state enterprise law focus : รายแห่ง

Download Report

Transcript state enterprise law focus : รายแห่ง

สำน ักงำนคณะกรรมกำรนโยบำยร ัฐวิสำหกิจ (สคร.) : กระทรวงกำรคล ัง
STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รำยแห่ง
www.sepo.go.th
ข้อมูลทว่ ั ไป
ั ัด : กระทรวงคมนาคม
สงก
ประธำนกรรมกำร : นำยธีรพล นพร ัมภำ
กรรมกำรผูแ
้ ทน กค. : 1. นายสมชัย สัจจพงษ์
2. นายประสงค์ พูนธเนศ
Website: www.airportthai.co.th
โทร. 0 2535 1111
ั
ข้อมูลเกีย
่ วก ับสญญำจ้
ำงผูบ
้ ริหำรสูงสุด
ผูบ
้ ริหำร (CEO) : อยูร่ ะหว่างการสรรหา
ั
สญญำจ้
ำงลงว ันที่ :
ระยะเวลำจ้ำง :
 วาระที่ 1
วาระที่ 2
ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO:
 Board  รอง CEO  บุคคลภายนอก
• รอง CEO  พนักงาน
 สัญญาจ ้าง
• CFO
พนักงาน
 สัญญาจ ้าง
เงินเดือนพน ักงำน
กลุม
่ โครงสร ้างเงินเดือน
บอร์ดกาหนดโครงสร ้างเงินเดือนได ้เอง
 มีบัญชีโครงสร ้างเงินเดือนของตนเอง
 ใช ้บัญชีโครงสร ้างเงินเดือน 58 ขัน
้
Mix-min ของเงินเดือน = 6,180 - 277,000บาท
ปริญญาตรี (๔ ปี ) = 11,500 บาท
จานวนพนักงาน = 4,134 คน (31 พ.ค. 54)
มติ ครม. ทีย
่ กเว้นกำรปฏิบ ัติเรือ
่ งต่ำง ๆ
 ยกเว ้นการปฏิบัตต
ิ ามระเบียบ ข ้อบังคับ และมติ
คณะรัฐมนตรีทใี่ ช ้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป
 ยกเว ้นการปฏิบัตต
ิ ามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ.
แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543
กำรดำเนินกำรตำมพ.ร.บ. ว่ำด้วยกำรให้เอกชนเข้ำ
ร่วมงำนหรือดำเนินกำรในกิจกำรของร ัฐ พ.ศ. 2535
มีโครงการ จานวน 6 โครงการ
้ เพลิงอากาศยาน (1)
• โครงการระบบให ้บริการเชือ
อยูใ่ นขัน
้ ตอน คกก. ม.22
้ เพลิงอากาศยาน (2)
• โครงการระบบให ้บริการเชือ
อยูใ่ นขัน
้ ตอน คกก. ม. 22
• โครงการครัวการบิน (1) อยูใ่ นขัน
้ ตอน คกก. ม.22
• โครงการครัวการบิน (2) อยูใ่ นขัน
้ ตอน คกก. ม.22
• โครงการอุปกรณ์บริการภาคพืน
้ และสิง่ อานวยความ
สะดวกด ้านการซ่อมบารุง อยูใ่ นขัน
้ ตอน คกก. ม.22
• โครงการคลังสินค ้า อยูใ่ นขัน
้ ตอน คกก. ม.22
หมำยเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัตบ
ิ ค
ุ ลากร
รัฐวิสาหกิจจะต ้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัต ิ
มาตรฐานฯ กฎหมายจัดตัง้ รัฐวิสาหกิจและกฎหมายอืน
่
ทีเ่ กีย
่ วข ้องประกอบกัน
ทีม
่ ำของข้อมูล
สัญญาจ ้างผู ้บริหาร  www.krisdika.go.th
มติคณะรัฐมนตรี
ประสานงานกับเจ ้าหน ้าทีร่ ัฐวิสาหกิจ
สานักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 1
ผู ้อานวยการส่วน : ผู ้จัดทา : นางสาวชัชดาภา จารุรังสรรค์
โทร. 0 2298 5880-9 ต่อ 6746
วันทีจ
่ ัดทา : 31 พ.ค. 54 (update)
ควำมเห็นคณะกรรมกำรกฤษฎีกำทีเ่ กีย
่ วข้อง
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) (ทอท.)
พระรำชบ ัญญ ัติคณ
ุ สมบ ัติมำตรฐำนสำหร ับกรรมกำรและพน ักงำน
ร ัฐวิสำหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ และทีแ
่ ก้ไขเพิม
่ เติม
• คุณสมบ ัติและล ักษณะต้องห้ำมของบุคลำกรร ัฐวิสำหกิจ ประกอบด้วย
กรรมการ (ม.5) ผู ้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9)
• จำนวนกรรมกำร ไม่เกิน 11 คน แต่ถ ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข ้อกาหนดให ้มีกรรมการน ้อยกว่า 11 คน
ก็ให ้เป็ นไปตามทีก
่ าหนดไว ้ แต่ถ ้าจาเป็ นต ้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให ้รัฐมนตรีเจ ้าสังกัด
ขออนุมัตจิ าก ครม. แต่รวมแล ้วต ้องไม่เกิน 15 คน (ม. 6)
• กำรน ับจำนวนกำรดำรงตำแหน่งของกรรมกำรในร ัฐวิสำหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวม
การเป็ นกรรมการโดยตาแหน่ง การได ้รับมอบหมายให ้ปฏิบัตริ าชการแทน แต่ไม่รวมการเป็ น
กรรมการโดยตาแหน่งทีไ่ ด ้มีการมอบหมายให ้ผู ้อืน
่ ปฏิบัตริ าชการแทน (ม. 7)
• วำระกำรดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีเป็ นกรรมการของรัฐวิสาหกิจทีม
่ ใิ ช่กรรมการโดยตาแหน่ง
แต่อาจได ้รับแต่งตัง้ ใหม่ได ้ (ไม่ใช ้บังคับแก่กรรมการของบริษัทจากัด) (ม. 8 วรรคสองและ
วรรคสาม)
่ กรรมการ
• กำรแต่งตงกรรมกำรอื
ั้
น
่ ผู ้มีอานาจพิจารณาแต่งตัง้ จากบุคคลในบัญชีรายชือ
ทีก
่ ระทรวงการคลังจัดทาขึน
้ ไม่น ้อยกว่า 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการอืน
่ ของรัฐวิสาหกิจนัน
้
(ม. 12/1 วรรคหนึง่ )
ั
• กำรกำหนดค่ำตอบแทนและร่ำงสญญำจ้
ำงผูบ
้ ริหำรสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ
กาหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด)
ข้อบ ังค ับของ บริษ ัท ท่ำอำกำศยำนไทย จำก ัด
• จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมกำร : ไม่น ้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน เลือกตัง้
โดยทีป
่ ระชุมผู ้ถือหุ ้น โดยมีกรรมการอิสระไม่น ้อยกว่า 3 คน และกรรมการไม่น ้อยกว่ากึง่ หนึง่
ต ้องมีถน
ิ่ ทีอ
่ ยูใ่ นราชอาณาจักร และกรรมการอย่างน ้อย 1 คนต ้องมีความรู ้ความสามารถในด ้าน
การบัญชีและการเงิน (ข ้อ 36)
• วำระกำรดำรงตำแหน่ง : ในการประชุมสามัญประจาปี ทุกครัง้ ให ้กรรมการออกจากตาแหน่ง
ตามวาระเป็ นจานวนหนึง่ ในสามทุกปี ถ ้าแบ่งออกให ้ตรงเป็ นสามส่วนไม่ได ้ก็ให ้ออกโดยจานวน
ใกล ้เคียงทีส
่ ด
ุ และกรรมการทีอ
่ อกตามวาระอาจถูกเลือกเข ้ามาดารงตาแหน่งใหม่ก็ได ้ (ข ้อ 39)
• กำรแต่งตงกรรมกำร
ั้
: ทีป
่ ระชุมผู ้ถือหุ ้นเลือกตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธก
ี ารทีก
่ าหนด
(ข ้อ 38)
• ผูม
้ อ
ี ำนำจแต่งตงบริ
ั้
หำรสูงสุด : คณะกรรมการ ทอท. เลือกตัง้ กรรมการคนหนึง่ เป็ น
กรรมการผู ้อานวยการใหญ่ (ข ้อ 36 วรรคท ้าย)
คุณสมบ ัติเพิม
่ เติมจำก พ.ร.บ. คุณสมบ ัติมำตรฐำนสำหร ับกรรมกำรและพน ักงำน
ร ัฐวิสำหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘
•ห ้ามมิให ้กรรมกำรประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการ
ของบริษัทหรือเข ้าเป็ นหุ ้นส่วนในห ้างหุ ้นส่วนสามัญ หรือเป็ นหุ ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดในห ้าง
หุ ้นส่วนจากัดหรือเป็ นกรรมการของบริษัทอืน
่ ไม่วา่ บริษัทเอกชนหรือบริษัทมหาชนทีป
่ ระกอบ
กิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท ไม่วา่ จะทาเพือ
่
ประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู ้อืน
่ เว ้นแต่กรรมการผู ้นัน
้ จะได ้แจ ้งให ้ทีป
่ ระชุมผู ้ถือหุ ้นทราบก่อน
ทีจ
่ ะมีมติแต่งตัง้ ตนเป็ นกรรมการ (ข ้อ 51)
อำนำจพิเศษตำมพระรำชกฤษฎีกำกำหนดอำนำจ สิทธิ และประโยชน์ของ บมจ. ทอท.
พ.ศ. 2545
ิ ธิพเิ ศษหรือได ้รับ
• ในการประกอบกิจการท่าอากาศยาน ให ้บริษัทมีอานาจได ้รับยกเว ้น มีสท
ความคุ ้มครองตามทีก
่ ฎหมายว่าด ้วยการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยหรือกฎหมายอืน
่ ได ้
บัญญัตไิ ว ้ให ้แก่ ทอท. เว ้นแต่กรณีทบ
ี่ ัญญัตไิ ว ้ตามมาตรา 5 และมาตรา 6 (มาตรา 4)
ิ ของบริษัทเท่าทีจ
•ให ้ทรัพย์สน
่ าเป็ นในการประกอบกิจการท่าอากาศยานทีจ
่ ะก่อให ้เกิด
ประโยชน์ตอ
่ ส่วนรวมไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี (มาตรา 5)
•ในการปฏิบัตห
ิ น ้าทีเ่ พือ
่ รักษาความปลอดภัยในเขตท่าอากาศยาน ให ้ลูกจ ้างของบริษัท
เฉพาะทีร่ ัฐมนตรีแต่งตัง้ เพือ
่ การนีเ้ ป็ นเจ ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาและเป็ นพนักงาน
้ ผู ้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธพ
ฝ่ ายปกครองหรือตารวจชัน
ี จิ ารณาความอาญา(มาตรา 6)
้ จ ัดจ้ำง
สิทธิพเิ ศษตำมมติคณะร ัฐมนตรีเกีย
่ วก ับกำรจ ัดซือ
ิ ธิพเิ ศษเกีย
้ จัดจ ้างตามมติคณะรัฐมนตรี
ไม่ปรากฎว่ามีสท
่ วกับการจัดซือ
ต่อด้ำนหล ัง
สำน ักงำนคณะกรรมกำรนโยบำยร ัฐวิสำหกิจ (สคร.) : กระทรวงกำรคล ัง
STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รำยแห่ง
www.sepo.go.th
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) (ทอท.)
ควำมเห็นคณะกรรมกำรกฤษฎีกำทีเ่ กีย
่ วข้อง (ต่อ)
้ ระรำชบ ัญญ ัติวำ
เรือ
่ งเสร็จที่ ๑๓๕/๒๕๕๐ เรือ
่ ง กำรบ ังค ับใชพ
่ ด้วยกำรให้เอกชนเข้ำร่วมงำนหรือดำเนินกำรในกิจกำรของร ัฐ พ.ศ. ๒๕๓๕
กรณีโครงกำรอนุญำตประกอบกิจกำรจำหน่ำยสินค้ำปลอดอำกร ณ ท่ำอำกำศยำนสุวรรณภูมแ
ิ ละท่ำอำกำศยำนภูมภ
ิ ำคและโครงกำรบริหำร
จ ัดกำรกิจกรรมเชิงพำณิชย์ ณ อำคำรผูโ้ ดยสำรท่ำอำกำศยำนสุวรรณภูม ิ
ิ ตามบทนิยาม“โครงการ” ในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยการให ้เอกชน
คณะกรรมการกฤษฎีกาได ้เคยวางบรรทัดฐานเกีย
่ วกับวงเงินหรือทรัพย์สน
ิ ของการลงทุนในกิจการของรัฐในส่วนของรัฐและในส่วนของเอกชน
เข ้าร่วมงานหรือดาเนินการในกิจการของรัฐฯ ไว ้ว่า หมายความถึง วงเงินหรือทรัพย์สน
ิ
ทีเ่ ข ้ามาร่วมลงทุนในโครงการซึง่ จะทาให ้โครงการนัน
้ บรรลุผล และสามารถดาเนินกิจการนัน
้ ให ้คงอยูไ่ ด ้ เช่น มูลค่าของทีด
่ น
ิ อาคาร หรือทรัพย์สน
ในการดาเนินโครงการ เป็ นต ้น โดยต ้องพิจารณามูลค่าของการลงทุนทีแ
่ ท ้จริงทัง้ หมดตลอดทัง้ โครงการประกอบกับคณะกรรมการกฤษฎีกาได ้เคยวินจ
ิ ฉั ย
ให ้ความเห็นกรณีโครงการจัดตัง้ ร ้านค ้าปลอดอากร ณ สนามบินสุวรรณภูม ิ ไว ้แล ้วว่า โครงการดังกล่าวเป็ นการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานหรือดาเนินการ
ในกิจการของรัฐตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานหรือดาเนินการในกิจการของรัฐฯ โดยการประเมินวงเงินการลงทุนของโครงการนัน
้
้ สินค ้าคงคลังเพือ
จะต ้องนาวงเงินการลงทุนในการซือ
่ การจาหน่าย เฉพาะในส่วนทีจ
่ ะต ้องจัดให ้มีและเป็ นสาระสาคัญอันจะทาให ้โครงการดังกล่าวบรรลุผล
มารวมเข ้ากับมูลค่าของทีด
่ น
ิ อาคารและอุปกรณ์ทเี่ กีย
่ วข ้องด ้วย สาหรับการคานวณมูลค่าของอาคารนัน
้ เห็นว่า การคานวณมูลค่าของอาคารเพือ
่ นามารวม
คานวณมูลค่าการลงทุนของโครงการอนุญาตประกอบกิจการจาหน่ายสินค ้าปลอดอากรฯ และโครงการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงพาณิชย์ฯ ได ้แก่ มูลค่า
ิ ธิเข ้าใช ้ในการดาเนินการหรือประกอบกิจการทัง้ หมดในแต่ละโครงการ โดยไม่ต ้องนาค่าเสือ
่ มราคา
ของอาคารทีแ
่ ท ้จริงเฉพาะส่วนทีอ
่ นุญาตให ้เอกชนมีสท
ของอาคารมาคานวณนับรวมด ้วย
ั
เรือ
่ งเสร็จที่ ๔๐๙/๒๕๕๑ เรือ
่ ง กำรเวนคืนอสงหำริ
มทร ัพย์ตำมมำตรำ ๔๒ ของร ัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจ ักรไทย
วัตถุประสงค์ของการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพือ
่ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล ้อมตามทีก
่ าหนดเป็ นเงือ
่ นไขในมาตรา ๔๒๑ ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย นัน
้ มุง่ หมายทีจ
่ ะทาให ้บริเวณทีม
่ ก
ี ารเวนคืนมีคณ
ุ ภาพสิง่ แวดล ้อมทีด
่ ข
ี น
ึ้ หรือคงไว ้ซึง่ สิง่ แวดล ้อมทีด
่ ด
ี งั เดิม แต่กรณีการเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์บริเวณโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมต
ิ ามที่ ทอท. ประสงค์จะนา ทีด
่ น
ิ ทีไ่ ด ้จากการเวนคืนไปพัฒนาอุตสาหกรรมการขนส่งสินค ้า
ทางอากาศในเขตปลอดอากรระบบ Logistic และส่วนสนับสนุนอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้องนัน
้ มิได ้ทาให ้คุณภาพสิง่ แวดล ้อมบริเวณดังกล่าวดีขน
ึ้ หรือคงไว ้ซึง่
สิง่ แวดล ้อมทีด
่ ด
ี ังเดิมแต่อย่างใด คงมีผลแต่เฉพาะทาให ้ประชาชนทีอ
่ าศัยอยูใ่ นบริเวณดังกล่าวต ้องออกจากพืน
้ ทีเ่ ท่านัน
้ ดังนัน
้ การเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์เพือ
่ แก ้ไขปั ญหาผลกระทบด ้านเสียงของผู ้อาศัยอยูบ
่ ริเวณโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมจิ งึ ไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์เพือ
่ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล ้อมซึง่ เป็ นเงือ
่ นไขทีก
่ าหนดไว ้ในมาตรา ๔๒ ของรัฐธรรมนูญฯ ดังนัน
้ กรณีท ี่ ทอท. จะนาทีด
่ น
ิ ไป
พัฒนาอุตสาหกรรมซึง่ มิใช่วต
ั ถุประสงค์ของการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพือ
่ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล ้อม จึงไม่อาจกระทาได ้