มาตรฐานการเรียนรู้ระดับชาติ

Download Report

Transcript มาตรฐานการเรียนรู้ระดับชาติ

Slide 1

การบริหารหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551
และการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ

รองศาสตราจารย์ศุภานัน สิ ทธิเลิศ


Slide 2

การบริหารสถานศึกษาเพือ่ ประสิ ทธิภาพและคุณภาพ

ระบบการศึกษาไทย
• ฐานกว้ าง -ครอบคลมุ
• คล่ องตัว
• สอดคล้ อง
• กระจายอานาจ

-ประชาชนมีส่วนร่ วม

• เน้ นคุณภาพ
• ปรั บแก้ -ปรั บปรุงอย่เู สมอ


Slide 3

การบริหารหลักสูตร
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง
ปัจจัยนาเข้า (ทรัพยากร )
1. ครู
2. หลักสูตร -รายวิชา
3. นักเรียนรับเข้า
4. เทคโนโลยีและทรัพยากรการเรียนการสอน
กระบวนการ
1. การเรียนการสอน
2. กิจกรรมพัฒนานักเรียน
ผลลัพธ์
การวัดและประเมินผลผูเ้ รียน


Slide 4

มาตรา 27 และ 28
การพัฒนาหลักสูตรแต่ละระดับ ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กาหนดหลักสูตรแกนกลาง และให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทาสาระของ
หลักสูตรที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ
หลักสูตรต้องมีลกั ษณะหลากหลายตามความเหมาะสมของแต่ละ
ระดับ โดยสาระของหลักสูตรทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนา
คนให้มีความสมดุลทั้งความรู ้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และ
ความรับผิดชอบต่อสังคม


Slide 5

มาตรฐานการเรียนรู้
หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
พ.ศ. 2551

ส่วนกลาง

ระดับท้องถิ่น
ผูบ้ ริหารโรงเรียน
ครู

กระทรวงศึกษาธิการ
ผูเ้ ชีย่ วชาญ

กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
หลักสูตรระดับ
สถานศึกษา

ผูป้ กครอง
ชุมชน


Slide 6

เป็ นจุดเน้ นของหลักสูตร
ในทุกระดับ


Slide 7

หลักสู ตรทีม่ ีมาตรฐานเป็ นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน
ลักษณะหลักสูตรอิงมาตรฐาน : คือ
ยึดมาตรฐานการเรี ยนรู ้เป็ นเป้ าหมายและเป็ นกรอบทิศทางในการ
กาหนดโครงสร้าง เนื้อหา กิจกรรมการเรี ยนการสอน การวัดประเมินผล

สรุปว่ า
การกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้นาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรอิงมาตรฐาน


Slide 8

ระดับชาติ
ระดับท้องถิ่น

ความสนใจความ
ต้องการของผูเ้ รี ยน
เป้ าหมาย/จุดเน้น
ของท้องถิ่น
-แหล่งข้อมูล
-ปัญหา
-เหตุการณ์สาคัญ
ในชุมชน

กรอบหลักสูตรและการประเมินผลการเรี ยนรู้
หลักสูตรและการประเมินผลการเรี ยนรู้
การเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยน
หลักฐานและร่ องรอยของการเรี ยนรู ้
กิจกรรมการเรี ยนรู้

ชิ้นงานหรื อภาระงาน
ที่ผเู้ รี ยนปฏิบตั ิ

การประเมิน - เกณฑ์การประเมิน
- คาอธิบายคุณภาพงาน
- แนวการให้คะแนน
ผลงานตัวอย่างที่ได้มาตรฐาน

การบรรลุมาตรฐาน

ระดับสถานศึกษา

มาตรฐานการเรี ยนรู้
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน


Slide 9

ระดับชาติ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2551

ระดับของ
หลักสู ตร

ระดับเขตท้องถิ่นและสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา
(สาระแกนกลาง + สาระท้องถิ่น)

ระดับห้องเรี ยน
(แผนการจัดการเรี ยนรู้ในรายวิชาพื้นฐาน
ของแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้


Slide 10

มาตรฐานการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ป.


ป.


ป.


ป.


ป.


ป.


ม.


ม.


ม.


ม.๔-๖

การพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรี ยนการสอน เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนไปสู่
มาตรฐานระดับชาติ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ครู ผสู ้ อน และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
ต้องเข้าใจแนวคิด หลักการ และแนวปฏิบตั ิของหลักสูตรแบบอิงมาตรฐาน


Slide 11

การพัฒนาหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
- มาตรฐานการเรี ยนรู ้
- ตัวชี้วดั
- สาระการเรี ยนรู ้แกนกลาง
- โครงสร้างหลักสูตร
- เกณฑ์การวัดผลประเมินผล

สพฐ.

ท้ องถิ่น
โรงเรียน

แกนกลาง

แกนกลาง

+

+

สาระการเรียนรู้ ท้องถิ่น

สาระ
การเรียนรู้
ท้ องถิ่น

+

สาระส่ วนที่
สถานศึกษา
เพิม่ เติม


Slide 12

มาตรฐานการเรียนรู้ ระดับชาติ
(กรอบหลักสู ตรระดับชาติ)
กรอบหลักสู ตรระดับท้ องถิน่
หลักสู ตรสถานศึกษา

* หน่ วยการเรี ยนร้ ู

การเรียนการสอนในชั้นเรียน


Slide 13

การพัฒนากรอบหลักสู ตรระดับท้ องถิ่น
ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

หลักสูตรแกนกลาง
สภาพปัญหา ความต้องการของท้องถิ่น

กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น

การประเมิน
คุณภาพผูเ้ รี ยน

นาเสนอผูท้ รงคุณวุฒิ/ รับฟั งความคิดเห็นผูเ้ กี่ยวข้อง
นาเสนอคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา/ หน่วยงานระดับท้องถิ่น
สถานศึกษาใช้เป็ นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร
วิจยั ติดตามประเมินผล

ปรับปรุ งพัฒนา

เป้ าหมาย/จุดเน้น

สาระการเรี ยนรู้
ท้องถิ่น


Slide 14

แนวคิดการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานเป็ นจุดเน้นของการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับ
มาตรฐานการเรียนรู้ ระดับชาติ
(กรอบหลักสู ตรระดับชาติ)
กรอบหลักสู ตรระดับท้ องถิ่น

หลักสู ตรระดับสถานศึกษา
* หน่ วยการเรี ยนร้ ู

การเรียนการสอนในชั้นเรียน


Slide 15

การบริหารหลักสูตรสถานศึกษา

ส่งเสริม สนับสนุน

จัดทากรอบหลักสูตรระดับท้องถิน่

 พัฒนาบุคลากร
 สนับสนุนงบประมาณ
และทรัพยากร
 ดาเนินงานแบบ
มีสว่ นร่วม
 เผยแพร่ความรู้
ด้านวิชาการ

คณะกรรมการระดับท้องถิน่
พิจารณาให้ความเห็นชอบ
สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของท้องถิน่
วิจยั และพัฒนาปรับปรุง

กากับ ดูแลคุณภาพ
 การประกันคุณภาพ
การศึกษา
 การประเมินคุณภาพ
ผูเ้ รียนระดับท้องถิน่
 นิเทศติดตามการใช้
หลักสูตร
 วิจยั ประเมินผลการ
ใช้หลักสูตร


Slide 16


Slide 17

หลักสูตรแกนกลางฯ
กรอบหลักสูตร
ระดับท้องถิ่น
หลักสูตร
สถานศึกษา

ผูเ้ รี ยน
เป็ น
สาคัญ


Slide 18

End
Assessment

เนื้อหา
Standards

กิEvidence
จกรรมการเรี ยน
(Task)
การสอน

การประเมินผล
Activities


Slide 19

รูปแบบเดิม

Backwards Design

เนื้อหาเป็ นเป้ าหมาย
มาตรฐานเป็ นเป้ าหมาย
กิจกรรมการเรี ยนการสอน การวัดประเมินผลจาก
ชิ้นงาน
การวัดประเมินผลตัดสิ น
ผ่านหรื อไม่ผา่ น
ออกแบบกิจกรรมการ
เรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญ


Slide 20


Slide 21

รู ปแบบการเรี ยนรู้ตามแนวพระราชดาริ การเรี ยนรู้ “ฉลาดรู้”
นการเรี ยนรู
้ที่ย้ตดึ ามแนวพระราชด
ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ าริ “ฉลาดรู ้”
ขั•้ นเป็ตอนการเรี
ยนรู

การเรี ยนรู้ที่ทาให้ผเู้ รี ยนเกิดความสมดุล ทั้งกาย ปั ญญา คุณธรรม
1.
เรี

นรู


ากความรู


วามคิ

ของผู





และทักษะการใช้ชีวติ สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ
ใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่ วนรวม
2. เรี ยนรู้จากการขบคิดพิจารณาด้วยตนเองให้เห็นเหตุผล
3. เรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิจนเกิดความคล่องแคล่วชานาญ
4. ประเมินความก้าวหน้าของตนเอง
5. เผยแพร่ ความรู้และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ซ่ ึงกันและกัน


Slide 22

การเรียนรู้ ตามแนวพระราชดาริ “ฉลาดรู้ ”
ยุทธศาสตร์ “ฉลาดรู ้” สู่กระบวนการสอน
ยุทธศาสตร์
“ฉลาดรู้”

ผลการวิจยั และ
พัฒนารู ปแบบ
การเรี ยนรู้ตามรอย
พระยุคลบาท
ในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั

มุ่งมัน่ ด้วย
ศรัทธา

ขั้นที่ ๑ : คิดพิจารณา
ขั้นที่ ๒ : เห็นความสาคัญ
ขั้นที่ ๓ : ค้นหาแหล่งเรี ยนรู ้

ใฝ่ หาความรู้
คู่คุณธรรม

ขั้นที่ ๔ : วางแผนการเรี ยนรู้

นาไปใช้
อย่างฉลาด

ขั้นที่ ๖ : สรุ ปองค์ความรู้

ไม่ประมาท
หมัน่ ตรวจสอบพัฒนา

ขั้นที่ ๕ : ปฏิบตั ิตามแผน
ขั้นที่ ๗ : นาความรู้ไปใช้ในชีวติ จริ ง
ขั้นที่ ๘ : ประเมินผลให้เกิดความ
ก้าวหน้า
ขั้นที่ ๙ : พัฒนาอย่างยัง่ ยืน


Slide 23

คาถาม
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาจะบริ หารจัดการ ส่ งเสริ มสนับสนุน ชักนาและ
ช่วยเหลือการจัดการเรี ยนการสอนของครู อย่างไร …? จึงจะพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รี ยนได้ตามมาตรฐานระดับชาติ