บทที่ 7 - เว็บโฮสติ้งนักศึกษา

Download Report

Transcript บทที่ 7 - เว็บโฮสติ้งนักศึกษา

003 471 – ระบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การการคลัง
บทที่ 7
เครื อข่ายสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ม านิ ต ย์ ผิ ว ขาว
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะสั ง คมศาสตร์ บู ร ณาการ
มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น วิ ท ยาเขตหนองคาย
หัวข้อ
1.การพัฒนาท้ องถิ่นและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาท้ องถิ่น
2.เครื อข่ายสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้ องถิ่น และแหล่งสืบค้ นข้ อมูล
คาถาม
1. เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในการพัฒนาอย่างไร?
2.ท้ องถิ่นมีการพัฒนาอะไร(/ด้ านใด)บ้ าง อย่างไร? และมีความจาเป็ นต้ องใช้ ข้อมูล
สารสนเทศอะไรบ้ าง? จะมีวิธีการให้ ได้ มาซึง่ ข้ อมูลอย่างไร? มีการนาข้ อมูลไปใช้
ประโยชน์อย่างไร? และมีการปรับปรุงข้ อมูลสารสนเทศและการนาไปใช้ ให้ มี
ประสิทธิภาพในการพัฒนาท้ องถิ่นเพิ่มขึ ้นได้ อย่างไร?
3.มีเครื อข่ายสารสนเทศใดบ้ างที่จะนามาใช้ ในการวางแผนการพัฒนาท้ องถิ่นและ
การพัฒนาการจัดการการคลังท้ องถิ่น? และแต่ละบุคคลหรื อหน่วยงานมีการ
นามาใช้ ประโยชน์ได้ อย่างไร?
การพัฒนาท้องถิ่นและบทบาทของเทคโนโลยี
สารสนเทศในการพัฒนาท้องถิ่น
การพัฒนาท้องถิ่น
การพัฒนาท้องถิ่น
-หมายถึง การทาให้ พื ้นที่ ที่เป็ นที่อยูอ่ าศัยเจริ ญขึ ้น งอกงามขึ ้น ทังนี
้ ้การทาให้
ท้ องถิ่น เกิดการพัฒนานัน้ มหาวิทยาลัยมุง่ เน้ นการพัฒนาท้ องถิ่นโดยยึดตาม
พันธกิจของมหาวิทยาลัยทังด้
้ านการ จัดการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การ
วิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
หน้าที่ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
-หมายถึง การทาให้ พื ้นที่ ที่เป็ นที่อยูอ่ าศัยเจริ ญขึ ้น งอกงามขึ ้น ทังนี
้ ้การทาให้
ท้ องถิ่น เกิดการพัฒนานัน้ มหาวิทยาลัยมุง่ เน้ นการพัฒนาท้ องถิ่นโดยยึดตาม
พันธกิจของมหาวิทยาลัยทังด้
้ านการ จัดการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การ
วิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
8
ประเภทของแผนพัฒนาท้ องถิน่
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
9
1. แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา
หมายความว่ า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่ ที่
กาหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่ ซึง่
แสดงถึง วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพือ่ การพัฒนาในอนาคต โดย
สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ แผนการบริหารราชการ
แผ่ นดิน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด อาเภอ และแผนชุมชน
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
10
2.แผนพัฒนาสามปี
หมายความว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา อันมีลกั ษณะเป็ นการกาหนด
รายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่จดั ขึ้นสาหรับปี งบประมาณแต่ละปี ซึ่ง
มีความต่อเนื่องและเป็ นแผนก้าวหน้าครอบคลุมระยะเวลาสามปี โดยมีการ
ทบทวนเพื่อปรับปรุ งเป็ นประจาทุกปี
สาหรับ “แผนการดาเนินงาน” ที่กาหนดไว้ในระเบียบฯ นั้น มิใช่การจัดทา
แผนพัฒนา แต่เป็ นเอกสารที่รวบรวมแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่ดาเนินการ
จริ งทั้งหมดในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นในแต่ละปี งบประมาณ
เพื่อให้ทราบกิจกรรมการพัฒนาในพื้นที่ที่ดาเนินการ
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
11
เทคนิคการเก็บรวบรวมข้ อมูลเพือ่ การวางแผน
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
12
ประเภทของข้ อมูล
โดยทัว่ ไปได้มีการแบ่งประเภทของข้อมูลออกเป็ น 2 ประเภท คือ
◦1) ข้ อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ ข้อมูลที่มีอยูต่ ามสภาพที่ปรากฏหรื อข้อมูล
ที่เก็บใหม่
◦2) ข้ อมูลทุตยิ ภูมิ ได้แก่ ข้อมูลที่มีอยูแ่ ล้วหรื อได้รับการจัดมาแล้ว
ครั้งหนึ่ง
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
13
ประเภทของข้ อมูล (ต่ อ)
การจัดเก็บข้อมูลสามารถจัดกลุ่มของข้อมูลออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
◦1) ข้ อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ขอ้ มูลที่เก็บรวบรวมจากแหล่งปฐมภูมิ
แล้วสามารถประมวลผลออกมาในลักษณะตัวเลขตามแบบฟอร์ม
ตารางที่กาหนด และส่ วนมากต้องใช้สถิติในการวิเคราะห์เชิง
ปริ มาณเพื่อแสดงผลของข้อมูล
◦2) ข้ อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ขอ้ มูลที่เก็บรวบรวมจากแหล่งปฐมภูมิ
หรื อทุติยภูมิแล้วต้องใช้การวิเคราะห์ดว้ ยหลักเหตุผลหรื อสถิติ
เบื้องต้นเพื่อแสดงผลของข้อมูล
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
14
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
15
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการจัดทาแผนโดยทัว่ ไปมีวิธีการคือ
◦1. การสั มภาษณ์
◦2. การสารวจ
◦3. การออกแบบสอบถาม
◦4. การศึกษาเอกสาร
◦5.การจัดทาประชาคม
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
16
คาถาม
ถ้าจัดทาแผนพัฒนา อปท. จะต้องจัดเก็บข้อมูลอะไรบ้าง
◦ ด้านเศรษฐกิจ(รายได้,อาชีพ(เพาะปลูก/เลี้ยงสัตว์/ประมง),กลุ่มเศรษฐกิจ,จานวนครัวเรื อนยากจน,...) ด้านสาธารณสุ ขสุ ขภาพ(ปัญหาสุ ขภาพ,การส่ งเสริ มสุ ขภาพ,โรงพยาบาล/สถานีอนามัย,จานวนอสม.,จานวนผูส้ ูงอายุ,จานวนเด็กผูด้ อ้ ยโอกาส,อัตราการเกิด-การตาย,สถานที่ออกกาลังกาย-สวนสาธารณะ) ด้านการศึกษา(จานวนโรงเรี ยน,จานวน
นักเรี ยน,จานวนบุคลากรทางการศึกษา,ข้อมูลอุปกรณ์การเรี ยนการสอน,ปัญหาของโรงเรี ยนต่างๆ,ห้องสมุด,ศูนย์
พัฒนาเด็กเล็ก,อาหารกลางวัน-อาหารเสริ ม,...) ด้านสาธารณูปโภค(น้ า,ประปา,ไฟฟ้ า,ถนน,โทรศัพท์,...) ด้าน
สิ่ งแวดล้อม(ขยะ-การจัดการขยะและสิ่ งปฏิกลู ,ปั ญหาสิ่ งแวดล้อม,การปลูกป่ า-พื้นที่ป่า,แหล่งน้ า,ดิน,...) ด้านสังคม
(ศาสนา-วัด,ยาเสพติด,อาชญากรรม,ป้ อมยาม,จานวนอปพร.,ศิลปวัฒนธรรม-ประเพณี ,เด็ก-คนแก่,ปัญหาสังคม,กลุ่ม
ทางสังคม,...) ข้อมูล อปท.(จานวนบุคลากร,ระดับการศึกษาบุคลากร,งบประมาณ,รายได้จากภาษี,วัสดุอุปกรณ์,พื้นที่,
อาคาร,จานวนและระดับการศึกษาของฝ่ ายบริ หาร-สภา,...) ข้อมูลทัว่ ไป(จานวนหมู่บา้ น,ขนาดพื้นที่,...)
ข้อมูลแต่ละประเภทมีวธิ ี การจัดเก็บอย่างไร
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
17
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการจัดทาแผนโดยทัว่ ไปมีวิธีการคือ
◦1. การสั มภาษณ์ เป็ นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีผซู ้ กั ถามแล้วเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากคาตอบผูต้ อบการซักถาม การสัมภาษณ์น้ ีแบ่ง
ออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ
◦1) การสัมภาษณ์ที่ใช้แบบสอบถามหมายถึง ซักถามตามแบบฟอร์ มที่
กาหนดไว้ล่วงหน้า
◦2) การสัมภาษณ์ที่ไม่ใช้แบบสอบถาม หมายถึง ซักถามโดยใช้ดุลย
พินิจของผูซ้ กั ถามในการติดตามประเด็นต่างๆ ที่ตอ้ งการ
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
18
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ)
◦2. การสารวจ เป็ นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยศึกษาจากสภาพ
ข้อเท็จจริ งที่ปรากฏซึ่งสัมผัสได้ดว้ ยประสาททั้ง 5 เช่น การสารวจด้วย
ภาพที่ปรากฏแก่สายตาจริ งว่าท่อระบายน้ ามีสภาพชารุ ดทรุ ดโทรม
ถนนเสี ยหายเป็ นหลุมเป็ นบ่อ เป็ นต้น
◦3. การออกแบบสอบถาม เป็ นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เอกสาร
แบบฟอร์ มที่ได้จดั ทาขึ้นตามวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ แล้วให้
แหล่งข้อมูล (กลุ่มตัวอย่าง) เป็ นผูต้ อบแบบสอบถาม ซึ่งอาจแบ่งได้เป็ น
2 ลักษณะ คือ
◦1) การทอดแบบสอบถามทางไปรษณี ย ์
◦2) การทอดแบบสอบถามโดยนาไปให้ดว้ ยตนเอง
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
19
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ)
◦4. การศึกษาเอกสาร เป็ นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุตยิ ภูมิ
คือ จากเอกสารที่แหล่งข้อมูลนั้นได้จดั เก็บไว้แล้ว เช่น สามะโน
ประชากร สถิติดา้ นต่างๆ เป็ นต้น
◦5.การจัดทาประชาคม โดย อปท.ออกหน่วยหรื อเชิญประชาชนเข้า
มาร่ วมทาประชาคมทั้งในระดับชุมชนและในรวมทั้ง อปท. เพือ่
เสนอแนะปัญหาและความต้องการในด้านต่างๆ
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
20
การเก็บรวบรวมข้ อมูลในการจัดทาแผนพัฒนาท้ องถิน่
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
21
คาถาม
ตัวอย่างข้อมูลที่ อปท. จะต้องจัดเก็บหรื อรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบในหาร
วิเคราะห์ศกั ยภาพ
◦คุณภาพและทัศนคติที่ดีของบุคลากรและฝ่ ายบริ หาร-สมาชิกสภา
◦งบประมาณและประสิ ทธิภาพของการบริ หารงบประมาณ
◦วัสดุอุปกรณ์ เครื่ องมือในสานักงาน
◦ความร่ วมมือหรื อการมีส่วนร่ วมของประชาชน
◦การมีกลุ่มอาชีพต่างๆ มีความพร้อมด้านแหล่งน้ า ที่ดิน
◦การมีแหล่งท่องเที่ยว
◦ความร่ วมมือระหว่าง อปท. กับ หน่วยงาน/องค์กรอื่นๆ
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
22
การประมวลข้ อมูล
นาข้อมูลนั้นมาสรุ ปผลแยกประเภทและจัดกลุ่มเพื่อเป็ นการเสนอผล
ของการเก็บรวบรวมในเบื้องต้นว่าเป็ นอย่างไร
◦1) ในกรณีข้อมูลเชิงปริมาณ จะเป็ นการประมวลข้อมูลแล้วสรุ ป
ออกมาในรู ปของตารางเอกสาร คาแนะนาการจัดเก็บข้อมูล
◦2) ในกรณีข้อมูลเชิงคุณภาพ จะเป็ นการเสนอผลข้อมูลที่ได้จดั เก็บ
โดยสรุ ปลงในผลการตอบแบบสอบถามหรื อแบบสัมภาษณ์ เป็ นต้น
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
23
การเลือกกลุ่มตัวอย่ างประชาชน
1. กาหนดจานวนตัวอย่างให้พิจารณาใช้เกณฑ์ คือ จานวนประชากรใน
เขต อปท.
- ถ้าจานวนนับด้วย 100 ใช้ 25% ,
- ถ้าจานวนนับด้วย 1,000 ใช้ 10% ,
- ถ้าจานวนนับด้วย 10,000 ใช้ 1%
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
24
การเลือกกลุ่มตัวอย่ างประชาชน (ต่ อ)
2. แบ่งขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยแยกเป็ นตามลักษณะ กลุ่มลักษณะงาน คือ
◦2.1 กลุ่มพ่อค้า นักธุรกิจ ให้ใช้ขนาด 30% ของตัวอย่าง
◦2.2 กลุ่มข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ให้ใช้ขนาด 25% ของตัวอย่าง
◦2.3 กลุ่มนักเรี ยนนิสิตนักศึกษา (ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรื อเทียบเท่าขึ้นไป) ให้ใช้
ขนาด 10% ของตัวอย่าง
◦2.4 กลุ่มผูใ้ ช้แรงงาน หาบเร่ แผงลอย ให้ใช้ขนาด 20% ของตัวอย่าง
◦2.5 กลุ่มราษฎรอาสาสมัครต่างๆ (เช่น ลส.ชบ., อสม., ทสปช. เป็ นต้น ) ให้ใช้ขนาด10%
ของตัวอย่าง
◦2.6 กลุ่มอื่นๆ ที่ไม่เข้าตามลักษณะกลุ่มข้างต้น ให้ใช้ขนาด 5% ของตัวอย่าง
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
25
การคัดเลือกและจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
26
ความสาคัญของการคัดเลือกและจัดลาดับความสาคัญของปั ญหา
1. สิ่ งที่กาหนดว่าเป็ นปัญหาในขั้นแรกแล้ว อาจไม่ใช่ปัญหาที่แท้จริ ง
หรื ออาจรวมกันเป็ นปัญหาใหม่ที่ให้ความหมายได้ดีกว่าปั ญหาเดิม
2. ปัญหาแต่ละปัญหาที่ได้มามีความสาคัญไม่เท่ากัน
3. ทรัพยากรในด้านต่างๆมีจากัด การแก้ไขปั ญหาทุกปัญหาในคราว
เดียวกันเป็ นไปได้ยากจึงต้องมีการเลือกแก้ปัญหาตามลาดับ
ความสาคัญของปัญหา
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
27
1. คัดเลือกปัญหา
1.1 พิจารณาทบทวนปัญหาว่าตามสภาพข้อเท็จจริ งแล้วเป็ นปั ญหาจริ ง
หรื อไม่ ทั้งนี้อาจพิจารณาจากข้อเท็จจริ ง และลักษณะหรื อ
สภาพแวดล้อมของสิ่ งนั้นเอ
1.2 พิจารณาปรับปรุ งตัวปัญหา โดยพิจารณาถึงชื่อปัญหา ลักษณะ
หรื อสภาพขอบเขตและสาเหตุของปัญหา โดยอาจรวมหลายปัญหา
เดิมเข้าด้วยกันเป็ นปัญหาใหม่
การคัดเลือกปัญหาจะช่วยให้ได้ปัญหามีลกั ษณะเป็ นปัญหาที่แท้จริ ง
ก่อนที่จะพิจารณาจัดลาดับความสาคัญของปัญหาต่อไป
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
28
2. จัดลาดับความสาคัญของปัญหา
2.1 กาหนดหลักเกณฑ์ ในการจัดลาดับความสาคัญของปั ญหา ต้องมีการกาหนดตัวเกณฑ์
เบื้องต้นเป็ นพื้นฐาน แล้วนาตัวเกณฑ์น้ นั ๆ มาพิจารณาจัดลาดับความสาคัญของปัญหาต่อไป
เกณฑ์ที่สาคัญที่ใช้ในการพิจารณาจัดลาดับความสาคัญของปัญหามีดงั นี้
◦(ก) ความร้ายแรงและความเร่ งด่วนของปัญหา
◦(ข) ขนาดของกลุ่มชนและพื้นที่ที่ถูกกระทบจากปัญหา
◦(ค) ขนาดของปัญหา
◦(ง) ความเสี ยหายในแง่การพัฒนา
◦(จ) การยอมรับปัญหาร่ วมกันของชุมชน
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
29
2.2 ให้คะแนนน้ าหนักต่อปั ญหาต่างๆ
◦2.2.1 ให้น้ าหนักตัวเกณฑ์แต่ละตัว
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
30
การให้น้ าหนักตัวเกณฑ์แต่ละตัว จะต้องพิจารณาตัวเกณฑ์แต่
ละตัวเท่านั้น (ไม่พิจารณาปัญหา) แล้วกาหนดน้ าหนักความสาคัญ
ออกมาเป็ นสูงมาก สูงปานกลาง ปานกลาง ต่าปานกลาง และต่า
ตามลาดับ สาหรับน้ าหนักคะแนนกาหนดออกมาเป็ น 5, 4, 3, 2, และ 1
ตามลาดับ โดยการประชุมร่ วมกันขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
โดยพิจารณาเสี ยงข้างมากของตัวเกณฑ์แต่ละตัวเป็ นค่าน้ าหนักของแต่
ละตัวเกณฑ์ เพื่อให้สะดวกขึ้นเมื่อได้คะแนนเสี ยงข้างมากของน้ าหนัก
ตัวเกณฑ์แต่ละตัวแล้ว ให้ใส่ ลงในเอกสารท้ายนี้ ในที่น้ ีสมมุติวา่ ได้
น้ าหนักตัวเกณฑ์แต่ละตัวตามตัวอย่าง
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
31
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
32
2.2.2 ให้คะแนนตัวปั ญหาแต่ละปัญหาที่มีความสัมพันธ์กบั ตัวเกณฑ์
แต่ละตัวในการนี้ตอ้ งกาหนดคะแนนความสาคัญของปั ญหา โดยเทียบ
กับเกณฑ์แต่ละตัวออกมาเป็ นสูงมาก สูง ปานกลาง ต่า ต่ามาก และไม่มี
ความสัมพันธ์เลย อาจกาหนดคะแนนออกมาเป็ น 5,4, 3, 2, และ 1
ตามลาดับ ดังตัวอย่าง
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
33
2.2.3 ตัวอย่างการจัดลาดับความสาคัญของปัญหาโดยวิธีการหาค่า
ความสัมพันธ์ระหว่างปั ญหากับตัวเกณฑ์
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
34
เทคนิคการวิเคราะห์ ศักยภาพในการพัฒนาท้ องถิ่น
เชิงยุทธศาสตร์
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
35
การวิเคราะห์ ศักยภาพเพือ่ ประเมินสถานภาพการพัฒนาของ
ท้ องถิน่ ในปัจจุบัน
โดยใช้เทคนิค SWOT analysis เป็ นเครื่ องมือ โดยการพิจารณาถึง
ปัจจัยภายใน ได้แก่
◦จุดแข็ง(Strength – S)
◦จุดอ่อน (Weak – W)
ปัจจัยภายนอกได้แก่
◦โอกาส (Opportunity – O)
◦อุปสรรค(Threat – T)
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
36
ปัจจัยภายใน ประกอบด้วยปัจจัยด้านต่าง ๆ ที่ตอ้ งนามาพิจารณา
◦ ด้านการบริ หาร ได้แก่ การแบ่งส่ วนราชการ การวางแผน การประสานงาน การมอบอานาจการ
กากับดูแล เป็ นต้น
◦ ระเบียบ กฎหมาย
◦บุคลากร ได้แก่ อัตรากาลัง คุณภาพ วินยั ทัศนคติ พฤติกรรม เป็ นต้น
◦งบประมาณ รวมทั้งความช่วยเหลือต่าง ๆ
◦ระบบฐานข้อมูล
◦การประสานงาน/การอานวยการ/ความร่ วมมือจากภาคส่ วนที่เกี่ยวข้อง
◦ทรัพยากร เครื่ องมือและอุปกรณ์ในการทางาน
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
37
การวิเคราะห์ จดุ แข็ง (Strength = S) เป็ นการพิจารณาปัจจัยภายใน
หน่วยงานมีส่วนดีความเข้มแข็ง ความสามารถ ศักยภาพ ส่ วนที่
ส่ งเสริ มความสาเร็ จซึ่งจะพิจารณา ในด้านต่าง ๆ
การวิเคราะห์ จดุ อ่ อน (Weakness = W) เป็ นการพิจารณาปัจจัยภายใน
หน่วยงานว่า มีส่วนเสี ยความอ่อนแอ ข้อจากัด ความไม่พร้อม ซึ่งจะ
พิจารณาในด้านต่าง ๆ เช่นเดียวกับการวิเคราะห์จุดแข็ง
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
38
ปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย
◦ด้านการเมือง รวมถึงระดับความขัดแย้ง และกลุ่มผลประโยชน์
◦ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่เศรษฐกิจรวมในเขตพื้นที่ (เช่นผลผลิต รายได้
รายจ่าย การออม การลงทุน การใช้ที่ดิน แรงงาน) การเกษตรกรรม
การพาณิ ชยกรรม การคลัง
◦นโยบายรัฐบาล/กฎหมาย
◦เทคโนโลยี
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
39
การวิเคราะห์ โอกาส (Opportunity = O) เป็ นการศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอกว่ามี
สภาพเป็ นเช่นไร เหตุการณ์สถานการณ์ของโลก ของประเทศ ของจังหวัด และของ
อาเภอที่เกิดขึ้นจะส่ งผลต่อท้องถิ่นอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงใดที่เป็ นประโยชน์
หรื อเป็ นโอกาสอันดีต่อท้องถิ่น โดยจะต้องพิจารณาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
การเมืองการปกครอง และเทคโนโลยี
การวิเคราะห์ ปัญหาอปุ สรรคหรื อข้ อจากัด (Threat = T) เป็ นการศึกษา
สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็ นอุปสรรคหรื อภาวะคุกคาม ก่อให้เกิดผลเสี ยหรื อเป็ น
ข้อจากัดต่อท้องถิ่น โดยจะต้องพิจารณาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ
ปกครอง และเทคโนโลยี เช่นเดียวกับการวิเคราะห์โอกาส
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
40
การกาหนดวิสัยทัศน์ การพัฒนาท้ องถิน่
วิสัยทัศน์ (vision) หมายถึง ถ้อยแถลงที่ระบุถึงสภาพการณ์ในอุดมคติซ่ ึงเป็ น “จุดหมาย” ที่
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคตข้างหน้า เพราะเราเชื่อว่า หาก
สถานการณ์ดงั กล่าวเกิดขึ้น แล้วจะส่ งผลให้เกิดคุณค่าหรื อค่านิยมบางประการที่เรายึดถือ เช่น
คุณภาพชีวติ ของประชาชน การเติบโตทางเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ที่เท่าเทียมกันเป็ น
ต้น
วิสยั ทัศน์เป็ นผลรวมของการสรุ ปบทเรี ยนจากอดีต พิจารณาปัจจุบนั และมุ่งหวังถึงอนาคต
ข้างหน้า
การกาหนดวิสยั ทัศน์จึงเป็ นการตอบคาถามว่า “ท้ องถิน่ ต้ องการอะไรในอนาคต? ”
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
41
วิสัยทัศน์ ที่ดมี ีลกั ษณะ
1) ไม่ใช่สภาพการณ์ที่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเป็ นมาในอดีตและบรรลุได้แล้วในปัจจุบนั
2) ไม่อาจบรรลุได้ดว้ ยการปฏิบตั ิงานประจาตามปกติธรรมดา
3) ต้องมีความเป็ นไปได้ในการที่จะบรรลุถึง ภายใต้เงื่อนไขของศักยภาพและข้อจากัดที่มีอยู่
4) ท้าทาย เร้าใจ และสร้างแรงบันดาลใจให้กบั ผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายในการที่จะบรรลุถึง
วิสัยทัศน์ที่วางไว้
5) สะท้อนถึงสภาพการณ์หรื อโฉมหน้าใหม่ของเมืองหรื อท้องถิ่นในอนาคตอย่างรอบด้าน
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมด้านต่าง ๆ
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
42
วิสัยทัศน์ ที่ดมี ีลกั ษณะ (ต่ อ)
6) วิสยั ทัศน์ควรเป็ นสิ่ งที่เห็นพ้องต้องกันระหว่างผูบ้ ริ หารท้องถิ่น ประชาคม และผูม้ ี
ส่ วนได้เสี ยทั้งปวง
7) วิสยั ทัศน์เป็ นเสมือนเข็มทิศที่กาหนดทิศทางการพัฒนาของท้องถิ่น
8) เป็ นข้อความง่าย ๆ ที่สามารถสื่ อให้เห็นทิศทางในอนาคตของท้องถิ่น
9) ต้องตรวจสอบและวัดผลสาเร็ จได้
10) สอดคล้องกับวัฒนธรรมขององค์กร
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
43
การกาหนดวิสัยทัศน์ การพัฒนาท้ องถิน่
หลักการเขียนวิสัยทัศน์
◦ สั้ น กะทัดรัด จดจาง่ าย
◦บอกถึงความปรารถนา คาดหวัง
◦บอกให้ ทราบถึงสิ่ งทีจ่ ะบรรลุถงึ หรือระดับการให้ บริการ
◦ท้ าทาย เร้ าความสนใจของสมาชิกในองค์ กร ผู้รับบริการ ผู้มีส่วน
ได้ เสี ยทุกฝ่ าย
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
44
อยากเห็นภาพของ เทศบาลเมืองหนองคาย เป็ นอย่างไร
◦เมืองน่าอยู่
◦เมืองเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
◦วัฒนธรรม
◦ความเป็ นอยู่
◦การคมนาคม
◦ประสิ ทธิภาพการบริ หารจัดการที่ดี
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
45
การกาหนดพันธกิจ (mission) ในการพัฒนาท้ องถิ่น
พันธกิจ เป็ นข้อความหรื อถ้อยแถลงที่แสดงถึงลักษณะหรื อขอบข่ายในการ
ดาเนินงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นที่เกี่ยวกับลักษณะการบริ หารและ
การจัดบริ การสาธารณะ รวมทั้งแนวคิดเกี่ยวกับองค์กรหรื อภาพลักษณ์ที่
ต้องการนาเสนอ และปณิ ธานหรื อปรัชญาในการดาเนินงานขององค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่น เป็ นขอบเขตของบทบาทหน้าที่หลักหรื อขอบเขตของกิจกรรมที่
มุ่งเน้นเป็ นพิเศษที่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นจะต้องดาเนินการเพื่อให้บรรลุ
วิสยั ทัศน์ที่กาหนดไว้
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
46
การกาหนดพันธกิจ (mission) ในการพัฒนาท้ องถิ่น(ต่ อ)
การกาหนดพันธกิจ มีแนวทางการดาเนินการแยกเป็ นสองระดับ คือ
◦1) พันธกิจในลักษณะที่เป็ นอาณัติ (Mandate) ที่ได้รับมอบหมาย
จากสังคมหรื อรัฐ ซึ่งได้แก่กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่กาหนดอานาจ
หน้าที่ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
◦2) พันธกิจหลักที่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมุ่งมัน่ ที่จะดาเนินการ
เพื่อให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์ที่กาหนดไว้ และแสดงถึงความเข้าใจในเรื่ อง
งานที่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นต้องดาเนินการซึ่งถือว่าเป็ น
องค์ประกอบสาคัญส่ วนหนึ่งของวิสยั ทัศน์
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
47
พันธกิจที่ดมี ีลกั ษณะ
1) ต้องสอดคล้องกับนโยบาย กฎหมาย และระเบียบที่มีอยู่
2) ไม่ขดั แย้งต่อบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎหมาย
3) ต้องระบุถึงบทบาทหน้าที่ที่จาเป็ นต่อการบรรลุวสิ ยั ทัศน์ได้อย่าง
ครอบคลุมรอบด้าน และมีความเป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ิ
4) ต้องสะท้อนถึงคุณค่าหลักหรื อขอบเขตกิจกรรมที่มงุ่ เน้นเป็ น
พิเศษ
5) ต้องสนับสนุนและนาไปสู่ถึงการบรรลุวสิ ยั ทัศน์ทกี่ าหนดได้
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
48
ตัวอย่ างจุดมุ่งหมายเพือ่ การพัฒนาเทศบาลนครเชียงใหม่
1. เพือ่ ให้ การพัฒนาเมืองสอดคล้องกับผังเมืองรวมได้ อย่ างเหมาะสม รวมทั้งเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพการจราจร การขนส่ งมวลชน และการให้ บริการพืน้ ฐานสาธารณูปโภคและ
สาธารณูปการให้ สามารถรองรับการพัฒนาเมืองในระยะยาว
2. เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนในท้องถิ่น
3. เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการการท่ องเที่ยวภายในเขตเทศบาลนครเชี ยงใหม่
ให้ สามารถรองรับจานวนนักท่ องเที่ยวเพิม่ มากขึน้
4. เพือ่ สร้ างความเข้ มแข็งให้ ชุมชน โดยชุ มชนเข้ ามามีส่วนร่ วมในกระบวนการพัฒนา และ
แก้ไขปัญหาชุ มชนของตนเองได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพและเป็ นรูปธรรม
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
49
ตัวอย่ างยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาเทศบาลนครเชียงใหม่
1. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเมือง
แนวทางการพัฒนา
◦1. พัฒนาระบบการวางผังเมืองและการใช้ที่ดินภายในเขต
◦2. พัฒนาและปรับปรุ งประสิ ทธิภาพระบบสาธารณูปโภคและ
สาธารณูปการให้ได้มาตรฐาน
◦3. พัฒนาระบบการจราจรและการขนส่ งภายในเขตเมืองให้มี
ประสิ ทธิภาพ
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
50
ตัวอย่ างยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาเทศบาลนครเชียงใหม่
2. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อมอย่ างยัง่ ยืน
แนวทางการพัฒนา
◦1. ลดปริ มาณและควบคุมมลพิษทางน้ า
◦2. เพิ่มประสิ ทธิภาพในการจัดการมูลฝอยและสิ่ งปฏิกลู ฯลฯ
3. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้ านทรัพยากรมนุษย์ และสั งคม
แนวทางการพัฒนา
◦1. สนับสนุนและส่ งเสริ มกระบวนการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาสวัสดิการสังคมแก่ชุมชน
◦2. ส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านการกีฬาฯลฯ
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
51
ตัวอย่ างยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาเทศบาลนครเชียงใหม่
4. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้ านเศรษฐกิจ
แนวทางการพัฒนา
1. ส่ งเสริ มการสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ให้กบั ประชาชน
2. ส่ งเสริ มด้านการค้า การบริ การและการท่องเที่ยว
5. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้ านส่ งเสริมความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์ สินของประชาชน
แนวทางการพัฒนา
1. ส่ งเสริ มความรู้ ความเข้าใจในการป้ องกันและรักษาความปลอดภัย ในชีวิตและ
ทรัพย์สินโดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วม
2. พัฒนาระบบป้ องกันภัยให้มีประสิ ทธิภาพและทันสมัย
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
52
ตัวอย่ างยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาเทศบาลนครเชียงใหม่
6. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้ านการอนุรักษ์ ประวัตศิ าสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
แนวทางการพัฒนา
1. อนุรักษ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรม
2. อนุรักษ์และปลูกฝังค่านิยมเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ประเพณี จริ ยธรรม คุณธรรม และ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
7. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้ านการบริหารจัดการให้ มีประสิ ทธิภาพ
แนวทางการพัฒนา
1. พัฒนาประสิ ทธิภาพการบริ หารเทศบาลอย่างเป็ นระบบ
2. ส่ งเสริ มความร่ วมมือระหว่างเทศบาล กับเมืองต่างๆ ในภูมิภาคอื่นของโลก
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
53
การกาหนดเป้ าหมายการพัฒนาท้ องถิน่
เป้ าหมายที่ดีควรมีองค์ประกอบ ดังนี้
◦1. เงื่อนเวลา ควรระบุวา่ ต้องการทาอะไรให้บรรลุผลเมื่อไหร่
◦2. ปริ มาณ ที่ตอ้ งการจะให้เกิดขึ้นในจานวนเท่าไร
◦3. คุณภาพ เป็ นสภาพที่พึงปรารถนา
◦4. สถานที่ เป็ นการระบุถึงเขตพื้นที่ครอบคลุมที่ตอ้ งการ
◦5. มีความเป็ นไปได้ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยูจ่ ริ ง
◦6. ควรเป็ นข้อความที่แสดงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นภายหลังโครงการสิ้ นสุ ด
◦7. กรณี ที่มีเป้ าหมายมากกว่าหนึ่งเป้ าหมาย ควรจัดลาดับความสาคัญ
หรื อความเร่ งด่วนไว้เพื่อให้เห็นถึงความจาเป็ นเร่ งด่วน
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
54
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานหลัก
(Key Performance Indicator - KPI)
เป็ นการวัดความก้าวหน้าของการบรรลุปัจจัยหลักแห่ งความสาเร็ จ หรื อผลสัมฤทธิ์
ขององค์กร โดยเทียบผลการปฏิบตั ิงานกับมาตรฐานหรื อเป้ าหมายที่ตกลงกันไว้
องค์กรสามารถใช้ผลของการวัดและการประเมินความก้าวหน้าของการบรรลุ
วิสยั ทัศน์ขององค์กร เพื่อปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานขององค์กร
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
55
คุณลักษณะของตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานหลักทีด่ ี
คือ ต้ อง "SMART" ได้ แก่
◦1. Specific
◦2. Measurable
◦3. Attainable ( Achievable )
◦4. Realistic
◦5. Timely
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
56
คุณลักษณะของตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานหลักทีด่ ี (ต่ อ)
1. Specific ความเฉพาะเจาะจง ตัวชี้วดั ควรมีความชัดเจนและมีความหมายมุ่งไปยังสิ่ งที่วดั ควรกาหนดตัวชี้วดั ให้
ชัดเจน ไม่กากวม เพื่อมิให้เกิดการตีความผิดพลาดและเพื่อสื่ อสารความเข้าใจให้ตรงกันทัว่ ทั้งองค์กร
2. Measurable เป็ นตัวชี้วดั ที่สามารถนาไปวัดผลการปฏิบัติงานได้ จริง ข้อมูลที่ได้จากการวัดสามารถ นาไป
เปรี ยบเทียบกับข้อมูลที่ได้จากตัวชี้วดั อื่นและใช้วเิ คราะห์ความหมายทางสถิติได้
3. Attainable ( Achievable ) สามารถบรรลุผลสาเร็จได้ องค์กรไม่ควรใช้ตวั ชี้วดั ผลการดาเนินงานหลักที่องค์กรไม่
สามารถควบคุมให้เกิดผลได้โดยตรง
4. Realistic มีความสมจริง ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานหลักมีความเหมาะสมกับองค์กรและไม่ใช้ตน้ ทุนการวัดที่สูง
เกินไป
5. Timely สามารถใช้ วดั ผลการปฏิบัติงานได้ ภายในเวลาทีก่ าหนด ควรปรับปรุ งตัวชี้วดั ให้ทนั สมัย อยูเ่ สมอ
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
57
ปัญหาของการจัดทาแผนพัฒนาท้ องถิน่ ในปัจจุบัน
การมีข้อมูลเฉพาะระดับท้ องถิ่น ซึ่งมีและเก็บรวบรวมได้ง่าย หากแต่ยงั ขาดการวิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ
เหล่านั้น
การมองภาพการพัฒนาแบบบูรณาการ ซึ่งองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมองเห็นภาพปัญหาความ
ต้องการ และแนวทางการพัฒนาในท้องถิ่นอย่างครบถ้วน สาคัญอยูท่ ี่วา่ เราอย่าเลือกทาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
โดยไม่คานึงถึงเรื่ องอื่น ๆ
การมีงบประมาณดาเนินการของตัวเอง ซึ่งเป็ นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้แผนพัฒนาประสบความสาเร็ จ
ดังนั้น องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นจาต้ องมองทรัพยากรของตนประกอบการจัดทาแผนพัฒนาอย่ าง
เหมาะสมด้ วย เพื่อการวางแผนไม่เป็ น “แผนนิ่ง” อย่างที่วา่ กัน เพื่อให้แผนเป็ นเครื่ องมือนาไปสู่
เป้ าหมายที่เราต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
58
เทคนิคพืน้ ฐานเพือ่ การมีส่วนร่ วม
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
59
เทคนิคพืน้ ฐานเพือ่ การมีส่วนร่ วม
แนวทางการสนับสนุนการจัดทาแผนแม่บทชุมชนพึ่งตนเองสาหรับองค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่น
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
60
กระบวนการจัดทาแผนชุมชนแบบบูรณาการ
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
61
กระบวนการจัดทาแผนชุมชนแบบมีส่วนร่ วม ควรมีข้นั ตอนการปฏิบัติดังนี้
2.1
2.2
2.3
2.4
2.5
2.6
2.7
การเตรี ยมวิทยากรกระบวนการ
การเตรี ยมชุมชนในการจัดทาแผนชุมชน
การประเมินศักยภาพของชุมชน
การกาหนดวิสยั ทัศน์ แนวทางและจุดมุ่งหมายในการพัฒนาชุมชน
การกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาชุมชน
การกาหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรมการพัฒนาชุมชน
การเปิ ดเวทีประชาพิจารณ์แผนชุมชน
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
62
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา
ท้องถิ่น
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา
:กรอบนโยบายICTของชาติ
http://www.ict.mbu.ac.th/th/index.php?option=com_content&task=vie
w&id=24&Itemid=58&limit=1&limitstart=0
-กลยุทธการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ(วิสยั ทัศน์/นโยบาย/เป้าหมาย/ยุทธศาสตร์ การพัฒนา)
◦ ภาครัฐ(e-Government)
◦ ภาคอุตสาหกรรม (E-Industry)
◦ ภาคการพาณิชย์ (e-Commerce)
◦ ภาคการศึกษา (e-Education)
◦ภาคสังคม (e - society)
◦อุตสาหกรรมเทคโนโลยีและการสื่อสาร (ICT Industry)
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา
:กลยุทธการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในภาครัฐ(e-Government)
◦หมายถึง การนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาใช้ ในการบริ หารงานของรัฐและการให้ บริ การของ
รัฐแก่ประชาชน หรื อ electronic government(e-Government) เพื่อ
มุง่ ไปสูส่ งั คมแห่งภูมิปัญญาและการเรี ยนรู้ (knowledge-based society)
สร้ างระบบบริ หารกิจการบ้ านเมืองและสังคมที่ดี(good governance) รวมทัง้
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ(competitiveness) อันจะ
นาไปสูค่ ณ
ุ ภาพชีวิตที่ดีขึ ้นของคนในสังคมไทย
http://www.ict.mbu.ac.th/th/index.php?option=com_co
ntent&task=view&id=24&Itemid=58&limit=1&limitstart=
0
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา
: e-Government
http://www.dld.go.th/ict/article/egov/e-gev02.html
:: e-Government คืออะไร
:: ทาไมต้ องมี e-Government
:: ประชาชนจะได้ อะไร
:: ประเภท e-Government
:: องค์ประกอบ e-Government
:: เป้าหมาย e-Government
:: กลุม่ ภารกิจ e-Government
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาท้องถิ่น
:
http://kritsana2235.wordpress.com/2011/12/11/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0
%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%
B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2/
- องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น มีภารกิจในการดาเนินการด้ านการบริ การประชาชน การ
พัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐาน การส่งเสริ มคุณภาพชีวิต การจัดระเบียบชุมชนและสังคม การ
พาณิชยกรรม การท่องเที่ยว การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติสงิ่ แวดล้ อม ด้ าน
ศิลปวัฒนธรรม จารี ตประเพณี และภูมิปัญญาท้ องถิ่น การนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารมาเพิ่ม ประสิทธิภาพการทางานตามภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นมี
ความจาเป็ นอย่าง ยิ่ง ทาให้ เกิดบูรณาการและเอกภาพในระบบข้ อมูล การวางแผน การ
ประสานงาน การจัดสรรงบประมาณ ลดความซ ้าซ้ อนในการปฏิบตั ิงาน รวมทังท
้ าให้ การ
บริ การประชาชนดีขึ ้น ซึง่ จะสร้ างคุณค่าแก่ประชาชนในด้ านความสะดวก รวดเร็วในการใช้
บริ การ รวมถึงความ
โปร่งใส ตรวจสอบได้ อันจะสนับสนุนบรรยากาศที่เอื ้อ
ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและความเป็ นอยูข่ องท้ อง
การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
http://www.learners.in.th/blogs/posts/256861
-
การจัดเก็บข้อมูลโดยองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น (อปท.) การจัดทา
ข้อมูลมีการดาเนินงานในสองรู ปแบบหลัก คือ
1) หน่ วยงานแต่ ละหน่ วยต่างจัดเก็บข้ อมูลภายในพื ้นที่ ขอบเขตหน้ าที่รับผิดชอบ และ
แสดงผลลัพธ์ผา่ นเว็บไซต์ของตน ปั ญหาที่พบคือคุณภาพของข้ อมูล เว็บไซต์จะแตกต่าง
กันขึ ้นอยูก่ บั ศักยภาพของหน่วยงาน และรสนิยมในการพัฒนาเว็บไซต์ ส่วนใหญ่ขาด
ความสมบูรณ์ ไม่สวยงาม ข้ อมูลไม่เป็ นปั จจุบนั ขาดความเชื่อมโยงข้ อมูลไปยังหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้ อง ส่งผลต่อจานวนผู้เยี่ยมชม และการใช้ ประโยชน์จากข้ อมูลและเว็บไซต์
2) การจัดเก็บข้ อมูลโดยการพัฒนาระบบข้ อมูลสารสนเทศ อปท. ของกรมส่ งเสริม
การปกครองท้ องถิ่น (www.thailocaladmin.go.th/index.jsp )
ระบบข้อมูลสารสนเทศขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
-การจัดทาโครงการสารสนเทศการบริ หารจัดการเพื่อการวางแผน และประเมินผล
การใช้ จ่ายงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น
-ระบบสารสนเทศองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น (อปท.) เพื่อการเรี ยนรู้ร่วมกัน
การจัดทาโครงการสารสนเทศการบริ หารจัดการเพื่อการวางแผน และ
ประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
:http://e-plan.dla.go.th/
1. เพื่อองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นมีเครื่ องมือช่วยในการจัดทาแผนงานโครงการของท้ องถิ่น
2. เพื่อองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นมีเครื่ องมือช่วยในการติดตามประเมินผลของการทาโครงการในท้ องถิ่น
3. เพื่อให้ ผ้ บู ริ หารสามารถเรี ยกดูรายละเอียดของการทางบประมาณรายจ่ายประจาปี จากองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นทัว่
ประเทศ ได้ ด้วยความสะดวก รวดเร็ ว ทันเหตุการณ์
4. เพื่อให้ การประสานงานระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น กับกรมส่งเสริ มการปกครองส่วนท้ องถิ่นมีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ ้น
5. เพื่อให้ ข้อมูลการจัดทารายงานความคืบหน้ าของการใช้ งบประมาณประจาปี ขององค์กร ปกครองส่วนท้ องถิ่นของแต่ละที่ทา
ได้ อย่างสะดวก รวดเร็ ว และถูกต้ อง
6. เพื่อให้ ทราบถึงความก้ าวหน้ าในการดาเนินงานโครงการต่าง ๆ ที่อยูใ่ นแผนการใช้ งบประมาณประจาปี ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้ องถิ่นของแต่ละที่ ว่าอยูใ่ นขั ้นตอนใด มีการเบิกจ่ายเงินไปแล้ วเท่าไร
7. เพื่อให้ การใช้ งานระบบสารสนเทศขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นและกรมส่งเสริ ม การปกครองส่วนท้ องถิ่น ก่อให้ เกิด
ประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุด
8. เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น สามารถทาการส่งข้ อมูลรายงานต่าง ๆ ให้ กบั กรมส่งเสริ มการปกครองส่วน
ท้ องถิ่นได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ ว
ระบบสารสนเทศองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น (อปท.) เพื่อการเรี ยนรู ้ร่วมกัน
:http://www.dla.go.th/index.jsp http://info.dla.go.th/
1 จัดทาฐานข้ อมูล ประกอบด้ วยข้ อมูลพื ้นฐาน และดัชนีชี ้วัดที่สาคัญ เพื่อให้ ผ้ ใู ช้ ประโยชน์สามารถเข้ าถึง
สารสนเทศและบริการของ อปท.
2 สนับสนุนการมีสว่ นร่วมของประชาชนโดยการใช้ แนวคิดการพัฒนาเว็บในลักษณะ Web 2.0 ซึง่ เน้ นการมี
ส่วนร่วมและการมีปฏิสมั พันธ์ ผ่านเครื อข่ายทางสังคมต่างๆ
3 จัดเก็บ รวบรวมองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้ องกับองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น (อปท.)
4 นาข้ อมูลที่ได้ จากฐานข้ อมูลมาใช้ เปรี ยบเทียบสมรรถนะ (Benchmark) เพื่อเพิ่มศักยภาพและจัดลาดับ
ของหน่วยงาน อปท. และการผนึกกาลัง (Synergy) ของ อปท.
ระบบข้ อมูลกลางองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่
:http://info.dla.go.th/
ประกอบด้ วยข้ อมูล
◦สภาพทั่วไป
◦โครงสร้ างพืน้ ฐานและสาธารณูปโภค
◦ด้ านสังคม
◦เศรษฐกิจ
◦สาธารณสุข
◦สิ่งแวดล้ อม
◦การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
◦การเงินการคลัง
ระบบข้ อมูลกลางองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่
:http://info.dla.go.th/
ประกอบด้ วยข้ อมูล
◦สภาพทั่วไป
◦โครงสร้ างพืน้ ฐานและสาธารณูปโภค
◦ด้ านสังคม
◦เศรษฐกิจ
◦สาธารณสุข
◦สิ่งแวดล้ อม
◦การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
◦การเงินการคลัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสังคม
http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04093009_2204/isweb/Lesson%2026.htm
ระบบสารสนเทศชุมชน (Community Informatics)
http://ruchareka.wordpress.com/2011/04/22/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%
E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%8A%E0%B8%
B8%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%99-community-informatics/
บทบาทของอินเตอร์เน็ตตาบลในการพัฒนาท้องถิ่น
http://vclass.mgt.psu.ac.th/~465-302/2003-2/BPA_26_20/Assignment-02/project/assign-page6botbat.htm
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาภูเก็ต
http://www.nectec.or.th/posters/A/A3/304/BA304.txt
กิจกรรม
1. องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นจะต้ องมีข้อมูลอะไรบ้ าง และมีวธิ ีการ
จัดเก็บ/การวิเคราะห์ ข้อมูลอย่ างไรบ้ าง และนาไปใช้ ในการวางแผนพัฒนา
ของ อปท. ได้ อย่ างไร(ใครเป็ นคนใช้ ใช้ อย่ างไร)?
2. ตามข้ อมูลใน ระบบข้ อมูลกลางองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
:http://info.dla.go.th/ และ ศูนย์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท (จปฐ. ,
กชช2ค) http://www.rdic.cdd.go.th/index1.html มีความ
พอเพียงหรื อยัง หากยังไม่เพียงพอจะต้ องจัดหาข้ อมูลใดเพิ่มบ้ าง อย่างไร?
เครื อข่ายสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
และแหล่งสื บค้นข้อมูล
แหล่งสื บค้นข้อมูล
-กรมส่งเสริ มการปกครองท้ องถิ่น(ข้ อมูลสารสนเทศ, ระบบข้ อมูลสารสนเทศ)
http://www.dla.go.th/index.jsp
-ระบบข้ อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น กรมส่งเสริ มการปกครองท้ องถิ่น
http://info.dla.go.th/
-ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนและประเมินผล(การติดตามการใช้ จ่าย/การ
รายงานสถานะการทางานแผนพัฒนาท้ องถิ่น) กรมส่งเสริ มการปกครองท้ องถิ่น
http://e-plan.dla.go.th/
แหล่งสื บค้นข้อมูล
-หน่วยวิจยั ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้ องถิ่น มหาวิทยาลัยรังสิต http://www.scitu.net/gcom/?page_id=5
-ศูนย์วิจยั ภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย http://www.gisthai.org/
-ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย (ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่พฒั นา , สถานภาพปัจจุบนั , กรอบ
นโยบาย ICT ของชาติ)
http://www.ict.mbu.ac.th
-ระบบการบริ หารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ หรื อ ระบบ GFMIS (Government Fiscal
Management System)http://www.gfmis.go.th/index.html
-โปรแกรมสาหรับการปฏิบตั ิงานด้ านการคลังของ อปท. e-LAAS http://www.laas.go.th/ (ภาพรวมการคลัง อปท.
ทัง้ ประเทศ
http://km.laas.go.th/laaskm/index.php?option=com_content&view=frontpage&Item
id=1 , http://km.laas.go.th/laaskm/report/)
แหล่งสื บค้นข้อมูล
-ศูนย์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท (จปฐ. , กชช2ค)
http://www.rdic.cdd.go.th/index1.html
-ระบบสารสนเทศ อปท. เพื่อการเรี ยนรู้ร่วมกัน
http://www.tlg.rmutt.ac.th/info/index.php?mod=data
&ac=special
-ระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน (SMCE)
http://smce.doae.go.th/smce1/index.php?result=5
แหล่งสื บค้นข้อมูล
-กระทรวง/กรม/หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับภารกิจหน้ าที่ของ อปท.
กรมปศุสตั ว์(ข้ อมูล/สถิต/ิ ข้ อมูลเตือนภัย) http://www.dld.go.th/th/ ศูนย์ข้อมูล
และสารสนเทศกรมปศุสตั ว์ http://www.dld.go.th/datacenter/
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร http://www.oae.go.th/main.php?filename=index
สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม http://www.oie.go.th/
สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
http://www.fpo.go.th/FPO/index2.php?mod=Category&file=categoryview&categoryID=CAT0001203
สานักงานดัชนีเศรษฐกิจการค้ า http://www.price.moc.go.th/btei/Default5.aspx
กรมเจรจาการค้ าระหว่างประเทศ www.dtn.go.th/
กิจกรรม
1. ให้ สืบค้ นข้ อมูลจากแหล่ งข้ อมูลต่ างๆ แล้ วนามาใช้ ในการวางแผน
พัฒนาท้ องถิ่น(โดยระบุข้อมูล แหล่ งข้ อมูล และการนาข้ อมูลไปใช้ ในการ
วางแผนพัฒนา การดาเนินการ และการประเมินผลอย่ างไร)