BC 427 Computer Applications in Finance

Download Report

Transcript BC 427 Computer Applications in Finance

BC 427 Computer Applications in Finance
Classs 9
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
1
แผนการสอน
 แจ้งเรื่ องงดการทางานกลุ่ม
 Chapter 1: Introduction to
ชิ้นที่ 2 และการเข้าแล็บ
 เนื้ อหาจากวิทยากรจะออก
สอบปลายภาคด้วย
เพราะฉะนั้นจงเก็บ
รวบรวมไว้ให้ดี
Personal Financial
Planning Using Quicken
Deluxe 99
 Chapter 2: Setting up Your
Finances
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
2
Slide นอกเนื้อหา
ตัวอย่างการประกาศหางานของบริ ษทั ออราเคิล
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
3
Slide นอกเนื้อหา
ส่ วนใหญ่มองหาวุฒิปริ ญญาโท และ มีประสบการณ์
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
4
Slide นอกเนื้อหา
ตัวอย่างการค้นหางานด้านการเงินที่คุณสามารถทาได้
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
5
Slide นอกเนื้อหา
ให้ลองมองหา “Financial Planning” “Fi..Analyst”
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
6
Slide นอกเนื้อหา
ตัวอย่างลักษณะหน้าที่และคุณสมบัติ
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
7
Slide นอกเนื้อหา
สถานที่ติดต่อ
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
8
Slide นอกเนื้อหา
คุณสามารถมองหางาน “Financial Planner” ได้ดว้ ย
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
9
สาหรับงาน “Financial Analyst” อาจจะต้องมี
Slide นอกเนื้อหา
ประสบการณ์
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
10
Slide นอกเนื้อหา
คุณสมบัติงาน Financial Analyst
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
11
Chapter 1: What is Financial Planning?
Personal Financial Planning (การวางแผนทางการเงิน
ส่ วนบุคคล) เป็ นขันตอนของการควบคุ
้
มเรื่ องการเงิน
ในอนาคตของบุคคล โดยที่บคุ คลต้ องเรี ยนรู้ว่าจะใช้
จ่ายเงิน เก็บออมเงิน จัดการความเสี่ยง และ จัดการ
การลงทุนของตนเองอย่างไร
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
12
The Financial Planning process (ขั้นตอนในการ
วางแผนทางการเงิน) มี 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. Gather Information (รวบรวมข้อมูล)
2. Establish goals and objectives (ตั้งเป้ าหมายและ
จุดประสงค์)
3. Prepare personal financial statements (เตรี ยมงบ
การเงินส่ วนบุคคล)
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
13
4. Analyze your present financial position by
comparing your current financial position to your
goals and create alternative financial strategies
(วิเคราะห์สถานะทางการเงินในปัจจุบนั โดย
เปรี ยบเทียบสถานะทางการเงินที่ตนเองมีอยูก่ บั
เป้ าหมายที่ตนเองสร้างไว้ และสร้างทางเลือกสาหรับ
กลยุทธ์ทางการเงินของตนเอง)
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
14
5. Develop and implement your financial plan (พัฒนา
และประยุกต์ใช้แผนทางการเงินของตนเอง)
6. Review and revise your plan as time goes on.
(ตรวจสอบและแก้ไขแผนทางการเงินของตนเองเมื่อ
เวลาเปลี่ยนไป)
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
15
Using Quicken in Financial Planning
Diane Lawrence อายุ 24
ปี
่ บั เพื่อน 2 คน
เพิ่งจบจากมหาวิทยาลัย และพักอยูก
อาศัยในมลรัฐ New Hampshire (นิ วแฮมเชียร์ )
่ บั Raymound, Inc. (บริ ษทั เรมอลด์) มี
ทางานอยูก
ตาแหน่งเป็ น Financial Analyst (ผูว้ เิ คราะห์ทาง
การเงิน)
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
16
Using the book Effectively
(วิธีการใช้หนังสื ออย่างมีประสิ ทธิภาพ)
อานบทที
อ
่ าจารยระบุ
ให้จบกอน
่
่
์
1 รอบ
 อานอี
ก 1 รอบโดยทดลองทากับ
่
คอมพิวเตอร์

ตรวจสอบวาผลลั
พธที
่
์ ไ่ ด้
เหมือนกับหน้าจอในหนังสื อไหม (อย่าลืมว่าหนังสื อ
เป็ น version 99 แต่โปรแกรมคุณอาจจะเป็ น 2002

โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
17
วิธีการเอาตัวรอดสาหรับ Final :)
ทาการบานตามที
อ
่ าจารยให
้
์ ้
บางครั้งอาจจะต้อง download โจทย์ภาษาอังกฤษเอง
จากเว็บไซต์ http://milton.swcollege.com
 มีปัญหาต้องการการช่วยเหลือให้ต้ งั คาถามใน
Webboard เป็ นการเผือ่ คาตอบให้เพื่อนๆ ด้วย

โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
18
พึ่งระลึกว่า...
การเรี ยนรู ้ที่ดีที่สุด คือ การใช้โปรแกรมให้พงั เร็ วที่สุด
..แล้วกูก้ ลับมาให้ได้
ช่วยกันเรี ยนโดยช่วยกันทา
อยากได้ A ก็ตอ้ งฝึ กทาด้วยตนเองด้วย
ถ้าเราไม่รู้แล้วทาอย่างไรให้รู้
อื่นๆ…(คิดเอาเอง)
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
19
ในการทดลองทาตามบทที่ 1
สิ่ งทีเ่ พิม
่ เติมขึน
้ มาหน้า 5 คือ การ
แปลง Data File จาก V.99 เป็ น V.2002
ขั้นที่ 1 Download File ข้อมูลสาหรับแต่ละบทจาก
เว็บไซต์ http://milton.swcollege.com
ขั้นที่ 2 UnZip File

โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
20
แปลง File
จาก Version 99 ให้เป็ น Version 2002
ทดลองใช้ File ตามตัวอย่างในหนังสื อ
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
21
หน้าจอจะถามเมื่อจะแปลง File
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
22
หน้าจอเมื่อทาสาเร็ จและให้ลองฟัง Show Quick..
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
23
หน้าจอก่อนถึงตัวโปรแกรม ให้เลือก Register Later
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
24
ทาความรู้จกั และคุน้ เคยกับหน้าจอโปรแกรม
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
25
 รู ้จกั QuickTab
 การใช้หน้า Register และ
ด้าน
ขวามือ
 การเข้าไปดูขอ้ มูลแต่ละ
บัญชี
 การเข้าไปแก้ไขข้อมูลแต่
ละบัญชี
Overview ภายในแต่ละ
บัญชี
 ทาความรู ้จกั อย่างคร่ าวใน
เมนูต่างๆ ตั้งแต่ File, Edit,
Finance, Business,
Banking, ..จนถึง Help
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
26
ฝึ กการใช้คาสัง่ ใต้หวั ข้อ File
 New
 Import
 Open
 Export
 File Operations
 Password
 Backup
 หน้าที่ในการ Print ต่างๆ
 Restore Backup File
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
27
“SampleCpy” เป็ นชื่อ “Student” สังเกตคาว่า
“…Cpy” หมายถึง?
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
28
หลังจากทาการเปลี่ยนชื่อ File เป็ น Student แล้ว
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
29
ตรวจสอบได้วา่ มี File สร้างใหม่โดยใช้คาสัง่
Open
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
30
จากหน้า 12 Q. จัดหมวดหมู่ของบัญชีต่างๆ
เพิ่มเติม
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
31
V99 จาก 8 กลุ่ม V2002 เป็น 3 กลุ่มใหญ่
ให้ดูในหนังสื อเรี ยน หน้า 12
กลุ่ม ที่ 1 Banking Accounts
(บัญชีธนาคารชนิดต่างๆ)
กลุ่ม ที่ 2 Investing Accounts
(บัญชีที่เ กี่ยวกับการลงทุนต่างๆ)
กลุ่ม ที่ 3 Properties & Loan Accounts
(บัญชีทรัพย์ส ินและหนี้ส ิน)
กลุ่ม พิเศษ Business Account
(บัญชีที่เ กี่ยวกับธุรกิจ..สำหรับ Version
"Home&Business")
ฝึ กการใช้คาสัง่ ใต้หวั ข้อ File

ฝึ กการ Create New Account ต่างๆ
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
33
จุดอ่อนของโปรแกรม
 V99
- V2002 เป็ นการออกแบบที่ไม่ดีเพราะ
อาจจะมีปัญหาY3K ขึ้นมาได้ ควรใช้ตวั เลขปี ทั้ง 4
ตัว คือ 1999 หรื อ ว่ามีวธิ ี เปลี่ยนตัวเลขปี ให้เป็ น
4 หลักได้ ใครหามาได้ได้คะแนนพิเศษ 3
คะแนน
จุดอ่อนอื่น ให้ลองหามา ถ้าหามาได้และชี้ให้เห็น
จุดอ่อนจริ ง ก็ให้จุดละ 3 คะแนน
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
34
จุดแข็งของโปรแกรม
ไม่ตอ้ งกดปุ่ ม Save เพราะทุกครั้งที่พิมพ์ขอ้ มูลเพิ่มเติม
เข้าไป Q. จะทาการ Save ข้อมูลเหล่านั้นให้โดย
อัตโนมัติอยูแ่ ล้ว
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
35
ลักษณะเพิ่มเติมของ Quicken
เมือ
่ จะออกจากโปรแกรมครัง้ ที่ 3
(Default คือ ติดตั้งค่าเริ่ มต้นมาให้) หลังจากมีการ
สร้างข้อมูลแล้ว Q. จะถามถึงการ Back up data file
หมายถึง เตือนให้ผใู้ ช้ทาการสารองข้อมูลไว้อีก File
เผือ่ หากเกิดความเสี ยหายกับ File ที่ทางานอยู่ ผูใ้ ช้
จะได้สามารถดึง File ที่สารองไว้มาใช้ได้ ลองดู Edit |
Option | Q.Program | General

โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
36
ส่ วนที่ 2 (เนื้อหาเพิ่มเติม)
ใครเป็ นผูว้ างแผนทางการเงินได้บา้ ง
ทนาย
• คิดค่าปรึ กษาเป็ นรายชัว่ โมง มุง้ เน้นไปในแง่ของ
กฏหมาย เช่น การจัดการมรดก หรื อ การจัดการ
สัญญาทางการเงินต่างๆ
• ให้บริ การมากแก่บุคคลร่ ารวย บุคคลที่มีรายได้มาก
หรื อ บุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น ฟ้ องหย่า
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
37
นักบัญชี
• คิดค่าบริ การตามรายชัว่ โมงเช่นกัน มุง้ เน้นในเรื่ อง
ที่เกี่ยวกับการคานวณภาษี และการประเมินค่าต่างๆ
เช่น การประเมินค่าสิ นทรัพย์
• ให้บริ การมากแก่บุคคลร่ ารวย บุคคลที่มีรายได้มาก
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
38
ตัวแทนบริ ษท
ั ประกันต่างๆ
• ค่าบริ การขึ้นอยูก่ บั ชนิดของผลิตภัณฑ์ทางการเงิน
• ค่าบริ การเป็ นค่านายหน้าในการขายผลิตภัณฑ์
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
39
ตัวแทนบริ ษท
ั ประกันต่างๆ
• ประกันชีวติ (Life Insurance)
• ประกันทุพพลภาพ (Disability Income Insurance)
• ประกันสิ นทรัพย์ ความเจ็บป่ วย หนี้สิน (Property /
Casualty / Liability)
• ประกันสุ ขภาพ (Medical / Long Term Care)
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
40
ตัวแทนบริ ษท
ั ประกันต่างๆ
•
ให้คาแนะนาในการลงทุน
บางอย่างด้วย
– การฝากเงินแบบ Annuities
– การลงทุนแบบ Mutual Funds
– การวางแผนเพือ
่ การ
เกษียณอายุ
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
41
นายหน้าในการลงทุน (Investment Broker)
• ค่าบริ การขึ้นอยูก่ บั ชนิดของผลิตภัณฑ์ทางการเงิน
• ค่าบริ การเป็ นค่านายหน้าในการขายผลิตภัณฑ์
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
42
นายหน้าในการลงทุน (Investment Broker)
• ลงทุนในหุน้ (Securities)
• ลงทุนใน Mutual Funds
• ฯลฯ
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
43
ธนาคารและหน่วยงาน Trusts ต่างๆ
•
•
•
•
คิดค่าบริ การตามบริ การที่ให้
คิดค่าบริ การตามทรัพย์สินที่จดั การหรื อดูแลให้
จัดการเกี่ยวกับเรื่ องภาษีได้
จัดการเกี่ยวกับเรื่ องที่ดิน อสังหาริ มทรัพย์ได้
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
44
ผูจ้ ดั การด้านการเงิน (Money Manager)
• มีการลงทะเบียนเป็ นที่ปรึ กษาทางการเงิน
• มีการคิดค่าบริ การ
• มีการคิดค่าบริ การตามมูลค่าทรัพย์สินที่จดั การหรื อ
ตามรายรับที่จะได้รับ
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
45
ผูว้ างแผนทางการเงินรับรอง (Certified Financial
Planner)
• มีการรับรองจากบอร์ดผูว้ างแผนทางการเงินรับรอง
นานาชาติ - International Board of Certified
Financial Planners (IBCFP)
• ต้องผ่านการทดสอบ (Comprehensive
Examination)
• ต้องผ่านหลักสู ตร (Educational Requirements)
• ต้องมีประสบการณ์ (Experience Requirements)
ผูว้ างแผนทางการเงินรับรอง (Certified Financial
Planner)
• คิดเฉพาะค่าบริ การ (Fee Only)
• คิดเฉพาะค่านายหน้า (Commission Only)
• คิดทั้งค่าบริ การและค่านายหน้า (Fee and
Commission)
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
47
นักวางแผนมืออาชีพ (PROFESSIONAL
DESIGNATIONS) ต้องมีสิ่งต่อไปนี้
• CFP Certified Financial Planner
• ChFC Chartered Financial Consultant
• PFP Personal Financial Planner (AICPA)
• Master Financial Planner (Bentley College)
โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
48