คำบรรยาย การคุ้มครองพยาน

Download Report

Transcript คำบรรยาย การคุ้มครองพยาน

การคุ้มครองพยานและสิ ทธิประโยชน์ ของผู้เกีย่ วข้องต่ อ
การปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
ตาม
พระราชบัญญัตมิ าตรการของฝ่ ายบริหารในการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2551
นายเกรียงไกร สื บสั มพันธ์
ผู้อานวยการส่ วนคุ้มครองพยาน
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
(สานักงาน ป.ป.ท.)
หัวข้ อบรรยาย
1. ความหมายของพยาน และสิ ทธิทพี่ ยานจะได้ รับ
2. การคุ้มครองพยาน
(ความเป็ นมา /หน่ วยงานที่เกีย่ วข้ อง /มาตรการคุ้มครองฯ)
3. สิ ทธิประโยชน์ สาหรับบุคคลทีเ่ ป็ นพยาน
(มาตรการยกย่ องเชิดชู / ให้ รางวัลตอบแทนกับผู้เกีย่ วข้ อง)
เกิดอะไรขึน้ !
What happen?
ใคร คือ พยาน ?
ความหมายของ “พยาน”
ตามพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546
หมายถึง ... บุ คคลซึ่ งจะมาให้ หรื อได้ ให้ ข้อเท็จจริ งต่ อ
พนั ก งานผู้ มี อ านาจสื บ สวนคดี อ าญา พนั ก งานผู้ มี อ านาจ
สอบสวนคดีอาญา พนักงานผู้มีอานาจฟ้องคดีอาญา หรื อ ศาล
ในการด าเนิ น คดี อ าญา รวมทั้ ง ผู้ ช านาญการพิ เ ศษ แต่ มิ ใ ห้
หมายความรวมถึง จาเลยที่อ้างตนเป็ นพยาน
ความหมายของ “พยาน”
ตามพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ ายบริหารในการป้ องกัน
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2551
หมายถึง ผู้กล่ าวหา ผู้เสี ยหาย ผู้ทาคาร้ อง ผู้ร้องทุกข์ กล่ าวโทษ
ผู้ให้ ถ้อยคาหรื อผู้ที่แจ้ งเบาะแส ซึ่ งจะมาให้ หรื อได้ ให้ ข้อเท็จจริ ง
เบาะแสหรื อข้ อมู ลใดเกี่ยวกับการทุจริ ตในภาครั ฐ หรื อข้ อมู ลอื่น
อันเป็ นประโยชน์ ในการดาเนินการตามกฎหมายว่ าด้ วยมาตรการ
ของฝ่ ายบริหาร ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต....
ทุกท่ าน คือ พยาน!
สิ ทธิประโยชน์ ของบุคคลทีเ่ ป็ นพยาน
1. ได้ รับการคุ้มครองความปลอดภัยในชีวติ ร่ างกาย
อนามัย ชื่อเสี ยง ทรัพย์ สิน หรือสิ ทธิอนื่ ใด
2. ได้ รับการตอบแทนคุณความดีทมี่ ีมูลค่าเป็ นรางวัล
หรือประโยชน์ อนื่ ใด
การคุ้มครองพยาน
คือ กระบวนการสร้ างความมั่นใจให้ กั บ
บุคคลผู้มาให้ ข้อเท็จจริง อันเป็ นประโยชน์ ต่ อ
การพิสูจน์ ความจริงในกระบวนการยุตธิ รรม
ความเป็ นมาของการคุ้มครองพยาน
- ธันวาคม 2543 ทีป่ ระชุ มสมัชชาสหประชาชาติมีมติต้งั คณะทางานเฉพาะกิจ
เพือ่ การเจรจาจัดทาอนุสัญญาว่ าด้ วยการต่ อต้ านการทุจริต (ตามมติที่ 55/61)
- 31 ตุลาคม 2546 การลงนามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้ วยการต่ อต้ านการ
ทุจริต ค.ศ. 2003 (UNCAC) ณ เมืองเมริดา ประเทศเม็กซิโก
- 9 ธันวาคม 2546 ประเทศไทยร่ วมลงนามในอนุ สัญญาว่ าด้ วยการต่ อต้ าน
การทุจริต (UNCAC)
- 13 มิถุนายน 2546 ประกาศบังคับใช้ พระราชบัญญัตคิ ้ ุมครองพยานใน
คดีอาญา พ.ศ. 2546
- 24 มกราคม 2551 ประกาศบังคับใช้ พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ าย
บริหารในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2551
หน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องและสถิติเปรียบเทียบ
หน่ วยงานหลัก สานักงานคุ้มครองพยาน กรมคุ้มครองสิ ทธิและเสรีภาพ
กระทรวงยุตธิ รรม
หน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง ซึ่งได้ลงนามใน MOU ร่ วมกับกรมคุม้ ครองสิ ทธิและเสรี ภาพ
ประกอบด้วย
-สานักงานตารวจแห่ งชาติ (สตช.)
-สานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปราบยาเสพติด (ป.ป.ส.)
-กรมพระธรรมนูญ กระทรวงกลาโหม
-กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
-กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ (DSI) กระทรวงยุตธิ รรม
-กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุตธิ รรม
-กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุตธิ รรม
สถิตเิ ปรียบเทียบการคุ้มครองพยานของหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
ปี
2547
2548
2549
2550
2551
รวม
สานักงาน
สานักงานตารวจ
คุ้มครองพยาน
แห่ งชาติ
11
93
208
164
228
704
4
59
101
24
2
190
DSI
รวม
22
8
3
33
15
152
331
196
233
927
ข้ อมูล สานักงานคุ้มครองพยาน
กราฟเปรียบเทียบหน่ วยงานทีพ่ ยานยืน่ คาร้ องขอรับการคุ้มครอง
ความปลอดภัย ปี งบประมาณ 2547-2551 จานวน 927 คน
250
200
150
สคพ.
100
สตช.
DSI
50
0
2547
2548
2549
2550
2551
ข้ อมูล สานักงานคุ้มครองพยาน
มาตรการคุ้มครองผู้กล่าวหา พยาน และผู้เกีย่ วข้ อง
ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองพยาน พ.ศ.2546 กาหนดให้ มมี าตรการ
ในการคุ้มครองบุคคล 2 ประเภท ได้ แก่
• มาตรการทั่วไป (มาตรา 6 ,7)
• มาตรการพิเศษ (มาตรา 9)
มาตรการทั่วไปในการคุ้มครองพยาน
(ตามพระราชบัญญัตคิ ้ ุมครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546)
มาตรา 6 ในกรณีที่พยานอาจไม่ ได้ รับความปลอดภัย พนักงานผู้มีอานาจ
สื บสวนคดีอาญา พนักงานผู้มีอานาจในการสอบสวนคดีอาญา พนักงานผู้มี
อานาจในการฟ้องคดีอาญา ศาล หรื อสานักงานคุ้มครองพยาน แล้ วแต่ กรณี
อาจจัดให้ พยานอยู่ในการคุ้มครองตามที่เห็นสมควร หรื อตามที่พยานหรื อ
บุคคลอื่นใด ซึ่ งมีประโยชน์ เกี่ยวข้ องได้ ร้องขอ และในกรณีจาเป็ นบุคคล
ดังกล่ าวจะขอให้ พนักงานตารวจหรือเจ้ าหน้ าที่อื่นช่ วยให้ ความคุ้มครองแก่
พยานได้ ตามความจาเป็ น ทั้งนีต้ ้ องได้ รับความยินยอมของพยานด้ วย
พยานร้ องขอให้ ใช้ มาตรการทัว่ ไปกับบุคคลอืน่
(ตามพระราชบัญญัตคิ ้ ุมครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546)
มาตรา 7 ในกรณีที่สามี ภริยา ผู้บุพการี ผู้สืบสั นดานของพยาน หรือ
บุคคลอื่นที่มีความสั มพันธ์ ใกล้ ชิดกับพยานซึ่ งมีผลต่ อการที่พยานจะ
มาเป็ นพยานอาจไม่ ไ ด้ รั บ ความปลอดภั ย และพยานได้ ร้ องขอให้
เจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ องพิจารณานามาตรการทั่วไปในการคุ้มครองพยาน
มาใช้ บังคับแก่ บุคคลดังกล่ าวได้ ตามความจาเป็ นที่เห็นสมควร เว้ นแต่
บุคคลดังกล่าวจะไม่ ให้ ความยินยอม
มาตรการทัว่ ไปในการคุ้มครองพยาน
(ตาม
มาตรา 6 พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546)
ร้ องขอ
ดาเนินการเอง
พยานและผู้ให้ ข้อมูล
ที่เป็ นประโยชน์
1
เจ้ าหน้ าที่/หน่ วยงาน
ที่เกีย่ วข้ อง
(คัดกรอง)
แจ้ งเจ้ าหน้ าที่
ตารวจ หรือ
เจ้ าหน้ าที่อนื่
ดาเนินการ
การคุ้มครองให้ ความปลอดภัย
- อารักขาให้ ความปลอดภัย
- จัดให้ อยู่ในสถานที่ที่ปลอดภัย
- ปกปิ ดข้ อมูลที่สามารถระบุ
พยานได้
อ า จ จั ด ใ ห้ พ ย า น อ ยู่ ใ น ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ ง
ในกรณีพยานอาจไม่ ได้ รับความปลอดภัย
2
เจ้ าหน้ าที่หน่ วยงานที่เกีย่ วข้ อง
พยานยินยอม
มาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยาน
(ตามพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546)
มาตรา 9 เมื่อปรากฏแน่ ชัดหรือมีเหตุอนั สมควรสงสั ยว่ าพยานจะไม่ ได้
รั บ ความปลอดภั ย พยานหรื อ บุ ค คลอื่น ใดซึ่ ง มี ป ระโยชน์ เ กี่ย วข้ อ ง
พนั ก งานผู้ มีอ านาจสื บ สวนคดีอ าญา พนั กงานผู้ มี อานาจสอบสวน
คดี อ าญา หรื อ พนั ก งานผู้ มี อ านาจฟ้ องคดี อ าญา อาจยื่ น ค าร้ องต่ อ
รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรมหรื อผู้ที่ได้ รับมอบหมาย เพื่อขอใช้
มาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยาน ทั้งนี้ ต้ องได้ รับความยินยอมของ
พยาน
ประเภทคดีความผิดทีส่ ามารถร้ องขอใช้ มาตรการพิเศษ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
คดีความผิดตามกฎหมายเกีย่ วกับยาเสพติด
คดีตามกฎหมาย ว่ าด้ วยปราบปรามการฟอกเงิน
คดีตามกฎหมาย ว่ าด้ วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
คดีตามกฎหมาย ว่ าด้ วยศุลกากร
คดีเกีย่ วกับความมั่นคงแห่ งราชอาณาจักร
คดีเกีย่ วกับเพศ
คดีความผิดเกีย่ วกับองค์กรอาชญากรรม
คดีความผิดทีอ่ ตั ราโทษอย่ างตา่ ให้ จาคุกตั้งแต่ สิบปี ขึน้ ไป หรือ
โทษสถานที่หนักกว่ านั้น
9. คดีทสี่ านักงานคุ้มครองพยานเห็นสมควรให้ ความคุ้มครอง
มาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยาน
(ตามมาตรา 9 พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546)
พยานและผู้ให้ ข้อมูล
ที่เป็ นประโยชน์ หรือ
เจ้ าหน้ าที่ที่เกีย่ วข้ อง
ยืน่ คาร้ อง
กรณีไม่ อนุมัตพิ ยานฯ
อุทธรณ์ ต่อศาลยุตธิ รรม
ชั้นต้ น/ศาลทหารชั้นต้ น
สานักงานคุ้มครอง
พยาน
กรมคุ้มครองสิทธิ
และเสรีภาพ
กระทรวงยุตธิ รรม
เสนอรัฐมนตรี
ว่าการกระทรวง
ยุตธิ รรม/ผู้ทไี่ ด้ รับ
มอบหมาย
รมต.พิจารณาอนุมตั ิ
หรือไม่ อนุมัติ
กรณี รมต. อนุมัติ สนง.
คุ้มครองพยานฯ ดาเนินการ
หรือประสานหน่ วยงานอืน่
การคุ้มครองให้ ความปลอดภัย
- ย้ ายที่อยู่จดั ที่พกั ให้
จ่ ายค่าเลีย้ งชีพ
เปลีย่ นชื่อตัวชื่อสกุลและ
หลักฐานทางทะเบียนและการ
ดาเนินการกลับสู่ สถานะเดิมตาม
คาร้ องขอของพยาน
- จัดหาอาชีพ/การศึกษา/
ดาเนินการใดเพือ่ ให้ พยานดารง
ชีพอยู่ได้ ตามความเหมาะสม
- ช่ วยเหลือในการเรียกร้ องสิ ทธิ
ที่พงึ ได้ รับ
จัดเจ้ าหน้ าที่คุ้มครองความ
ปลอดภัย
ดาเนินการอืน่ ใดตามที่สมควร
มาตรการคุ้มครองผู้กล่ าวหา พยาน และผู้เกีย่ วข้ องตาม
พระราชบัญญัตมิ าตรการของฝ่ ายบริหารในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2551
มาตรา 24 กรณีผ้กู ล่าวหาได้กล่าวหาด้วยวาจา และไม่ประสงค์จะเปิ ดเผยตน
จะได้ รับการคุ้มครองโดยห้ ามพนักงานหรือเจ้ าหน้ าที่ ป.ป.ท. เปิ ดเผยชื่อ ทีอ่ ยู่ รวมทั้ง
หลักฐานอืน่ ใด ทีเ่ ป็ นการแสดงตัวของผู้กล่ าวหา
(มาตรา 64 หากเจ้าหน้าที่เปิ ดเผยข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ
ป.ป.ท. และมิใช่เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน )
มาตรา 53 เพือ่ ประโยชน์ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ สานักงานอาจจัดให้ มี
มาตรการคุ้มครองเบือ้ งต้ น สาหรับผู้กล่ าวหา ผู้เสี ยหาย ผู้ทาคาร้ อง ผู้ร้องทุกข์ กล่ าวโทษ
ผู้ให้ ถ้อยคา หรือผู้ทแี่ จ้ งเบาะแส หรือ ข้ อมูลใดเกีย่ วกับการทุจริตในภาครัฐ หรือข้ อมูลอืน่
อันเป็ นประโยชน์ ต่อการดาเนินงานตามพระราชบัญญัตินี้
แนวทางการดาเนินงานตาม มาตรา 53
การเก็บรั กษาข้ อมูล เบาะแส หรื อเรื่ องร้ องเรี ยน ทั้งจากพยาน
บุคคล พยานเอกสาร ภายใต้ หลักการ Security report โดยใช้
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) เป็ นเครื่ องมือในการจัดเก็บ
และประมวลผล ตามสถานะชั้ นความลั บ ของข้ อ มู ล จาก
แหล่ ง ข่ าวทุ ก ประเภทเพื่ อ รั ก ษาความลั บ ตลอดเส้ นทาง
กระบวนงานของสานักงาน ป.ป.ท.
“ รวดเร็ว ปกปิ ด ปลอดภัย ”
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ ายบริหารในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2551
มาตรา 54 กาหนดว่ าในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นว่ าคดีใด
สมควรจั ด ให้ มี ม าตรการคุ้ ม ครองช่ วยเหลือ แก่ บุ ค คลตามมาตรา 53
(ผู้กล่ าวหา ผู้เสี ยหาย ผู้ทาคาร้ อง ผู้ร้องทุกข์ กล่ าวโทษ ผู้ให้ ถ้อยคาหรื อ
ผู้ที่แจ้ งเบาะแสหรือข้ อมูลใดที่เกี่ยวกับการทุจริตในภาครัฐหรือข้ อมูลอื่น
อันเป็ นประโยชน์ ) ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ท. แจ้ งหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง
เพื่อดาเนินการให้ มีมาตรการในการคุ้มครองบุคคลดังกล่ าว โดยให้ ถือว่ า
บุคคลดังกล่ าวเป็ นพยานที่มีสิทธิได้ รับการคุ้มครองตามมาตรการว่ าด้ วย
การคุ้มครองพยานในคดีอาญาฯ
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ ายบริหารในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2551
มาตรา 54 วรรค 2 ในกรณีเกิดความเสี ย หายแก่ ชีวิตร่ างกาย อนามัย
ชื่ อเสี ยง ทรั พย์ สินหรื อสิ ทธิอย่ างใดอย่ างหนึ่ง ของบุคคลตามวรรคหนึ่ง
หรื อสามี ภริ ยา ผู้บุพการี ผู้สืบสั นดาน หรื อบุคคลอื่นที่มีความสั มพันธ์
ใกล้ ชิ ด กั บ บุ ค คลดั ง กล่ า ว เพราะมี ก ารกระท าผิ ด อาญาโดยเจตนา
เนื่องจากการดาเนินการหรื อการให้ ถ้อยคา หรื อแจ้ งเบาะแส หรื อข้ อมูล
ต่ อคณะกรรมการ ป.ป.ท. ให้ บุคคลนั้นมีสิทธิยื่นคาร้ องต่ อหน่ วยงานที่
รับผิดชอบเพือ่ ขอรับค่ าตอบแทนเท่ าที่จาเป็ นและสมควรตามกฎหมายว่ า
ด้ วยการคุ้มครองพยานในคดีอาญา
ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่ าด้ วยค่ าตอบแทนและค่ าใช้ จ่ายแก่พยาน สามี
ภริยา ผู้บุพการี ผู้สืบสั นดานของพยานหรือบุคคลอืน่ ทีม่ ีความสั มพันธ์ ใกล้ชิดกับ
พยานในคดีอาญา พ.ศ. 2547
การจ่ ายค่ าตอบแทน มี 2 กรณี
1) กรณีให้ ถ้อยคาเป็ นพยาน : ในเขตจังหวัดหรือนอกเขตจังหวัด
2) กรณีได้ รับความเสี ยหาย : แก่ชีวติ ร่ างกาย อนามัย เสรีภาพ ชื่อเสี ยง
ทรัพย์ สิน หรือสิ ทธิอย่ างหนึ่งอย่ างใด มีสิทธิ
ได้ รับค่ าตอบแทนตามอัตราระเบียบกาหนด
ค่ าใช้ จ่าย กาหนดตามมาตรการคุ้มครองพยาน
1) ค่ าใช้ จ่ายจากการดาเนินงานตามมาตรการทัว่ ไปในการคุ้มครองพยาน
2) ค่ าใช้ จ่ายจากการดาเนินงานตามมาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยาน
การจ่ ายค่ าตอบแทน
(ตาม
พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546)
1.
มาตรา 17 กรณีพยานที่ได้ ให้ ข้อเท็จจริงต่ อพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือเบิก
ความต่ อศาลแล้ วพยานมีสิทธิได้ รับค่ าตอบแทน หรือค่ าใช้ จ่าย (ระเบียบกระทรวง
ยุติธรรมว่ าด้ วยค่ าตอบแทนฯ ข้ อ 8)
- ครั้งละ 200 บาท ( สาหรับพยานที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัด )
- ครั้งละ 500 บาท ( สาหรับพยานที่อาศัยอยู่นอกเขตจังหวัด )
2.
มาตรา 15 ในกรณีเกิดความเสี ยหายแก่ ชีวิต ร่ างกาย อนามัย เสรี ภาพ ชื่อเสี ยง ทรัพย์ สิน
หรือสิ ทธิอย่ างหนึ่งอย่ างใดของพยาน หรื อสามี ภริยา ผู้บุพการี ผู้สืบสั นดานหรือบุคคล
อื่นที่มีความสั มพันธ์ ใกล้ ชิดกับพยาน เพราะมีการกระทาผิดอาญาโดยเจตนาเนื่องจาก
การที่พยานจะมาหรื อได้ มาเป็ นพยาน บุคคลนั้นมีสิทธิที่จะได้ รับค่ าตอบแทนที่จาเป็ น
และสมควร (ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่ าด้ วยค่ าตอบแทนฯ ข้ อ 16 ,18)
ค่ าใช้ จ่าย
1.
มาตรการทัว่ ไปในการคุ้มครองพยาน (พ.ร.บ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา
พ.ศ.2546 มาตรา 6)
- ค่ าใช้ จ่ายในการคุ้มครองพยาน สามี ภรรยา ผู้บุพการี ผู้สืบสั นดานของพยาน
หรือบุคคลอืน่ ทีม่ คี วามใกล้ ชิดกับพยาน เบิกจ่ ายได้ ตามอัตรา (ระเบียบ
กระทรวงยุตธิ รรมว่ าด้ วยค่ าตอบแทนฯ ข้ อ 19, 20)
2. มาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยาน (พ.ร.บ. คุ้มครองพยานในคดีอาญา
พ.ศ.2546 มาตรา 8, 9, 10)
- ค่ าใช้ จ่ายตามมาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยาน สามี ภรรยา ผู้บุพการี
ผู้สืบสั นดานของพยาน หรือบุคคลอืน่ ทีม่ คี วามใกล้ ชิดกับพยานเบิกจ่ ายได้ ตาม
อัตรา (ระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่ าด้ วยค่ าตอบแทนฯ ข้ อ 22, 23)
การตอบแทนคุณความดีเป็ นรางวัลหรือประโยชน์ อนื่ ใด
มาตรา 55 คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจจั ด ให้ มี ร างวัล ตอบแทน
หรื อประโยชน์ อื่นใดแก่ บุคคลตามมาตรา 53 (ผู้กล่ าวหา ผู้เสี ยหาย ผู้ทา
คาร้ อง ผู้ร้องทุกข์ กล่าวโทษ ผู้ให้ ถ้อยคาหรือ ผู้ทแี่ จ้ งเบาะแสหรือข้ อมูลใด
ทีเ่ กีย่ วกับการทุจริตในภาครัฐ หรือข้ อมูลอืน่ อันเป็ นประโยชน์ )
- เงินรางวัล /สิ นบนรางวัล
- เข็มเชิดชู เกียรติ /โล่ห์ประกาศเกียรติคุณ
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ ายบริหารในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2551
การให้ รางวัลตอบแทน กรณีเป็ นเจ้ าหน้ าที่รัฐ
มาตรา 56 ในกรณี บุ ค คลตามมาตรา 53 เป็ นเจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ และ
คณะกรรมการป.ป.ท. เห็นว่ าการดาเนินการหรื อการให้ ถ้อยคา หรื อการ
แจ้ งเบาะแสหรื อข้ อมูลของบุคคลดังกล่ าวเป็ นประโยชน์ ต่อการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริ ตอย่ างยิ่งและสมควรได้ รับการยกย่ องให้ เ ป็ น
แบบอย่ างแก่ เจ้ าหน้ าที่ของรั ฐและประชาชนโดยทั่วไป คณะกรรมการ
ป.ป.ท. อาจเสนอคณะรัฐมนตรีเพือ่ พิจารณาเลือ่ นขั้นเงินเดือน และระดับ
ตาแหน่ งให้ แก่บุคคลนั้นเป็ นกรณีพเิ ศษก็ได้
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ ายบริหารในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2551
การดูแลเจ้ าหน้ าทีร่ ัฐทีใ่ ห้ ข้อมูล
มาตรา 57 ในกรณีทบี่ ุคคลตามมาตรา 53 เป็ นเจ้ าหน้ าที่ของรัฐเมื่อ
บุคคลนั้นร้ องขอต่ อคณะกรรมการ ป.ป.ท. ว่ าหากยังคงปฏิบัติหน้ าที่ใน
สั งกัดเดิมต่ อไป อาจถูกกลั่นแกล้ งหรื อได้ รับการปฏิบัติโดยไม่ เป็ นธรรม
อั น เนื่ อ งจากการกล่ า วหาหรื อ การให้ ถ้ อ ยค า หรื อ แจ้ ง เบาะแส หรื อ
ข้ อมูลนั้นและคณะกรรมการ ป.ป.ท. พิจารณาแล้ วเห็นว่ ามีเหตุอันควร
เชื่อได้ ว่าน่ าจะมีเหตุดังกล่ าว ให้ เสนอนายกรัฐมนตรีเพือ่ พิจารณาสั่ งการ
ให้ ได้ รับการคุ้มครองหรือมีมาตรการอืน่ ใดตามทีเ่ ห็นสมควรต่ อไป
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ ายบริหารในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2551
มาตรการพิเศษ : การกันบุคคลไว้ เป็ นพยาน
มาตรา 58 บุคคลหรื อผู้ถูกกล่ าวหารายใดซึ่ งมีส่วนเกี่ยวข้ องในการ
กระทาผิดกับเจ้ าหน้ าที่รัฐซึ่ งเป็ นผู้ถูกกล่ าวหารายอื่น หากได้ ให้ ถ้อยคา
หรื อแจ้ งเบาะแส หรื อข้ อมูลอันเป็ นสาระสาคัญในการที่จะใช้ เป็ นพยาน
ในการวินิจฉั ยชี้มูลการกระทาผิดของเจ้ าหน้ าที่ของรั ฐรายอื่นนั้น หาก
คณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นสมควรจะกันผู้น้ันไว้ เป็ นพยาน โดยจะไม่
ดาเนินคดีกไ็ ด้
“ การจับผู้ร้ายนั้น ไม่ ถอื เป็ นความชอบ
เป็ นแต่ นับว่ าผู้น้ัน ได้ กระทาการครบถ้ วนแก่ หน้ าที่เท่ านั้น
แต่ จะถือเป็ นความชอบก็ต่อเมื่อ
ได้ ปกครองป้องกันเหตุร้าย
ให้ ชีวติ และทรัพย์ สมบัติของข้ าแผ่ นดินในท้ องที่นั่น
อยู่เย็นเป็ นสุ ขพอสมควร ”
พระบรมราโชวาท รัชกาลที่ ๕
สานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปราม
การทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.)
กระทรวงยุตธิ รรม
www.pacc.go.th
ั
ั
มุมมองจากสงคมโลกในเรื
อ
่ งการคอร์ร ัปชน
ประเทศ
ฟิ นแลนด์
นิวซีแลนด์
เดนมาร์ ก
สิ งคโปร์
สวีเดน
ไอซแลนด์
คะแนนดัชนีการคอร์ รัปชั่น (Corruption Perception Index-CPI) )2544-2550
เฉพาะ 6 อันดับแรก และ 6 อันดับสุ ดท้ าย และประเทศไทย
2550
2549
2548
2547
2546
2545
2544
เฉลีย่ 7 ปี
1
1
2
1
1
1
1
1.14
9.4
9.6
9.6
9.7
9.7
9.7
9.9
9.66
1
1
2
2
3
2
3
2.17
9.4
9.6
9.6
9.6
9.5
9.5
9.4
9.51
1
4
4
3
3
2
2
3.00
9.4
9.5
9.5
9.5
9.5
9.5
9.5
9.49
4
5
5
5
5
5
4
4.83
9.3
9.4
9.4
9.3
9.4
9.3
9.2
9.33
4
6
6
6
6
5
6
5.57
9.3
9.2
9.2
9.2
9.3
9.3
9.0
9.21
6
1
1
3
2
4
4
2.50
9.2
9.6
9.7
9.5
9.6
9.4
9.2
9.46
ประเทศ
ไทย
2550
2549
2548
2547
2546
2545
2544
เฉลีย่ 7 ปี
84
63
59
64
70
64
61
66.43
3.3
3.6
3.8
3.6
3.3
3.2
3.2
3.43
........
....
....
....
....
....
....
....
....
ตองกา
175
NA
NA
NA
NA
NA
NA
175
1.7
NA
NA
NA
NA
NA
NA
1.7
175
151
137
114
100
68
71
116.57
1.7
2.1
2.2
2.3
2.4
2.9
2.7
2.33
178
163
155
145
131
89
NA
143.50
1.6
1.8
1.8
1.5
1.5
2.2
NA
1.73
178
160
137
129
113
NA
NA
143.40
1.5
1.9
2.2
2.1
2.2
NA
NA
1.98
179
160
155
142
129
NA
NA
153.00
1.4
1.9
1.8
1.7
1.6
NA
NA
1.68
179
NA
144
NA
NA
NA
NA
159.50
1.4
NA
2.1
NA
NA
NA
NA
1.75
อุซเบกิสถาน
ไฮติ
อิรัก
พม่ า
โซมาเลีย