ความทั่วไปเกี่ยวกับอนุสัญญาภาษีซ้อน

Download Report

Transcript ความทั่วไปเกี่ยวกับอนุสัญญาภาษีซ้อน

การจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร
และ
อนุสญ
ั ญาภาษีซอ้ น
นิรันดร์ ประจวบเหมาะ
นักวิชาการภาษีเชี่ยวชาญ
สานักวิชาการแผนภาษี
ความทัว่ ไปเกีย่ วกับอนุสัญญาภาษีซ้อน
• อนุสญ
ั ญาภาษีซอ้ น (Double Taxation Agreement: DTA)
หมายถึง ความตกลงระหว่างรัฐที่จะพยายามขจัดความ
ซ้ าซ้อนของการจัดเก็บภาษี
• ความซ้ าซ้อนในการจัดเก็บภาษีใน 2 ลักษณะ
- ความซ้ าซ้อนเชิงเศรษฐกิจ (Economic Double Taxation)
- ความซ้ าซ้อนเชิงอานาจรัฐ (Juridical Double Taxation)
หลักการทั่วไปเกีย่ วกับภาษีซ้อน
• ภาษีซ้อนเชิงเศรษฐกิจ (Economic Double
Taxation)
มีกาไรสุ ทธิ
100 บาท
เสี ยภาษี
30 บาท
กาไรหลังเสี ยภาษี 70 บาท
จ่ายเงินปั นผล
ผู้ถือหุ้น
หลักการทั่วไปเกีย่ วกับภาษีซ้อน
ภาษีซ้อนเชิงอานาจรัฐ (Juridical Double Taxation)
ประเทศสิ งคโปร์
ประเทศไทย
ถือหุ้น
บริษัท ก
ผู้ถือหุ้น
เสี ยภาษีร้อยละ 30
เงินปันผล
ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ าย
หลักเกณฑ์ ในการจัดเก็บภาษี
• หลักแหล่งเงินได้ (Source Rule)
• หลักถิ่นที่อยู่ (Resident Rule)
• หลักสัญชาติ (Citizen Rule)
การเจรจาจัดทาอนุสัญญาฯ
• ทวิภาคี (Bilateral Agreement)
• เพื่อบรรเทาภาระภาษีและ/หรื อขจัดภาษีซอ้ น
• ปัจจุบนั มีผลใช้บงั คับ 54 ประเทศ
• ล่าสุ ด ชิลี
ตุรกี
รัสเซี ย
อุซเบกิสถาน
อาร์ มาเนีย
เกาหลีใต้
เนปาล
ญีป่ ุ่ น
จีน
ฮ่ องกง
ไซปรัส
อิสราเอล
คูเวต
เอมิเรตส์
อินเดีย
บาเรนท์
โอมาน
ปากีสถาน
ศรีลงั กา
เวียดนาม
ลาว
บังคลาเทศ
ฟิ ลิปปิ นส์
อินโดนีเซีย
มาเลเชีย
สิงคโปร์
ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
สวีเดน
อังกฤษและ
ไอร์ แลนด์ เหนือ
เยอรมัน
นอร์ เวย์
เดนมาร์ ก
โปแลนด์
โรมาเนีย
เชค
เนเธอร์ แลนด์
เบลเยีย่ ม
ฝรั่งเศส
ลักเซมเบอร์
ฟิ นแลนด์
สเปน
รัสเซีย
ออสเตรีย
สวิสเซอร์ แลนด์
ฮังการี
บัลแกเรีย
อิตาลี
ยูเครน
สโลวีเนีย
เซเชลส์
มอริเชียส
แอฟริกาใต้
แคนาดา
สหรัฐอเมริกา
ชิลี
ความเป็ นมาในอดีต
• ประเทศแรกที่อนุสญ
ั ญาฯ มีผลใช้บงั คับ สวีเดน
ปี 2506
• ร่ างต้นแบบอนุสญ
ั ญาฯ ของ OECD
• ร่ างต้นแบบอนุสญ
ั ญาฯ ของ UN
ข้ อดีของการมีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับต่ างประเทศ
• ช่ วยขจัดภาษีซ้าซ้ อน
• เกิดหลักประกันในการเสี ยภาษีที่แน่ นอนและชัดเจน
• ส่ งเสริมให้ เกิดการเคลือ่ นย้ายเงินทุนและเทคโนโยลี
ระหว่ างประเทศมากขึน้
• ช่ วยเพิม่ ศักยภาพให้ กบั ประเทศไทยในการแข่ งขัน
กับประเทศเพือ่ นบ้ าน
ข้ อดีของการมีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับต่ างประเทศ
• ทาให้ การหลีกเลีย่ งภาษีระหว่ างประเทศเป็ นไปได้ยาก
• ช่ วยส่ งเสริมกิจการขนส่ งระหว่ างประเทศ
• ช่ วยส่ งเสริมให้ มีการแลกเปลีย่ นทางวิชาการ
• ช่ วยส่ งเสริมการค้ า การลงทุน และส่ งเสริม
ความสั มพันธ์ ทางการทูต
ขอบข่ ายของภาษีที่เกีย่ วข้ อง
• ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (PIT)
• ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT)
• ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
โครงสร้ างของอนุสัญญาภาษีซ้อน
ตามร่ างไทยประกอบด้ วย
• ส่ วนที่ 1 – อารัมบท (Preamble)
• ส่ วนที่ 2 – ขอบข่ ายของอนุสัญญา (Article 1 - 2)
• ส่ วนที่ 3 – คาจากัดความ (Article 3 - 5)
• ส่ วนที่ 4 – การจัดเก็บภาษีเงินได้ ประเภทต่ างๆ (Article 6 – 22)
• ส่ วนที่ 5 – วิธีการขจัดภาษีซ้อน (Article 23)
• ส่ วนที่ 6 – ข้ อบทพิเศษ (Article 24 – 27)
• ส่ วนที่ 7 – บทส่ งท้ าย (Article 28 - 29)
วิธีการอ่ านอนุสัญญาภาษีซ้อน
บทบัญญัตขิ ้ อ 7 กาไรจากธุรกิจ
“1. เงินได้ หรือกาไรของวิสาหกิจของรัฐผู้ทาสั ญญารัฐหนึ่งให้ เก็บ
ภาษีได้ เฉพาะในรัฐนั้น เว้ นแต่ วสิ าหกิจนั้นประกอบธุรกิจในรัฐ
ผู้ทาสั ญญาอีกรัฐหนึ่งโดยผ่ านสถานประกอบการถาวรซึง่ ตั้งอยู่
ในรัฐผู้ทาสั ญญาอีกรัฐหนึ่ง ถ้ าวิสาหกิจนั้นประกอบธุรกิจ
ดังกล่ าวแล้ ว เงินได้ หรือกาไรของวิสาหกิจนั้นอาจเก็บภาษีได้ ใน
อีกรัฐหนึ่ง แต่ ต้องเก็บจากเงินได้ หรือกาไรเพียงเท่าที่พงึ ถือว่ า
เป็ นของสถานประกอบการถาวรนั้น”
สิ งคโปร์
“เงินได้ หรือกาไรของวิสาหกิจของรัฐผู้ทาสั ญญารัฐหนึ่งให้ เก็บ
สิ งคโปร์
ภาษีได้ เฉพาะในรัฐนั้น เว้ นแต่ วสิ าหกิจนั้นประกอบธุรกิจใน
ไทย
รัฐผู้ทาสั ญญาอีกรัฐหนึ่งโดยผ่ านสถานประกอบการถาวรซึ่ง
ไทย
ตั้งอยู่ในรัฐผู้ทาสั ญญาอีกรัฐหนึ่ง ถ้ าวิสาหกิจนั้นประกอบ
ธุรกิจดังกล่ าวแล้ ว เงินได้ หรือกาไรของวิสาหกิจนั้นอาจเก็บ
ไทย
ภาษีได้ ในอีกรัฐหนึ่ง แต่ ต้องเก็บจากเงินได้ หรือกาไรเพียง
เท่ าที่พงึ ถือว่ าเป็ นของสถานประกอบการถาวรนั้น”
การนาประมวลรัษฎากรมาปรับใช้ กบั อนุสัญญาฯ
• การพิจารณาประเภทเงินได้ตามประมวลรัษฎากร
• การพิจารณาการเสี ยภาษีตามประมวลรัษฎากร
• การพิจารณาหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในอนุสญ
ั ญาฯ
เนื่องจาก อนุสญ
ั ญาฯ เพียงแค่กาหนดสิ ทธิ ในการจัดเก็บ
ภาษีแต่ไม่บอกว่าให้เก็บภาษีอย่างไร
ขอบคุณและสวัสดี