน ทาให้เกิดความเชื่อว่า การศึกษาคือชีวิต
(Education is life)
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)
ทฤษฎีการศึกษาพิพฒ
ั นาการซึ่งได้เป็ นว่า
“หนทางก้าวหน้าไปสูก่ ารเปลี่ยนแปลงสังคม
และวัฒนธรรม” (Progressive road to
culture)
มีหลักการสาคัญ 6 ประการ คือ
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

การศึกษา คือ ชีวิต ไม่ใช่การเตรียมตัวเพื่อการดาเนิน
ชีวิต หมายความว่า โรงเรียนควรเป็ นแบบจาลองของสังคมที่
ช่วยให้เด็กมีประสบการณ์ทางสังคมเสมือนหนึ่ งดาเนิ นชีวติ
จริง โรงเรียนมีสภาพเป็ นสังคมย่อยในสังคมใหญ่ เป็ นแหล่ง
จัดประสบการณ์ให้ผเู้ รียนมีประสบการณ์ ให้ดารงตนอยูใ่ น
สังคมได้ เด็กควรเรียนรูส้ ิ่งที่เหมาะสมกับวัย
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

การศึกษาควรจะจัดให้สอดคล้องกับความสนใจของ
ผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลางของการศึกษา มุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มี
ความเจริญงอกงามรอบด้าน ทั้งด้านอารมณ์ สังคม ร่างกาย
และจิตใจ โดยถือว่า การศึกษา คือความเจริญงอกงาม
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

ความเจริญงอกงามตามความหมายของทฤษฎีพิพฒ
ั นา-การ
หมายถึง การเพิ่มพูนความเฉลียวฉลาดและสติปัญญาเพื่อ
การดาเนิ นชีวติ โรงเรียนต้องจัดการศึกษาโดยยึดเด็กเป็ น
ศูนย์กลาง (child – centered) ซึ่งเป็ นกระบวนการ
เรียนรูท้ ี่ตอบสนองความสนใจของเด็กแต่ละคน
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

การเรียนรูโ้ ดยวิธีการแก้ปัญหา มีความสาคัญมากกว่า
เรียนโดยวิธีทอ่ งจาเนื้อหา การเรียนรูโ้ ดยวิธีแก้ปัญหา
มากกว่าการสอนเนื้ อหาวิชา ทฤษฎีนี้เชื่อว่า ความรูเ้ ป็ น
เครื่องมือสาหรับการแสวงหาประสบการณ์ (knowledge
is a means to experience) และวิธีการที่ถกู ต้องใน
การให้ประสบการณ์แก่เด็ก คือ วิธีเรียนรูโ้ ดยการแก้ปัญหา
(problem –solving approach)
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

บทบาทของครูควรจะเป็ นที่ปรึกษา ไม่ใช่เป็ นผูบ้ งการ
หรือออกคาสั ่ง บทบาทของครูเป็ นไปในทางแนะนาให้
คาปรึกษาเพื่อให้ผเู้ รียนได้จดั ทากิจกรรมและมีประสบการณ์
ที่เหมาะสม โดยผูเ้ รียนจึงเป็ นผูก้ าหนดความต้องการ
แผนการเรียน เมื่อครูทราบความต้องการของผูเ้ รียนแล้ว
ก็จะเป็ นผูใ้ ห้คาปรึกษาแนะนาให้ผเู้ รียนกระทาตามที่ตอ้ งการ
อย่างได้ผล
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

โรงเรียนควรส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน
กัน มนุ ษย์มีธรรมชาติที่ไม่ชอบอยูโ่ ดดเดี่ยว ชอบอยู่เป็ นหมูค่ ณะ
ที่เรียกว่า สังคม ความพอใจสูงสุดของมนุ ษย์เกิดจากการได้มี
ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และพึ่งพาซึ่งกันและกัน ดังนั้น ความรัก
การช่วยเหลือเกื้ อกูลซึ่งกันและกัน จึงเหมาะสมกว่าการแข่งขัน
กัน เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ส่วนตนและถ้าโรงเรียนจะ
ส่งเสริมให้เด็กแข่งขันกันก็ควรส่งเสริมการแข่งขันทีม่ ุง่ เพื่อ
สร้างสรรค์คุณค่าที่ดีงามเท่านั้น
ปรัชญาสาขาพิพฒ
ั นาการนิยมหรือปรัชญา
วิวฒ
ั นาการนิยม (Progressivism)

วิถีชีวิตและค่านิยมประชาธิปไตย คือ สิ่งที่จะส่งเสริมให้
เกิดความสัมพันธ์กนั อย่างเสรีท้งั ทางความคิดและบุคลิกภาพ
และจาเป็ นสาหรับพัฒนาการที่ถกู ต้อง ในที่นี้ประชาธิปไตย
นั้น ต้องทาโรงเรียนให้เป็ นประชาธิปไตยเสียก่อน เช่น
ส่งเสริมให้นักเรียนปกครองตนเอง ส่งเสริมการอภิปรายและ
แสดงความคิดเห็นอย่างเสรี ครูและนักเรียนวางแผนร่วมกัน
ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในประสบการณ์ทางการศึกษาอย่าง
เต็มที่ และไม่ปลูกฝังเสรี (introduction) ให้แก่นักเรียน
ปรัชญาสาขาปฏิรูปนิยม
(Reconstructionism)

ปฏิรปู หรือ Reconstruct หมายถึง การบูรณะหรือการ
สร้างขึ้ นใหม่ ปฏิรปู นิ ยมจึงมุง่ การปฏิรปู สังคม ขึ้ นมาใหม่
เพราะถือว่าสังคมในปั จจุบนั มีปัญหา ทั้งด้านเศรษฐกิจ
การเมือง สังคม และศิลปวัฒนธรรมเป็ นเหตุตอ้ งแก้ปัญหาอยู่
เรื่อย ๆ จึงต้องหาทางสร้างค่านิ ยมและแบบแผนของสังคมขึ้ น
ใหม่
ปรัชญาสาขาปฏิรูปนิยม
(Reconstructionism)

แนวคิดและความเชื่อของปรัชญาการศึกษาสาขาปฏิรปู นิ ยม
มีความเชื่อพื้ นฐานเกี่ยวกับผูเ้ รียน ครู หลักสูตร กระบวนการ
เรียนการสอน ตลอดทั้งลักษณะของการจัดการศึกษาเหมือนกับ
ประชาการศึกษาสาขาพิพฒ
ั นาการนิ ยมเว้นแต่ในเป้าหมายของ
สังคมเท่านั้นที่แตกต่าง
 เนื้ อหาวิชาและประสบการณ์ที่เลือกมาบรรจุในหลักสูตรจะ
เกี่ยวกับสภาพและทัศนคติที่จะออกไปปฏิรปู สังคมให้ดีขึ้น
ปรัชญาสาขาปฏิรูปนิยม
(Reconstructionism)
การจัดตารางสอนเป็ นแบบยืดหยุน่ (flexible
schedule) สาหรับการบรรยายนาของครู การศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเองและการอภิปราย
 การประเมินผลมุง
่ เน้นการวัดผลทางด้านความรู ้ พัฒนาการ
ของผูเ้ รียนและทัศนคติเกี่ยวกับสังคม

ปรัชญาสาขาปฏิรูปนิยม
(Reconstructionism)

ตัวอย่างของหลักสูตรแบบนี้ ได้แก่ หลักสูตรเพื่อชีวติ และ
สังคม (Social Process and Life Function
Curriculum)
และหลักสูตรแบบแกน (Core Curriculum)
ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนิยม หรือปรัชญาสวภาพ
นิยม (Existentialism)

อัตถิภาวนิ ยม มาจากภาษามคธ
อัต = ความเป็ นอยู่ + ภาวะ = สภาพความมีอยู่ (Existense)
นักปรัชญาไทยแปลว่า ภาววาท หรืออัตตนิ ยม หมายถึง เรื่องที่
กล่าวความมีอยูข่ องตนเอง ของมนุ ษย์ท้งั สิ้ น
เมื่อเลือกกระทาหรือตัดสินใจแล้วก็ตอ้ งรับผิดชอบในการเลือก
กระทาหรือตัดสินใจนั้น ๆ ด้วย
 ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิ ยม “เป็ นแนวทางที่นาไปสู่การ
หลุดพ้นจากกรอบแห่งวัฒนธรรมของสังคม”
ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนิยม หรือปรัชญาสวภาพ
นิยม (Existentialism)

แนวคิดและความเชื่อ ปรัชญาสาขานี้ แพร่หลายในปลาย
คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยมีเคอคการ์ด (Soren
Kierkegard) เป็ นผูร้ ิเริ่ม และสาตร์ (Jean Paul
Sartre) ได้เผยแพร่ต่อมาจนถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 20
พวกอัตถิภาวนิ ยมมีความเชื่อว่า เป้าหมายของสังคมนั้นต้องมี
ความมุ่งมั ่นที่จะพัฒนาให้คนเรามีอิสรภาพ และมีความ
รับผิดชอบและสิ่งนี้จะเกิดขึ้นได้ก็ตอ่ เมื่อเราพยายามเปิ ด
โอกาสหรือยอมให้ผเู ้ รียนมีสิทธิเสรีภาพที่จะเป็ นผูเ้ ลือกเอง
ครูเป็ นเพียงผูก้ ระตุน้
ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนิยม หรือปรัชญาสวภาพ
นิยม (Existentialism)

หลักสูตรประกอบด้วยเนื้ อหาสาระทุกสาขาวิชาเพื่อเปิ ด
โอกาสให้ผเู้ รียนได้เลือกตามความถนัดและความสนใจของ
ตนเอง
 ปรัชญานี้ มีความเชื่อว่า ธรรมชาติของคนก็ดี สภาพแวดล้อม
ทางสังคมก็ดีเป็ นสิ่งที่ไม่ตายตัว คนแต่ละคนสามารถกาหนด
ชีวติ ของตนเองได้ เพราะมีอิสระในการเลือกทุกสิ่งทุกอย่างไม่
อยูค่ งที่แต่เปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ
ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนิยม หรือปรัชญาสวภาพ
นิยม (Existentialism)
แนวคิดในการจัดการศึกษา
 โรงเรียนเป็ นแหล่งพัฒนาเสรีภาพของเอกัตบุคคล สร้างคนให้
เป็ นตัวของตัวเอง มีโอกาสเลือกและรูจ้ กั เลือกโดยอิสระ
(free choice)
 หลักสูตรมีความยืดหยุน
่ ไม่กาหนดตายตัว เปิ ดให้มีวชิ าเลือก
อย่างกว้างขวางที่สุด เพื่อสนองตอบความต้องการและความ
สนใจของผูเ้ รียน
ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนิยม หรือปรัชญาสวภาพ
นิยม (Existentialism)

หลักการในการสร้างให้เด็กรูจ้ กั เลือกโดยเสรี คือ
1. ฝึ กให้ผเู้ รียนมีความสามารถในการเลือก และตัดสินใจอย่าง
เป็ นอิสระ
2. ฝึ กให้ผเู้ รียนเกิดความโน้มเอียง (inclination) ที่จะเลือก
ทางใดทางหนึ่ งที่ตนได้ตดั สินใจโดยอาศัยการใคร่ครวญด้วย
เหตุผลแล้ว
ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนิยม หรือปรัชญาสวภาพ
นิยม (Existentialism)

โรงเรียนควรเน้นเรื่องศีลธรรมและจริยธรรม
 การฝึ กให้ผเู ้ รียนรูจ
้ กั ตนเอง สนใจตนเอง และเลือก
ทางเลือกของตนเอง ต้องไม่ขดั กับความสนใจของผูอ้ นื่
ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนิยม หรือปรัชญาสวภาพ
นิยม (Existentialism)

จุดมุง่ หมายของการศึกษา คือ การสร้างให้คนรูจ้ กั
ยอมรับและมีความรับผิดชอบในสิ่งที่ตนเลือกและส่งที่ตน
กระทา หมายความว่า การศึกษาจะต้องสร้างให้เด็กเป็ น
ผูม้ ีวนิ ัยในตนเอง (self – disciplined)
 เนื้ อหาวิชาจริยธรรม จะต้องไม่ต่างจากสิ่งที่ผูเ้ รียนจะถือ
ปฏิบตั ิในห้องเรียนและในชีวติ ประจาวัน
ปรัชญาวิเคราะห์
(Philosophical Analysis)

ปรัชญาวิเคราะห์เป็ นปรัชญาแนวใหม่นามาใช้ใน
ลักษณะของการวิเคราะห์ความคิดรวบยอดทาง
การศึกษา ข้อความต่าง ๆ ทางการศึกษา เช่น ความ
พยายามอธิบายว่า การสอนคืออะไร การสอนกับการ
เรียนต่างกันอย่างไร
ปรัชญาวิเคราะห์
(Philosophical Analysis)
ข
ก
ก
ข
ค
ง
ค
ง
จ
จ
ปรัชญาวิเคราะห์
(Philosophical Analysis)
ก
หมายถึง
ข
หมายถึง
ค
ง
หมายถึง
หมายถึง
จ
หมายถึง
กฎเกณฑ์พ้นื ฐาน ค่านิยมหรื อ
จุดหมายปลายทาง
ข้อเท็จจริ งต่าง ๆ ที่มาจากการสังเกต
หรื อทฤษฎีและแนวคิดต่าง ๆ
สิ่ งที่การศึกษาจะต้องทา
ข้อเท็จจริ งต่าง ๆ ที่ได้จากการสังเกต
และประสบการณ์
วิธีการจัดการเรี ยนการสอนและการบริ การ
ปรัชญาวิเคราะห์
(Philosophical Analysis)
ตัวอย่างเช่น ยอมรับกฎเกณฑ์ (ก) ตามความคิดของอริสโตเติล
ว่า ชีวติ ที่ดีเป็ นชีวติ ที่มีสุข และอริสโตเติลได้เสนอแนวคิดซึ่งเป็ น
ข้อเท็จจริง (ข) ว่า ถ้าจะให้คนมีชีวติ ที่ดีแล้วจาเป็ นจะต้องให้เขา
ได้มีความรู ้ ความเฉลียวฉลาดจากการศึกษา วิชาคณิตศาสตร์
ฟิ สิกส์ และปรัชญา ต่อจากนั้นในขั้นต่อไปเราก็พิจารณา (ง) ว่า
ในสภาพความเป็ นจริงแล้วการให้ความรูเ้ กี่ยวกับคณิตศาสตร์
ฟิ สิกส์และปรัชญาควรจะดาเนิ นการอย่างไร ในที่สุดเราก็จะได้
แนวทางในการจัดการเรียนการสอน (จ) ตามต้องการ
พุทธปรัชญา (Buddhism)
พุทธปรัชญาการศึกษา มาจากคาว่า Buddhishic
Philosophy of Education ซึ่งได้แนวคิดมาจาก
พระพุทธศาสนา (Buddhism) จากพระธรรมคาสอนของ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และปรัชญาการศึกษาอื่นๆ
 การศึกษาในพุทธปรัชญา คือ การศึกษาเพื่อให้เข้าใจความจริง
เข้าใจความหมายของชีวติ ทั้งดารงชีวติ ให้สอดคล้องสัมพันธ์กบั
ความจริง

พุทธปรัชญา (Buddhism)

พุทธปรัชญา ได้นาหลักเหตุและผลไปวิเคราะห์และอธิบายความ
จริงและความเป็ นไปของสิ่งทั้งหลายในโลก ได้ชี้แนะให้ทราบว่า
อะไรคือความเป็ นเลิศ หรือความดีที่พึ่งปรารถนาในชีวติ และจะ
ศึกษาปฏิบตั ิให้เป็ นผลได้อย่างไร
พุทธปรัชญา หมายถึง ความรูอ้ นั ประเสริฐที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู ้
แล้วหรือพุทธธรรม
พุทธปรัชญา (Buddhism)
พุทธปรัชญาการศึกษา คือ การพัฒนาขันธ์ 5 เพื่อให้
ความโง่เขลาของผูเ้ รียนลดน้อยลงและหมดไปในที่สุด และ
ให้อยูใ่ นสังคมอย่างเป็ นคนเก่ง คนดี และคนมีความสุขใน
โลกปั จจุบนั และอนาคต
พุทธปรัชญา (Buddhism)

หลักการศึกษาที่ใช้พุทธปรัชญา
อิทธิบาท 4 คือ สิ่งซึ่งมีคุณธรรมให้บรรลุถึงความสาเร็จตามที่
ตนประสงค์ ประกอบด้วย
ฉันทะ ความพอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น
วิริยะ ความพากเพียรในสิ่งนั้น
จิตตะ ความเอาใจใส่ ฝักใฝ่ ในสิ่งนั้น
วิมงั สา ความหมัน่ สอดส่องในเหตุผลของสิ่งนั้น
พุทธปรัชญา (Buddhism)

ขั้นของอริยสัจสี่
1. ขั้นทุกข์ ชีวติ นี้ เป็ นความทุกข์อย่างยิง่
2. ขั้นสมุทยั สาเหตุใหญ่ที่ทาให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา
3. ขั้นนิ โรธ การดับทุกข์
4. ขั้นมรรค หนทางดับทุกข์
ปั ญหาท้ายเรื่อง

ปรัชญาการศึกษามีประโยชน์อย่างไร
 ท่านชอบปรัชญาการศึกษาของใคร เพราะเหตุใด
 ท่านคิดว่าปรัชญาใดเหมาะกับลักษณะของคนไทย