Pull Production

Download Report

Transcript Pull Production

PULL PRODUCTION
นาย คมกริ ช จันทรเสนา 503040811-5
นาย สิ ณฐั
กุลสุทธิไชย
513041133-9
What is the Pull Production?
มุมมองของการผลิตแบบดึง
Pull Production
การผลิตแบบดึงมี
2 มุมมอง
1. ในการผลิต
การผลิตชิ้นงานตาม ความ
ต้ องการของผู้บริโภค
2. ในการควบคุมวัสดุ
เบิกสิ นค้ าคงคลังตาม
ความต้ องการของผู้ใช้
ปลายทาง
Downstream User
Pull Production
Pull System
* ลูกค้าคือคนปล่อยสัญญาณกระตุน้ ให้เกิดการผลิตและการเบิกวัสดุ
* การผลิตจะเริ่ มต้นจากลูกค้าภายนอก (External customer)
* มีการกระตุน้ ส่ งสัญญาณตลอดทางย้อนหลังกลับไปตามกระบวนการผลิต
Comparison
การเปรียบเทียบระหว่างการผลิตแบบผลักกับแบบดึง
• ผลิตคราวละมากๆ
• ผลิตคราวละน้อยๆ
• มีวสั ดุคงคลังสูง
• มีวสั ดุคงคลังน้อย
• เกิดความสูญเปล่ามาก
• เกิดความสูญเปล่าน้อย
• การผลิตยึดตามการพยากรณ์
• การผลิตจะผลิตตามความ
ต้องการของลูกค้า
Pull Production
สิ่ งทีต่ ้ องมีมาก่อน สาหรับระบบการผลิตแบบดึง
ก่อนจะนาระบบดึงมาใช้ คุณจะต้ องมัน่ ใจแล้วว่ ามีทกั ษะและสิ่ งต่ างๆ ดังนี้
Waste
Teamwork
KPI
5S
Multi. Skill
ตระหนักในเรื่องความสู ญเปล่ า
การทางานเป็ นทีมเพือ่ การปรับปรุ งสิ่ งต่ างๆ
ควรมีการวัดสมรรถนะของกระบวนการ
การจัดระเบียบตามหลักการ 5 ส.
พนักงานได้ รับการฝึ กอบรมให้ ทางานได้ หลากหลายด้ าน
Production Control
ระบบจัดการการผลิตคืออะไร?
ระบบจัดการการผลิตคือการสร้างและการสั่งการ และโรงงานก็คือองค์กรซึ่งมีชีวติ ที่มีกลไกทั้ง
เชิงข้อมูลสารสนเทศและเชิงอุปกรณ์ที่ช่วยสนับสนุนให้สินค้ามีการไหลไปยังลูกค้าได้
Information – based
System
Equipment – based
System
ระบบเอกสาร
ระบบกายภาพ
รวมถึงกระบวนการวางแผน
การจัดระบบสื่ อสาร และการ
จัดการโรงงาน ซึ่งเป็ น
กระบวนการทีม่ องเห็นได้ ยาก
รวมถึงอุปกรณ์ ผังโรงงาน
วิธีการขนถ่ าย วิธีการผลิต
และปัจจัยด้ านอุปกรณ์ อนื่ ๆ
ซึ่งเป็ นสิ่ งทีม่ องเห็นได้ ง่าย
Lead Time
เวลานา มีความสาคัญอย่างไร?
ถ้าเราพิจารณาถึงปัญหาที่เกี่ยวกับเวลานาของผลิตภัณฑ์แล้วละก็ การจัดการผลิตทั้ง 2 มุมมองนั้นก็จะต้อง
กลายมาเป็ นจุดสนใจ ซึ่งเวลานาของผลิตภัณฑ์เริ่ มต้นด้วยแผนการผลิตและจบลงด้วยการจัดส่งผลิตภัณฑ์
เวลานาด้ านเอกสาร
เสนอ
แผนการผลิต
การวางแผนการขาย
แผนการผลิต
จัดทา
แผนการผลิต
ขั้นสุ ดท้าย
เวลานาด้ านกายภาพ
ประชุม
วางแผน
ของฝ่ ายการ
ผลิตและฝ่ าย
ขาย
เวลานาใน
การจัดหา
คาสัง่ ซื้อไปยังผู ้
จัดส่งวัตถุดิบ
เวลานาใน
การ
ดาเนินการ
ผลิต
ส่งมอบชิ้นส่วน
ซึ่งจะเห็นว่า เวลานาด้านเอกสารมากว่าเวลานาด้านกายภาพ
เวลานาใน
การจัดส่ ง
จัดส่งผลิตภัณฑ์
Lead Time
“การผลิตแบบดึง” ส่ งผลอย่างไรต่ อเวลานา ?
การผลิตแบบดึงนั้นเป็ นระบบตลาดเป็ นผูก้ าหนด ตัวส่งสัญญาณกระตุน้ จะไม่ใช่การมาถึงของวัสดุละ
ชิ้นส่วนที่ยดึ ตาม “การพยากรณ์ ความต้องการ” ของลูกค้าอีกต่อไป แต่กลับเป็ น “คาสัง่ ซื้อ” ของลูกค้าเอง
การผลิตแบบดึง
เวลานาของลูกค้า
เวลานาในการผลิต
เวลานาในการขนส่ ง
ลูกค้ า
การผลิตแบบผลัก
เวลานาของลูกค้า
เวลานาในการผลิต
เก็บรักษา
เวลานาในการขนส่ง
ลูกค้ า
Inventory
ปัญหาทีม่ าพร้ อมกับสต๊ อกและการผลิตที่มากเกินไป
5 ขั้นตอนสู่ การผลิตแบบดึง
จัดวางอุปกรณ์ไว้รวมกันตามลาดับ
ออกแบบเซลล์การผลิต
ขั้นตอน 2
ระบุกระบวนการในปัจจุบนั
ขั้นตอน1
ขั้นตอน 4
ขั้นตอน 5
เปลี่ยนไปสู่ การไหลแบบทีละขั้น
ขั้นตอน 3
ริ เริ่ มระบบคัมบัง
Takt Time
กุญแจสู่ การวางแผนประจาวันคือการหา Takt Time
คือ อัตราที่ตอ้ งผลิตสิ นค้าเพื่อเติมเต็มคาสัง่ ซื้อของลูกค้า ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อทาให้การผลิตนั้นสอดคล้อง
กันกับปริ มาณความต้องการสิ นค้าของตลาด
สูตรการคานวณ
Takt Time
วัน
จานวนชัว่ โมงทางานต่อ
=
ยอดผลิตที่ตอ้ งการต่อวัน
ยอดผลิตที่ตอ้ งการต่อวัน
ต่อเดือน
=
ยอดผลิตที่ตอ้ งการ
จานวนวันทางานต่อ
เดือน
Kanban
Chapter4
ระบบคัมบังจะใช้บตั รและสัญญาณที่
มองเห็นได้ดว้ ยสายตา(Visual Signal)
อื่นๆ เพื่อควบคุมการไหลและการผลิตของวัสดุ
Kanban
กฎการผลิตแบบดึงด้ วยคัมบัง
ลดจานวนคัมบัง
ลงตลอดเวลา
กระบวนการปลายทางเบิกสิ้นค้ า
จากกระบวนการต้ นทาง
คัมบังต้ องติด
ไปกับชิ้นส่ วนเสมอ
Law
มีการจัดทาการ
ปรับเรียบการผลิต
กระบวนการทีอ่ ยู่ต้นทาง
ผลิตเฉพาะสิ่ งทีถ่ ูกเบิก
ทุกกระบวนการส่ งเฉพาะสิ นค้ า
ทีไ่ ม่ มีความบกพร่ อง 100%
การวิเคราะห์ การผลิตแบบดึง
คุณจะดึงเมื่อไร?
คุณจะดึงวัสดุจากกระบวนการที่ตน้ ทางเฉพาะเวลาที่ตอ้ งการเพื่อมาเติมสิ่ งที่ได้ใช้งานไป
ในการผลิตชิ้นงาน
“ ฉันจะไม่ผลิตจนกว่าจะได้รับสัญญาณ! ”
คุณจะดึงมาจากที่ไหน?
ต้นทางก่อนที่จะมาสู่คุณอาจจะเป็ นกระบวนการที่อยู่
ก่อนหน้า หรื ออาจจะเป็ นผูจ้ ดั ส่งวัตถุดิบ หรื อจุดประกอบย่อยก็ได้
การวิเคราะห์ การผลิตแบบดึง
คุณจะดึงอะไร?
คุณจะเบิกฉะเพราะสิ่ งที่คุณต้องการเพื่อไปทาให้การปฏิบตั ิการของคุณสมบูรณ์เท่านั้น แต่
อะไรก็ตามที่คุณไปดึงจะต้องมีคมั บังเบิกรวมอยูด่ ว้ ย
คุณจะผลิตอะไร?
คุณจะผลิตเพียงเพื่อ “เติม” สิ่ งที่ถูกเบิกไปจากกระบวนการทางานของคุณเท่านั้น
ข้ อกาหนด 7 ประการของการไหล
6
3
1
จัดทาการไหลแบบทีละชิ้น
จัดเรี ยงกระบวนการและ
เครื่ องจักรตามลาดับการผลิต
4
2
ใช้เครื่ องจักรที่มีขนาดเล็กลง
และเฉพาะทางมากขึ้น
สร้างจังหวะของกระบวนการ
ให้สอดคล้องกันตามความ
ต้องการของลูกค้า
5
ใช้วธิ ีการควบคุมหลากหลาย
กระบวนการ
ฝึ กอบรมทักษะ ความรู ้ที่
จาเป็ นสาหรับการทางานที่
หลากหลาย
7
เปลี่ยนการทางานจากนัง่ เป็ น
ยืน เพื่อความคล่องตัว
Pull System
สะดวกและง่ายต่อการ
ขนส่ง และใกล้จุดใช้ง่าย
วิธีการบรรทุก
บรรทุกผลิตภัณฑ์ ผสมกัน
ตามลาดับการส่ งมอบ
ความถี่ในการส่ งมอบ
เพิม่ จานวนครั้งความถี่ในการส่ ง แต่
ลดจานวนชิ้นในการส่ งแต่ ละครั้งลง
วางแผนเส้ นทาง
วางแผนเส้นทางที่ส่งของ
เพื่อให้คุม้ ค่า รวดเร็ว
การเปลี่ยน
การขนส่ ง
การเปลี่ยน
สถานที่ส่งมอบ
ใช้เทคนิคการจัดเก็บ
แบบเข้า-ออกก่อน
จัดภาชนะบรรจุให้มองเห็นได้ชดั เจน
สิ่ งทีท่ ้ าทาย แนวคิด และปัจจัยสู่ ความสาเร็จ
เมื่อคุณได้ นาระบบการผลิตแบบดึงมาใช้
โปรดจาไว้ว่าเงือ่ นไขดังต่ อไปนีเ้ ป็ นสิ่งสาคัญ
ผูน้ าทุกระดับต้องมีความมุ่งมัน่
ปรับการวัดสมรรถนะให้เข้ากับ
การดาเนินงาน
มีทรัพยากรสาหรับการฝึ กอบรม
วิธีการใหม่ๆ
แนวทางสาเร็จ
พฤติกรรมพื้นฐานคือ
“ผลิตเมื่อได้รับสัญญาณ”
ตรวจสอบการผลิตในสายการผลิตทุกวัน
และกาจัดอุปสรรคที่พบ
การปรับปรุ งต้องไม่ลงทุนสู ง
แต่ตอ้ งมีการจัดสรรเวลา
Water Beetle และ Milk Run
Water Beetle มาจากชื่อที่เรียกว่ าแมลง เหนี่ยง
ใช้ เรียก (conveyer)พนักงานทีจ่ ัดส่ งชิ้นส่ วนให้ พนักงานอืน่ ใน
เซลล์หรือสายการผลิต
- ประโยชน์
Milk Run (เส้ นทางวิง่ วน)คือชื่อที่ใช้ เรียกเส้ นทางที่ Water
Beetle ใช้ นการจัดส่ งหรือรับชิ้นงาน
www.themegallery.com
5ระยะของการประยุกต์ ใช้ ระบบดึง
ระยะที่ 1
การตัดสิ นใจนาระบบดึงมาใช้
- พิจารณาข้ อดีของระบบดึงในโรงงานผลิตของคุณ
- พิจารณาสถานะของกิจกรรมการปรับปรุ งในโรงงานผลิต เช่ น
5ส , การปรับเปลีย่ นเครื่องจักรอย่ างรวดเร็ว , อบรมคนงาน , แรงงานใน
โรงงานให้ การสนับสนุนหรือไม่
ระยะที่ 2
การทาความเข้ าใจและการเตรียมตัวสาหรับระบบดึง
- ระบุสายธารคุณค่ าของกระบวนการผลิตของคุณ
- เวลานาสาหรับแต่ ละกระบวนการผลิตของคุณเป็ นเท่ าไร
- เวลาที่ใช้ ขนส่ งในกระบวนการผลิตและระยะทางเป็ นเท่ าไร
- เวลาทีใ่ ช้ ขนส่ งในจุดปฏิบัตกิ ารผลิตและระยะทางเป็ นเท่ าไร
- จุดจัดเก็บในแต่ ละกระบวนการอยู่ทไี่ หนบ้ าง
ระยะที่ 2 (ต่ อ)
- เวลาทีอ่ ยู่ในจุดจัดเก็บคิดเป็ นกีเ่ ปอร์ เซ็นต์ ของเวลานา
- สิ นค้ าคงคลังคิดเป็ นกีเ่ ปอร์ เซ็นต์ ของทรัพย์ สินของคุณและคุณถือสิ นค้ าคงคลังไว้
เป็ นเวลานานแค่ ไหน
- ใช้ พนื้ ทีใ่ นการจัดเก็บวัสดุไปเท่ าไร
ระยะที่ 3
การนาการผลิตแบบดึงมาประยุกต์ ใช้
- จัดทาโครงสร้ างพืน้ ฐานของการปรับปรุ งแบบเป็ นทางการ
- ระบุกระบวนการผลิตในปัจจุบัน
- จัดวางอุปกรณ์ ไว้ รวมกัน
- ออกแบบเซลล์การผลิต
- ริเริ่มระบบคัมบัง
ระยะที่ 3 (ต่ อ)
- เปลีย่ นไปสู่ การไหลแบบทีละชิ้น
- ทาให้ กระบวนการบรรลุส่ ู การผลิตแบบปรับเรียบ
- ทาให้ กระบวนการเกิดความสมดุลในสายการผลิต
ระยะที่ 4
การจัดการระบบดึง
- ปฏิบัติตามกฎการผลิตแบบดึง
- ฝึ กอบรมพนักงานทุกคนทีเ่ กีย่ วกับกฎ และการปรับปรุบระบบคัม
บังอย่ างต่ อเนื่อง
- ติดตั้งระบบดึงแบบ 2 ขั้นตอน
ระยะที่ 5
การขยายผลการผลิตแบบดึง
- จัดทาการผลิตแบบไหลทีละชิ้น
- ขยายระบบดึงไปสู่ ผ้ จู ัดส่ งวัตถุดบิ ของคุณ
- เข้ าร่ วมกระบวนการการดาเนินงานตั้งแต่ ต้นจนจบเพือ่ เป็ นการรับประกัน
ความสาเร็จ
LOGO