Transcript OTPC 2

ชุดฝึ กอบรมครู และศึกษานิเทศก์
การใช้ คอมพิวเตอร์ พกพาเพือ่ การศึกษา
หน่วยที่ ๑
ภาพอนาคตการศึกษาไทย
สู่ การศึกษาภควันตภาพ
โดย
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
ประเด็นสารกถา
ภาพอนาคตการศึกษาไทย
ร้ อยปี แห่ งการหลงทางการศึกษาไทย
แนวคิดศึกษาศาสตร์
การจัดระบบการศึกษาไทย SIPOF
Model
องค์ ประกอบและหลักการจัดการศึกษาไทย
คอมพิวเตอร์ พกพา:เครื่ องมือสู่ การศึกษาภควันตภาพ
ภาพอนาคตของการศึกษาไทย
 การมองภาพอนาคตต้ องใช้ ภาพอดีตเป็ นบทเรี ยน
เพือ่ ช่ วยนักการศึกษาไทย สามารถสร้ างภาพอนาคต
การศึกษาของชาติได้ อย่ างถูกต้ องเหมาะสม เพือ่
ป้ องกันมิให้ หลงทางพัฒนา “คนไทย” ให้ เป็ น “ฝรั่ง
หรือต่ างชาติ”
ภาพอนาคตของการศึกษาไทย
ดังนั้น เราจาเป็ นจะต้ องหาแนวทาง โดยการ
จัดระบบที่เหมาะสมกับการศึกษาตามวิถไี ทย
ผสมผสานกับความเจริญทางวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีสากลทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ อย่ างไม่ หยุดยั้ง
โดยมองความผิดพลาดจากอดีตและภาพที่อยากจะ
ในอนาคต
มองอดีต
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
 ประการที่ 1
ขาดการพัฒนาผ้ เู รี ยนให้ เป็ นประชาชนทีม่ ี
คณ
ุ ลักษณะตรงตามทีช่ ุมชนต้ องการ ในทีน่ ี้ คือเป็ นคนไทย ตาม
ความต้ องการของแต่ ละท้ องถิน่ เช่ น อยู่ภาคเหนือก็ควรเป็ นคน
ไทยทีม่ ีลกั ษณะส่ วนใหญ่ ของคนภาคเหนือ มิใช่ ถูกหล่ อหลอม
บีบเค้ น ให้ เป็ นคนกรุงเทพฯ เกาหลี ญีป่ ุ่ น หรือฝรั่งมังค่ า จนเห็น
ของ "นอก" ดีกว่ าของไทย และดูหมิ่นดูแคลนวัฒนธรรมและ
ความเป็ นไทย
มองอดีต:
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
 ประการที่ 2 โรงเรี ยนไม่ ได้ จาลองเวทีสังคมเพือ่ เปิ ดโอกาสให้
ผ้ เู รี ยนได้ ฝึกฝนทักษะชีวติ ความร้ ูและประสบการณ์ ทจี่ ะนาไปใช้
ประโยชน์ ได้ จริ ง ห้ องเรียนส่ วนใหญ่ เป็ นห้ องสอน เป็ นห้ องกักขัง
เด็กให้ ฟังครู และเชื่อตามครู โดยไม่ ได้ ฝึกฝนการแสดงความ
คิดเห็นหรือวิพากษ์ วจิ ารณ์ ผลจึงปรากฏว่ าเมื่อโตขึน้ ก็เชื่อคนง่ าย
โดยเฉพาะเชื่อฝรั่งอย่ างงมงาย ดังนั้น โรงเรียนจึงควรเชื่ อมโยง
ความรู้ จาก“หนังสื อ” ไปสู่ ชีวติ ด้ วยการจัดการเรียนการสอนที่
มุ่งประสบการณ์ มากกว่ าเนือ้ หา และอิงชุมชนมากกว่ าห้ องเรียน
มองอดีต:
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
ประการที่ 3 ขาดระบบการจัดการเรี ยนการสอนทีผ่ สมผสาน 3
รูปแบบคือ ในโรงเรี ยน นอกโรงเรี ยน และตามอัธยาศัย ระบบ
การศึกษาแยกการเรียนการสอนในโรงเรียนจากสั งคม และเชื่ออย่ าง
ฝังใจว่ า คนมีความรู้ ต้องได้ เข้ าโรงเรียน ทั้งๆ ทีบ่ างคนจบแค่ ระดับ
ประถมศึกษา แต่ สามารถทาธุรกิจเป็ นร้ อยล้ านพันล้ าน สั งคมยังก็
ตราหน้ าเขาว่ า ไม่ ได้ เรียนหนังสื ออยู่ดี ดังนั้น ต้ องจัดระบบ
การศึกษาที่ผสมผสานการเรียนทั้งในโรงเรียน นอกโรงเรียนและ
เรียนจากธรรมชาติรอบตัว ให้ มีการเทียบโอนความรู้ และ
ประสบการณ์ จากการทางานไปสู่ การศึกษาในโรงเรียนได้
มองอดีต:
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
ประการที่ 4 ไม่ ใช้ วธิ ีการสอนทีผ่ สมผสานการเรี ยน 3 แบบ คือ
 การเรี ยนทีม
่ ีครูกากับ
(Teacher Directed Learning–TDL)
 การเรี ยนทีม
่ ีเพือ่ นกากับ (Peer Directed Learning–PDL)
 การเรี ยนทีก
่ ากับตนเอง (Self–Directed Learning–SDL)
มองอดีต:
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
โรงเรียนส่ วนมากใช้ การเรียนการสอนทีม่ ีครู เป็ นศูนย์ กลาง แม้
กฎหมายการศึกษาจะเน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ แต่ ครู กแ็ ยกไม่ ออก
ระหว่ างการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ และการสอนทีย่ ดึ
ผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง นักการศึกษาบางคนก็คดิ ว่ า การเรียนการ
สอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ มีความหมายเดียวกันกับการเรียน
การสอนทีย่ ดึ ผู้เรียนศูนย์ กลาง ถ้ าเช่ นนั้นทาไม ไม่ ใช้ "ผู้เรียน
เป็ นศูนย์ กลาง" ทาไมต้ องบัญญัตคิ าใหม่ ขนึ้ มา คาว่ า ผู้เรียน
เป็ นศูนย์ กลาง มีความหมายชัดเจนในตัวอยู่แล้ ว ไม่ จาเป็ น
จะต้ องไปใช้ คาอืน่
มองอดีต:
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
ประการที่ 5 สมาชิกในชุมชนและผู้เรี ยนไม่ มีโอกาสร่ วมในการพัฒนาหลักสู ตรและการเรี ยนการ
สอน
 หลักสู ตรส่ วนใหญ่ พฒ
ั นา จาก"ห้ องเย็น"ในส่ วนกลาง แล้ วบังคับให้ ครู ที่อยู่ตามชนบท
นาไปใช้
 ส่ วนมากครู กส
็ อนตามแบบเรียน จนมีคาพูดล้ อเล่ นว่ า ครู ที่สอน ป.4 เกินสิ บปี ความรู้ ก็
จะเหลือแค่ ป.4 สะท้ อนให้ เห็นว่ า ครู ส่วนใหญ่ ไม่ ติดตามพัฒนาการของเนือ้ หาสาระ
หรือติดตามแต่ ไม่ ทันการเปลีย่ นแปลง จึงต้ องอาศัยแบบเรียนเป็ นแหล่ งความรู้ ที่จะ
นาไปสอนนักเรียน
 ดังนั้น สมาชิ กในส่ วนท้ องถิ่น ควรมีส่วนร่ วมในการพัฒนาหลักสู ตรและระบบการเรี ยน
การสอนที่สอดคล้ องกับท้ องถิ่น บทบาทของครู กต็ ้ องเปลีย่ นแปลงไป จากการเป็ น
ผู้สอนความรู้ เป็ นผู้ประสานงานและเกือ้ กูลการเรียนให้ บรรลุเป้ าหมาย
มองอดีต:
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
ประการที่ 6 ขาดการจัดการด้ านการเรี ยนร้ ูอย่ างเป็ นระบบ--ครูมักจะใช้
วิธีการสอนทีเ่ คยถูกสอนมา แม้ จะเรียนจากคณะครุศาสตร์ /ศึกษาศาสตร์
ทายสุ ดก็ใช้ วธิ ีการสอนทีต่ นเคยพบเห็นอยู่ดี ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการ
จึงควรพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน (Learning
Management System-LMS) ทีผ่ ่ านการวิจัยมาแล้ว เช่ น
แบบจาลอง POSDCARE
มองอดีต:
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
แบบจาลอง POSDCARE
ประกอบด้ วย
 กาวางแผน (Planning)
 การจัดองค์ กร (Organizing)
 การกาหนดหน้ าทีข
่ องผู้เรียน (Staffing)
 การกากับควบคุม (Directing)
 การสื่ อสาร ประสานงานและร่ วมมือ (Communicating,
Coordinating, Collaborating) กับหน่ วยต่ างๆ ในโรงเรียน เช่ น
ห้ องสมุด
 การจัดสรรทรั พยากร (Allocating of resources)
 การรายงานผล (Reporting) เช่ น รายงาน แฟ้มงาน ทะเบียนงาน ของ
นักเรียน และ
 การประเมิน (Evaluation) อย่ างครบวงจร เป็ นต้ น
มองอดีต:
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
ประการที่ 8 มีการประเมินอย่ างต่ อเนื่อง ครบวงจรทีค่ รอบคลมุ การประเมิน
ก่อนเรี ยน ระหว่ างเรี ยน และหลังเรี ยน -ครูส่วนใหญ่ ประเมินผลสุ ดท้ าย
เพียงอย่ างเดียว ไม่ ให้ ความสาคัญของการประเมิน
 ก่ อนเรี ยน (Evaluation
of Prior Learning)
 ระหว่ างเรี ยน (Evaluation of Process)
 หลังเรี ยน (Evaluation of Product)
โดยมีการเปรียบความก้ าวหน้ าระหว่ างการประเมินก่ อนเรียนและหลังเรียน
มองอดีต:
กว่ าร้ อยปี แห่ งการหลงทางของการศึกษาไทย
จากการขาดการใช้ หลักการสาคัญข้ างต้ น จึงปรากฏว่ า
นักเรียนไม่ ได้ รับการเตรียมตัวที่จะออกไปดาเนินชีวติ ใน
ท้ องถิ่นที่ตนถือกาเนิด เติบใหญ่ ดารงไว้ ซึ่งชีวติ ครอบครัว
ไม่ รักถิ่นรักที่ และไม่ สามารถนาความรู้ ทรี่ ่าเรียนไปใช้ ใน
การดาเนินชีวติ ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ.
แนวคิดเกีย่ วกับศึกษาศาสตร์
• ศึกษาศาสตร์ เป็ นศาสตร์ ที่ว่าด้ วยการถ่ ายทอดความรู้
ประสบการณ์ ทักษะความชานาญ วิชาชีพ พลานามัย
คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมจากชนรุ่นหนึ่งไป
ยังอีกรุ่นหนึ่ง
แนวคิดเกีย่ วกับศึกษาศาสตร์
ขอบข่ ายการศึกษาครอบคลุม ๕ ขอบข่ าย
l
l
l
l
l
วิทยพิสัย (Cognitive Domain)
ทักษพิสัย (Skills Domain)
จิตพิสัย (Affective Domain)
อาชีวพิสัย (Career Domain)
ชีวพิสัย (Life Skill Domain)
แนวคิดเกีย่ วกับศึกษาศาสตร์
ความหมายของคาว่ า ศึกษา และ Education
“ศึกษา (สิ กขา)” คือการศึกษาและปฏิบัตเิ พือ่ เป็ นผู้มคี วามรู้ รอบรู้
จริงและทาได้ จริง เข้ าสู่ ความเป็ นพุทธะ คือเป็ นผู้รู้ เท่ าทันสภาพที่
เป็ นจริง เป็ นผู้ตนื่ ผู้เบิกบาน และยก “ตน” เข้ าสู่ สภาวะที่ไม่ ต้อง
มารวมมวล (กายและใจ) และหลุดพ้นไปจากสภาวะแปรปรวน
แตกดับหรือเปลีย่ นแปลง (โลกียภาพ) ไปสู่ สภาวะทีไ่ ม่ แปรปรวน
ไม่ แตกดับ ไม่ เปลีย่ นแปลง ไม่ ต้องอาศัยกายและใจ (โลกุตระ)
แนวคิดเกีย่ วกับศึกษาศาสตร์
Education มากจาก Educare (Pull out)
1) ดึงสิ่ งดีของผู้เรียนออกมา ได้ แก่ ศักยภาพ ดึง
จุดดี จุด เด่ น
2) ดึงความไม่ ดี เพือ่ นามาปรับปรุง หรือขจัด
จุดอ่อน จุดไม่ ดี
องค์ ประกอบของศึกษาศาสตร์
ศึกษาศาสตร์ มีคุณสมบัติ สองประการ คือ
l เป็ นวิทยาการ (Science)
l เป็ นวิชาชีพชั้นสู ง (Profession)
ศึกษาศาสตร์ ในฐานะวิทยาการ
ในความเป็ นวิทยาการ (Science) ศึกษาศาสตร์ มี
องค์ ประกอบ 3 ประการ คือ
(1) มีศัพท์ เฉพาะศาสตร์ (Nomenclature) ซึ่งเป็ นศัพท์ ที่
ใช้ สื่อสารกันในกลุ่มสมาชิกวิชาชีพ
ศึกษาศาสตร์ ในฐานะวิทยาการ
(2) มีองค์ ความรู้ /โครงสร้ างเนือ้ หาสาระ (Body of
Knowledge/Structure of Content) ที่จาเป็ น
สาหรับการประกอบอาชีพ
ศึกษาศาสตร์ ในฐานะวิทยาการ
(3) มีวธิ ีการศึกษาค้ นคว้ า วิจัย (Mode of Inquiries)
เพือ่ ขยายพรมแดนแห่ งองค์ ความรู้ของวิทยาการ
ให้ เจริญก้าวหน้ า
ศึกษาศาสตร์ ในฐานะวิชาชีพชั้นสู ง
ในความเป็ นวิชาชีพชั้นสู ง ศึกษาศาสตร์ มีลกั ษณะเด่ น
อยู่ 8 ประการ คือ
(1) มีเสรีภาพทางวิชาการและวิชาชีพ
(2) ใช้ กระบวนการทางสติปัญญา
ศึกษาศาสตร์ ในฐานะวิชาชีพชั้นสู ง
(3) ลักษณะบริการที่ไม่ เหมือนวิชาชีพอืน่ และไม่ มีใคร
เหมือน
(4) มีการศึกษาอบรมเพือ่ ถ่ ายทอดองค์ ความรู้ ทักษะ
ความชานาญ สมรรถนะ และทัศนคติ โดยมีหลักสู ตร
และระยะเวลาที่เพียงพอ
ศึกษาศาสตร์ ในฐานะวิชาชีพชั้นสู ง
(5) มีการฝึ กงานหรือประสบการณ์ วชิ าชีพ
(6) มีใบรับรอง หรือใบอนุญาตประกอบอาชีพ
(7) มีจรรยาบรรณวิชาชีพเพือ่ ควบคุมความประพฤติ
สมาชิกวิชาชีพ
ศึกษาศาสตร์ ในฐานะวิชาชีพชั้นสู ง
(8) มีองค์ กรหรือสมาคมวิชาชีพชั้นสู ง เพือ่ กาหนด
มาตรฐานวิชาชีพ กากับควบคุมการปฏิบัตงิ าน
และความประพฤติของสมาชิก
2. การจัดระบบการศึกษา
การจัดระบบการศึกษาไม่ ว่าจะเป็ นระดับใด ต้ องดาเนินการโดยอิง
ระบบ กล่ าวคือการใช้ วธิ ีการจัดระบบ (Systems
Approach) ตามแบบจาลองที่พฒ
ั นาขึน้ ในทีน่ ีจ้ ะนาเสนอโดย
อิงแบบจาลองระบบ แบบจาลอง SIPOF Model ที่
ประกอบด้ วย บริบท (Setting-S) ปัจจัยนาเข้ า (Input-I)
กระบวนการ (Process-P) ผลลัพธ์ (Output-O) และผล
ย้ อนกลับ (Feedback-F)
บริบท
บริบท (Setting, Context or
Circumstance) หมายถึง สภาพแวดล้ อมและ
ข้ อเท็จจริงทีเ่ กีย่ วกับเหตุการณ์ สถานการณ์ สภาวะ
เงือ่ นไข รายละเอียด คุณลักษณะ และองค์ ประกอบ
ด้ านเวลา สถานที่ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถี
ชีวติ ที่เป็ นปัจจัยต่ อการปรับเปลีย่ นหรือมีอทิ ธิพลต่ อ
สมาชิกทีอ่ ยู่ในแต่ ละเหตุการณ์ หรือสถานการณ์
บริบท
การจัดการศึกษาไทย จาเป็ นต้ องศึกษาบริบทเพื่อเป็ น
พืน้ ฐานในการพัฒนาแผนการศึกษา (ระบบการศึกษา)
ที่เหมาะสมสาหรับการพัฒนาคนไทยให้ เป็ นคนไทย
ภายใต้ บริบทไทยเพือ่ ผลิตคนไทยให้ เป็ นคนไทย
2.2 ปัจจัยนาเข้ า
• ปัจจัยนาเข้ า (Input) หมายถึงวัสดุ อุปกรณ์
วิธีการ ทรัพยากร หรือสิ่ งอานวยความสะดวกที่
ใส่ เข้ าไปในระบบเพือ่ ให้ ได้ ผลลัพธ์ หรือผลผลิต
ตามทีต่ ้ องการ ครอบคลุมปัจจัยนาเข้ าด้ าน
นามธรรม และรู ปธรรม
2.2 ปัจจัยนาเข้ า
ปัจจัยนาเข้ าด้ านรู ปธรรม ได้ แก่ วสั ดุ อุปการณ์ สิ่ งอานวยความ
สะดวก และโครงสร้ างพืน้ ฐาน (วัสดุหมายถึงสิ่ งทีผ่ ุ พัง
สิ้นเปลืองได้ ง่าย ได้ แก่ กระดาษ ดินสอ วัตถุดบิ ฯลฯ)
อุปกรณ์ หมายถึง สิ่ งทีม่ คี วาม ถาวร แข็งแรง ไม่ ผุพงั ได้ ง่าย
เช่ น โต๊ ะ เก้ าอี้ เครื่องมือ ประเภทต่ างๆ สิ่ งอานวยความ
สะดวกหมายถึง สิ่ งทีช่ ่ วยให้ ระบบดาเนินไปได้ อย่ างดี ส่ วน
โครงสร้ างพืน้ ฐานได้ แก่ อาคาร สถานที่ สาธารณูปโภค
(ไฟฟ้ า ประปา โทรศัพท์ )
2.2 ปัจจัยนาเข้ า
ปัจจัยนาเข้ าด้ านนามธรรม ได้ แก่ อุดมการณ์ (ปรัชญา
ปณิธาน วิสัยทัศน์ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย และนโยบาย) และ
วิธีการ (ระบบ กระบวนการ วิธีการ หรือเทคโนโลยีที่จะเป็ น
ในกระบวนการผลิต) และการวางแผนเพือ่ ให้ พร้ อมสาหรับ
กระบวนการผลิตหรือการดาเนินงาน
2.3 กระบวนการ
กระบวนการ (Process) เป็ นขั้นตอน การ
ดาเนินการ หรือการเปลีย่ นแปลงอย่างเป็ นระบบเพือ่
ทาให้ ได้ รับผลลัพธ์ ที่ต้องการ
2.3 กระบวนการ
• กระบวนการทีท่ างานโดยใช้ เวลาและวัตถุดบิ และ
ได้ ผลลัพธ์ ทมี่ ีคุณภาพ ถือเป็ นกระบวนการทีม่ ี
ประสิ ทธิภาพ (Process Efficiency)
2.3 กระบวนการ
• ในการจัดการศึกษามีกระบวนการประกอบด้ วยการ
พัฒนาระบบการศึกษา เรียกว่ า แผนการศึกษา การ
พัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานตามกาหนดไว้ ในขั้นปัจจัย
นาเข้ า การพัฒนาหลักสู ตร การพัฒนาระบบการสอน
การพัฒนาสื่ อการเรียนการสอน การพัฒนา
สภาพแวดล้ อมการเรียนการสอน และการพัฒนา
บุคลากร
2.3 กระบวนการ
 ในแต่ ละกระบวนการหรื อขั้นตอนจาเป็ นจะต้ องมีการ
กาหนดขั้นตอนย่ อยตามลาดับขั้น เรียกว่ า วิธีการ เพือ่
ขับเคลือ่ นกระบวนการให้ ดาเนินไปได้ แต่ ละวิธีการก็
มีข้นั ตอนย่ อยเรียกว่ า เทคนิค เช่ น ในการพัฒนาระบบ
การสอน จาเป็ นต้ องมีการออกแบบการสอน
(Instructional design) การดาเนินการสอน
ตามลาดับขั้น เป็ นต้ น
2.4 ผลลัพธ์
ผลลัพธ์ (Output) เป็ นผลผลิตที่เกิดจาก
กระบวนการ ในรูปวัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์
งาน พลังงาน ชิ้นงาน ความรู้สึก ความสนใจ ทักษะ
ความชานาญ ฯลฯ
2.4 ผลลัพธ์
ผลลัพธ์ ที่เป็ นไปเป้าหมายที่กาหนดไว้ เรียกว่ า ประสิ ทธิผล
(Product Effectiveness)
ผลลัพธ์ จาแนกเป็ น 5 ประเภท คือ ผลดี (ผลที่เป็ นไปตามแผนหรือ
ความคาดหวัง) ผลพลอยได้ (ผลที่เกิดจากวัสดุเหลือ เศษ หรือ
ส่ วนเกิน) ผลเสี ย (ผลที่ได้ ไม่ เป็ นไปตามที่คาดหวัง) ผลที่ไม่ คาด
ฝัน (ผลที่ไม่ ได้ วางแผนไว้ หรือไม่ คาดคิดว่ าจะเกิดขึน้ และ
ผลกระทบ (ผลที่เกิดผลลัพธ์ ท้งั บวกและลบที่มผี ลต่ อบริบทและ
ผู้เกีย่ วข้ องกับระบบ)
2.5 ผลย้ อนกลับ
ผลย้ อนกลับ (Feedback) เป็ นปฏิกริ ิยาหรือ
การตอบสนองต่ อผลลัพธ์ ของกระบวนการและ
การประเมินเพือ่ ไปใช้ ในการควบคุมกระบวนการ
ให้ ดาเนินไปอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
2.5 ผลย้ อนกลับ
การหาผลย้ อนกลับต้ องมีกลไก เครื่องมือและ
วิธีการรับข้ อมูลทีต่ รงไปตรงมา และมี
เครื่องมือวิเคราะห์ ตีความและสรุปผลเพือ่
นาผลทีไ่ ด้ ไปปรับปรุง ปรับเปลีย่ นและ
ควบคุมระบบทางานดียงิ่ ๆ ขึน้
2.5 ผลย้ อนกลับ
• จากองค์ ประกอบระบบทั้ง 5 ประกอบกันเป็ น
SIPOF Model ผู้พฒ
ั นาระบบการศึกษา จะ
สามารถสร้ างภาพการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทและ
ความต้ องการของประเทศไทยเพือ่ ให้ สามารถผลิต
ประชากรให้ มีคุณภาพดัง่ ทีเ่ คยยิง่ ใหญ่ ในอดีตเมื่อกว่ า
แปดพันปี มาแล้ ว
2.5 ผลย้ อนกลับ
• การนาระบบการศึกษาจากต่ างประเทศโดยกระบวนการล้ าง
สมอง ปลูกฝังลัทธิความเชื่อ ค่ านิยม และคุณธรรมที่
เบี่ยงเบนไปจากวิถีไทยโดยผ่ านนักเรียนนอกทีน่ า
วัฒนธรรมและค่ านิยมตะวันตก มาครอบงาวิถีไทยจะสร้ าง
ความหายนะต่ อความเป็ นไทยเกินจะกู้กลับได้ ดังนั้นนักการ
ศึกษาจึงควรสร้ างภาพอนาคตทีค่ านึงถึงหลักการ ระบบและ
องค์ ประกอบที่จะพัฒนาประเทศไทยได้ อย่ างจริงจัง
3. หลักการจัดการศึกษาไทยในอนาคต
การจัดการศึกษาไทยในอนาคตพึงยึดหลักการพืน้ ฐาน
10 ประการ (ทศลักษณะ)
3.1
หลักการผลิตมนุษย์ สมบูรณ์ แบบ
หลักการผลิตมนุษย์ สมบูรณ์ แบบ (Perfect Man)
เป็ นการจัดการศึกษาเพือ่ ผลิตประชาชนทีเ่ ป็ นคนไทย
อย่ างสมบูรณ์ คือเป็ นผู้มใี จสู ง ไม่ ใช่ เป็ นคนไทยแต่ ขาด
สานึกในความเป็ นไทย เห็นคุณค่ าศาสตร์ วิทยาการ
วัฒนธรรมและวิถีชีวติ ไทยดีกว่ าของต่ างชาติการศึกษา
คือ การทาคนให้ เป็ นมนษุ ย์ คือ ผ้ มู ีใจสูง
มิใช่ ทาคนให้ เป็ นคน
3.2 หลักความพอเพียงในการดาเนินชี วต
ิ
หลักความพอเพียงในการดาเนินชีวิต (SelfSufficiency) เป็ นจัดการศึกษาที่เน้ นการ
ดารงชีวติ บนพืน้ ฐานความพอเพียง มุ่งความอยู่เย็น
เป็ นสุ ข มากกว่ าการดารงชีวติ ทีแ่ ข่ งขันความ
ฟุ้ งเฟ้ อ ฟุ่ มเฟื อย
3.3 หลักการเสริมสร้ างลักษณะความเป็ นไทย
หลักการเสริ มสร้ างลักษณะความเป็ นไทย (Thai
Uniqueness) เป็ นจัดการศึกษาที่ส่งเสริมลักษณะไทยโดย
ผสมผสาน เปลีย่ นผ่ านและต่ อยอดประสบการณ์ เรียกว่ า
ประสบการณ์ อภิวตั น์ (Transformative Education)
3.3 หลักการเสริมสร้ างลักษณะความเป็ นไทย
ประสบการณ์ อภิวตั น์ (Transformative Education)
เน้ นศึกษาที่ยดึ ประสบการณ์ เป็ นแกน (Centrality of
Experience) วิเคราะห์ ใคร่ ครวญ (Critical
Reflection) และเสวนา (Rational Discourse)
นาไปสู่ การเรียนทีล่ ่ มุ ลึก (Deep learning) และ
พัฒนาการคิดอย่ างเป็ นอิสระ (Autonomous
Thinking)
3.3 หลักการเสริมสร้ างลักษณะความเป็ นไทย
การพัฒนาการคิดอย่ างเป็ นอิสระ (Autonomous
Thinking) ต้ องผ่ านกระบวนการสร้ างองค์ ความรู้
(Construing) ตรวจสอบ (Validating) และ
ปรับ/ตีความหมาย (Reformulating) เพือ่ ค้ นหา
ความหมายของประสบการณ์ ที่ได้ รับใหม่ หรือสิ่ งที่เรียน บน
พืน้ ฐานจุดมุ่งหมาย การตัดสิ นใจ ความเชื่อ ความรู้ สึกและ
ค่ านิยมเป็ นของผู้เรียนเองโดยปราศจากการถูกครอบงาอย่ าง
ไร้ เหตุผลจากปัจจัยภายนอก
3.4 หลักการจัดสมดุลความเชื่อตามวิถไี ทย
หลักการจัดสมดุลความเชื่อตามวิถไี ทย (Balancing
Spiritualism and Materialism) เป็ นจัด
การศึกษาเพือ่ สร้ างสมดุลความเชื่อทางจิตนิยมและวัตถุ
นิยม และมุ่งความรู้ ควบคู่คุณธรรม ไม่ งมงายฝ่ ายวัตถุนิยม
ทีเ่ ชื่อสิ่ งทีต่ นสั มผัสได้ ด้วยหู ตา จมูก ลิน้ และสั มผัส หรือ
งมงายสิ่ งทีม่ องไม่ เห็นโดยไม่ สามารถอธิบายทีม่ าทีไ่ ปได้
3.5
หลักการจัดสมดุลการดาเนินชีวติ
แบบดั้งเดิมและแบบใหม่
หลักการจัดสมดุลการดาเนินชีวิตแบบดัง้ เดิมและแบบใหม่
(Balancing Traditional and Modern
Ways of Life) เป็ นจัดการศึกษาทีส่ ่ งเสริม การดาเนิน
วิถีชีวติ ของสมาชิกสั งคมไทยแนวดั้งเดิม กับแนวใหม่ เพือ่
เป็ นภูมคิ ุ้มกันและธารงแก่ นแท้ ความเป็ นไทย มิให้
แปรเปลีย่ นหลงใหลกับวิถีชีวติ ต่ างชาติดูถูกดูแดลนความ
เป็ นไทยและวิถีไทย
3.6 หลักการพัฒนาเนือ้ หาสาระไทย
หลักการพัฒนาเนื้อหาสาระไทย (Thai ContentBased Curriculum) เป็ นการพัฒนาหลักสู ตร
ทีเ่ น้ นองค์ ความรู้ทอี งิ “วิถีไทย” บนพืน้ ฐานของ
ศาสตร์ และวิทยาการ ทีเ่ ป็ นภูมิปัญญาไทย หลักสู ตร
ต้ องปรับเปลีย่ นจากหลักสู ตรแบบอิงเนือ้ หาสาระเป็ น
หลักสู ตรแบบอิงประสบการณ์ ทีม่ ่ ุงให้ ทาเป็ นทาได้
มากกว่ า การ “เรียนรู้”
3.7 หลักการพัฒนาทักษะชีวต
ิ

การพัฒนาทักษะชีวติ (Developing Life Skills) การ
จัดการเรียนการสอนพึงเน้ นการพัฒนาทักษะชีวติ เพือ่ การ
ดารงชีวติ ตามวิถีไทย มากกว่ าการสอนเนือ้ หาสาระทีไ่ ม่ ได้ นาไปใช้
ในชีวติ จริงหรือมุ่งเรียนให้ สูงขึน้ มีการสร้ างสภาพแวดล้ อม
การศึกษาทีเ่ อือ้ ต่ อการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมจากการเผชิญ
ประสบการณ์ โดยรักษาสมดุลระหว่ างการเรียนการสอนทีผ่ ้ ูเรียน
เป็ นศูนย์ กลาง การเรียนการสอนทีไ่ ด้ รับการชี้นาแนวทางการ
ดารงชีวติ ทีด่ ี มีคุณภาพและคุณธรรม
3.8 หลักการพัฒนาบ้ านในโรงเรียน
หลักการพัฒนาบ้ านในโรงเรียน (Developing
Home-in-School Concept) เป็ นการสร้ าง
สภาพแวดล้ อมสถานศึกษาทีเ่ ป็ นเวทีจาลองสั งคมด้ วยการ
พัฒนาบ้ านในโรงเรียน มีแหล่ งความรู้ แหล่ งพัฒนา
ประสบการณ์ และแหล่ งบริการเพือ่ พัฒนาองค์ กรการเรี ยน
(Learning Organization) ส่ งเสริม เติมเต็ม
ความรู้ และประสบการณ์ แก่ ผ้ ูเรียน ผู้สอน และสมาชิกใน
สั งคม
3.9 หลักการพัฒนาฐานความรู้ และการจัดการความรู้
 การพัฒนาฐานความร้ ู และการจัดการความร้ ู
(Developing Knowledge Bases and
Knowledge Management) เป็ นการพัฒนา
ฐานความรู้ ศูนย์ ความรู้ และการจัดการความรู้ เพือ่ พัฒนา
และส่ งเสริมนิสัยการศึกษาหาความรู้ อย่ างต่ อเนื่องตลอด
ชีวติ (Life-long education) และควบคู่ชีวติ
(Life-along education)
3.9 หลักการพัฒนาฐานความรู้ และการจัดการความรู้
 การพัฒนาฐานความรู้ และการจัดการความรู้
กระทา
ได้ ด้วยการเชื่อมโยงโครงข่ ายและเครือข่ ายเทคโนโลยี
และสื่ อสารการศึกษา และเทคโนโลยีสาระสนเทศอย่ าง
ทัว่ ถึงทั้งระดับชาติ ระดับภูมิภาค ระดับเขตการศึกษา
และระดับท้ องถิ่น
3.10 หลักการบูรณาการประเมินครบวงจร
 การบูรณาการประเมินครบวงจร
(Integrating Full
Cycle Evaluation) เป็ นการประเมินการศึกษาต้ อง
ครอบคลุมการประเมินครบวงจร ทีม่ สี มดุลการประเมิน
กระบวนการและการประเมินผลลัพธ์ และเน้ นการประเมิน
การเปลีย่ น ผจญผสมผสาน เผด็จและต่ อยอดประสบการณ์
ตามจุดมุ่งหมาย การตัดสิ นใจ ความเชื่อ ค่ านิยมและการ
พัฒนาความคิดอย่ างอิสระ
4. องค์ ประกอบการจัดศึกษาไทยในอนาคต
องค์ ประกอบการจัดการศึกษาไทยในอนาคตครอบคลุม
อุดมการณ์ คุณลักษณะผู้สาเร็จการศึกษาหรือบัณฑิตที่
พึงประสงค์ หลักสู ตรระบบการเรียนการสอน
เทคโนโลยีและสื่ อสารการศึกษา สภาพแวดล้ อม
การศึกษา การประเมิน และการประกันคุณภาพ
4. องค์ ประกอบการจัดศึกษาไทยในอนาคต
ภาพอนาคต คือ การจัดการศึกษาต้ องกาหนด
อุดมการณ์ โดยองค์ คณะบุคคล และได้ รับความ
เห็นชอบจากองค์ การทีม่ ีอานาจกากับดูแล เช่ น สภา
มหาวิทยาลัย หรือ คณะกรรมการสถานศึกษา โดยมี
การดาเนินการ 6 ขั้น คือ
4. องค์ ประกอบการจัดศึกษาไทยในอนาคต
ขั้นที่ 1 กาหนดปรัชญาการศึกษา (Educational
Philosophy) เป็ นการกาหนดอุดมการณ
แสงสว่ างนาทางและทิศทางไปสู่ เป้ าหมายในการ
ดาเนินงานการศึกษา โดยสรุปเป็ นปณิธาน เพือ่ ส่ องนา
ทางให้ คณาจารย์ และบุคลากรสั งคมมุ่งมั่น เสริมพลัง
ไปให้ ถึงเป้ าหมายและประกาศให้ สังคมได้ รับทราบ
4. องค์ ประกอบการจัดศึกษาไทยในอนาคต
ขั้นที่ 2 กาหนดปณิธานการศึกษา (Mission) เป็ น
การเขียนข้ อความสั้ นไม่ เกิน 25 คาที่สะท้ อนปรัชญา
โดยเขียนในรูปคาขวัญ (Slogan) คติประจา
(Motto)
4. องค์ ประกอบการจัดศึกษาไทยในอนาคต
ขั้นที่ 3 กาหนดวิสัยทัศน์ การศึกษา-เป็ นการเขียนภาพแห่ ง
ความสาเร็จที่คาดหวังจะให้ เกิดขึน้ ณ จุดสิ้นสุ ดของ
ช่ วงเวลาที่กาหนด อาทิ 3 ปี 5 ปี หรือ 10 ปี วิสัยทัศน์ (อ่ าน
ว่ า วิ-ไส-ยะ-ทัด) ไม่ ควรกาหนดให้ กากวม ซ้าซ้ อนกับ
ปรัชญาหรือปณิธานและจะต้ องไม่ ขนึ้ ต้ นด้ วยคาว่ า “มุ่ง”
เพราะจะเป็ นการเขียนปณิธาน หรือ “เพือ่ ” เพราะจะเป็ น
การเขียนวัตถุประสงค์
4. องค์ ประกอบการจัดศึกษาไทยในอนาคต
ขั้นที่ 4 กาหนดพันธกิจ
(Commitments/Mandates) เป็ นการ
กาหนดพันธสั ญญาที่จะต้ องดาเนินการจัดการศึกษา
โดยขึน้ ต้ นด้ วยคาว่ า “มุ่ง” อาจเขียนรวมหรือจาแนก
เป็ นข้ อๆ
4. องค์ ประกอบการจัดศึกษาไทยในอนาคต
ขั้นที่ 5 กาหนดจุดมุ่งหมายการศึกษา-เป็ นการระบุ
เป้ าหมายพฤติกรรมและเงื่อนไขความสาเร็จย่ อยที่คาด
ว่ าจะเกิดขึน้ เมื่อดาเนินกิจกรรมการศึกษาสาเร็จแล้ ว
4. องค์ ประกอบการจัดศึกษาไทยในอนาคต
ขั้นที่ 6 กาหนดเป้ าหมาย (Targets) เป็ นการกาหนด
เป้ าหมายผู้รับบริการ เป้ าหมายเวลา และเป้ าหมาย
ผลผลิต
5. แนวคิดภควันตภาพ
ความปรารถนาฝังลึกของทุกคนคือ อยากมีอสิ รเสรี สามารถไป
ไหนต่ อไหนได้ อย่ างสะดวกสบาย หากเป็ นไปได้ กอ็ ยากปรากฏตัว
อยู่หลายทีพ่ ร้ อมกันในเวลาเดียวกัน จึงมีคากล่ าวหรือคาประพันธ์
ว่ า “อยากติดปี กบิน” หรือมีภาพยนตร์ ที่แสดงให้ เห็นการแบ่ งตัว
(Cloning) เพือ่ จะให้ ตนเองทางานได้ หลายอย่ างและปรากฏตัว
อยู่หลายทีใ่ นเวลาเดียวกัน สภาวะทีส่ ามารถไปปรากฏหรืออยู่ใน
หลายที่ในเวลาเดียวกัน เรียกว่ า ภควันตภาพ (Ubiquitous)
5. แนวคิดภควันตภาพ
ภค-ภาคหรือส่ วน วนต-มี
ภควันตภาพ แปลว่ า มีภาค มีส่วน แผ่ กระจายให้ ปรากฎ
ทุกแห่ งหนในเวลาเดียวกัน
ชุมชนภควันตภาพ
 โรงเรี ยนภควันตภาพ
ห้ องเรี ยนภควันตภาพ

คอมพิวเตอร์ พกพา
ประเทศภควันตภาพ
5. แนวคิดภควันตภาพ
Ubiquitous=Existing everywhere at
anytime:
U-Community
U-School
Tablets
U-Classroom
U-Nation
ภาพรวม
 การศึกษาและการดาเนินชี วต
ิ ในสั งคม
สั งคมทวิภาพ
 บ้ านคือศู นย์ กลางการดาเนินชี วต
ิ
 การเปลีย
่ นสถาปัตยกรรมโรงเรียน
การสื่ อสารในสั งคมทวิภาพ
ฐานความรู้
(Knowledge Base-KB)
สถานีถ่ายทอด
ความรู้ (Relay
Stations)
ผู้รับความรู้ปลายทาง
(Terminals)
การรับ-ส่ งความรู้
(Knowledge
Dispatching
Systems)
การสื่ อสารในยุคจิตนิยม
ฐานความรู้
(พระนิพพาน)
สถานีถ่ายทอดความรู้
(ศาสดา เจ้ าสานัก)
การรับ-ส่ งความรู้
(ส่ งผ่ านทางจิต)
ผู้รับความรู้ ปลายทาง
(ศาสนิกชน)
สั งคมวัตถุนิยม
ฐานความรู้
(Websites/Library/Stations)
สถานีถ่ายทอดความรู้
(Instructors/Nodes)
การรับ-ส่ งความรู้
(Off-Line/On Line)
ผู้รับความรู้ ปลายทาง
(Learners/Receivers/Audiences)
เครื่องมือสู่ ภาพอนาคต
การปรับเปลีย่ นบริบท
จากการศึกษาในห้ องเรียนไปสู่ การศึกษาภควันตภาพ
• แบบครู เป็ นศู นย์ กลาง
• แบบตาราเป็ นศู นย์ กลาง
• แบบสื่ อแพร่ ภาพและเสี ยงเป็ นศู นย์ กลาง
• แบบเทคโนโลยีและสื่ อสารเป็ นศู นย์ กลาง
ครูเป็ นศูนย์ กลาง
Radio
Programs
Television
Programs
Texts
CAI
Tutorial
Chalkboard
AV Media
Teachers/Instructors
Teleconferencing
Community Resources
Audiocassettes
ตารา/สื่ อสิ่ งพิมพ์เป็ นหลัก

รายการวิทยุ
บทเรียนด้ วย
คอมพิวเตอร์



รายการโทรทัศน์
ตาราทางไกล
แบบฝึ กปฏิบัติ
อินเทอร์ เนต
 สื่ อโสตทัศน์

การสอนเสริม
เทป/ซี ดเี สี ยง
 การประชุ มทางไกล
 เทป/ซี ดภ
ี าพ
 แหล่ งวิทยาการชุ มชน
แพร่ เสี ยงและแพร่ ภาพเป็ นหลัก

บทเรียนด้ วย
คอมพิวเตอร์


ตาราทางไกล
รายการวิทยุ
รายการโทรทัศน์
อินเทอร์ เนต
 สื่ อโสตทัศน์

การสอนเสริม
เทป/ซี ดเี สี ยง
 การประชุ มทางไกล
 เทป/ซี ดภ
ี าพ
 แหล่ งวิทยาการชุ มชน
คอมพิวเตอร์ /สารสนเทศเป็ นหลัก


รายการวิทยุ
ตาราทางไกล

รายการโทรทัศน์
ประชุมทางไกล
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์ เนต
สื่ อโสตทัศน์
 เทป/ซี ดภ
ี าพ
 เทป/ซี ดเี สี ยง
 การสอนเสริ ม
 การประชุ มทางไกล
 แหล่ งวิทยาการชุ มชน

ภาพรวม
การศึกษาและการดาเนินชีวติ ในสั งคม
สั งคมทวิภาพ
 บ้ านคือศู นย์ กลางการดาเนินชี วต
ิ
 การเปลีย
่ นสถาปัตยกรรมโรงเรียน

วงจรการเรียนของมนุษย์
การเรียนจากอดีตถึงปัจจุบัน
วัด
สานักบัณฑิต
บ้ าน
โรงเรียน
ราชวัง
วงจรการเรียน

การเรียนในอนาคต
วัด
บ้ าน
โรงเรียน
KB
ชุมชน
สานัก
เฉพาะทาง
วงจรการดารงชีวติ

การดารงชีวติ ในอดีตถึงปัจจุบัน
วัด
ที่ทางาน
บ้ าน
สถานบันเทิง
ธนาคาร
วงจรการดารงชีวติ
การดารงชีวติ ใจอนาคต
ทีท่ างาน
ศูนย์ ธุรกิจ
อิเล็กทรอนิกส์
E-Business
วัด
บ้ าน
สถานบันเทิง
ธนาคาร
การปรับเปลีย่ นสถาปัตยกรรมโรงเรียน
สถานที่เรี ยน--บ้ านในโรงเรี ยน
หอความรู้ (Knowledge Center)
หอประสบการณ์ (Experience Center)
หอบริ หาร (Service Center)
ส่ วนสนับสนุน (Supporting Facilities)
สถาปัตยกรรมโรงเรียน

อาคารเรียน
หอบริการ
หอประสบการณ์
หอความรู้
อาคารบริหาร
ถนน
เครือข่ ายในชุมชน
โรงเรียน ๑
หอประสบการณ์
โรงเรียน ๒
หอความรู้
หอบริการ
โรงเรียน ๓ โรงเรียน ๔
สถานประกอบการในชุมชุน
การปรับเปลีย่ นสถาปัตยกรรมโรงเรียน
สถานที่เรียน--บ้ านในโรงเรียน
หอความรู้ (Knowledge Center)
หอประสบการณ์ (Experience Center)
หอบริ หาร (Service Center)
ส่ วนสนับสนุน (Supporting Facilities)
