เอกสารประกอบการบรรยาย
Download
Report
Transcript เอกสารประกอบการบรรยาย
การคัดกรองผู้ป่วยเสพยาและสารเสพติด
ASSIST
โดย พญ.ญานิศา โพธิ์ฐิติรัตน์
โรงพยาบาลธัญญารักษ์ เชียงใหม่
หัวข้อในวันนี้
ASSIST คืออะไร
เคล็ดลับการถามให้ ได้ มาซึง่ คาตอบที่ใกล้ เคียงความจริ ง
ประเมินแล้ วทาอย่างไรต่อ?
ASSIST คืออะไร??
Alcohol, Smoking, Substance Involvement Screening Test
เนือ้ หาจาก
หลักสู ตรการดูแลผู้มีปัญหาสารเสพติดกลุ่มแอมเฟตามีน
สาหรับบุคลากรสุ ขภาพปฐมภูมิ
โดย ผรส.
ASSIST คืออะไร
เป็ นเครื่องมือขององค์การอนามัยโลกที่พฒ
ั นาโดยทีมนักวิชาการจาก
นานาประเทศ
เป็ นแบบสอบถามที่ใช้คดั กรองการใช้สารเสพติดแบบเสี่ยงอันตราย
ได้แก่ ยาสูบ สุรา กัญชา โคเคน ยาบ้า ยากล่อมประสาท/ยานอนหลับ
ยาหลอนประสาท สารระเหย สารกลุม่ ฝิ่ น และสารอื่นๆ
ข้อคาถาม 8 ข้อ ถามโดยบุคลากรสุขภาพ ใช้เวลาประมาณ 10 นาที
เพื่อใช้ในสถานบริการระดับปฐมภูมิ
สามารถใช้ได้หลากหลายวัฒนธรรม
วิธีการใช้แบบคัดกรอง ASSIST
ใช้เป็ นส่วนหนึ่งของการสอบถามประวัตสิ ุขภาพทั ่วไป การประเมิน
ความเสี่ยง หรือเป็ นส่วนหนึ่งในประวัตคิ วามเจ็บป่ วย
เชื่อมโยงการคัดกรองเข้ากับอาการนาของผูร้ บั บริการที่มีความ
เกี่ยวข้องกัน จะช่วยให้ผรู ้ บั บริการเห็นความเชื่อมโยงระหว่างการใช้
สารเสพติดของตนและสุขภาพของตน
ป้องกันความเป็ นส่วนตัวของผูร้ บั บริการและรับรองว่าคาตอบที่ให้จะ
เป็ นความลับ เป็ นสิ่งที่สาคัญอย่างยิง่
เลือกสภาพการณ์ที่เหมาะสมที่สุดในการทาแบบคัดกรอง ASSIST
และควรยืดหยุน่ และไวต่อการตอบสนองความต้องการของ
ผูร้ บั บริการ
เนื้อหาโดยย่อของ ASSIST
ประกอบด้วยคาถามเกี่ยวกับการใช้สารเสพติดทุกชนิด
ประวัตกิ ารเคยใช้สารแต่ละชนิดในชีวิต (Q1)
การใช้สารเสพติดนั้นใน 3 เดือนที่ผ่านมา
Q2: ความถี่ของการใช้
Q3: ความต้องการที่จะใช้สาร
Q4: ปั ญหาสุขภาพ สังคม กฎหมาย และการเงิน
Q5: การไม่สามารถทาหน้าที่ได้ตามปกติ
การใช้สารเสพติดนั้นในชีวิต
Q6: ความเป็ นห่วงของคนอื่นต่อการใช้สารเสพติด
Q7: ความล้มเหลวในการควบคุมการใช้สาร
Q8: การฉีดสารเสพติด
ส่ วนของผู้ถาม
ส่ วนของผู้ตอบ
ปรับเลือกเฉพาะสารเสพติด
กลุม่ แอมเฟตามีนเท่านั้น
แนวปฏิบตั ใิ นการอธิบายให้ผรู ้ บั บริการ
ก่อนถาม ให้ฉีกบัตรคาตอบ ASSIST-ATS ตามรอยปรุส่งให้ผรู ้ บั บริการ
ถือแบบสอบถามเอาไว้ เพื่อไม่ให้ผรู ้ บั บริการเห็นสิ่งที่ท่านกาลังเขียน
ทุกคาตอบจากทุกคาถาม ต้องวงกลมไว้ แม้ว่าจะเป็ นคาตอบที่ได้ค่า
คะแนนเป็ นศูนย์ หรือคาตอบเป็ นลบทั้งหมด
ท่านอาจจาเป็ นต้องปรับคาพูดในบางคาถามกับผูร้ บั บริการบางคน หรือ
ท่านอาจจาเป็ นต้องยกตัวอย่างในบางคาถาม
คาตอบของผูร้ บั บริการที่ดไู ม่สอดคล้อง ควรถามเพิ่มเติมเพือ่ ให้แน่ใจว่า
ท่านได้อธิบายข้อคาถามเพียงพอและผูร้ บั บริการเข้าใจคาถามอย่างชัดเจน
เป็ นเรื่องสาคัญอย่างยิง่ ที่บุคลากรสุขภาพจะต้องเข้าใจวิธกี ารให้คะแนน
ของ ASSIST ก่อนที่จะนาไปใช้
ส่ วนของผู้ตอบ
เริ่มส่ วนของผู้ถาม
ส่ วนของผู้ตอบ
ส่ วนของผู้ตอบ
เคล็ดลับการถาม
เพื่อให้ ได้ มาซึ่งคาตอบที่ใกล้ เคียงความจริง
ผูส้ มั ภาษณ์ที่มีลกั ษณะต่อไปนี้
จะทาให้ได้คาตอบที่เป็ นจริง
แสดงให้เห็นว่ากาลังตัง้ ใจฟั ง
มีท่าทีเป็ นมิตรและไม่ตดั สินถูกผิด
ไวต่ออารมณ์ความรูส้ ึกของผูถ้ ูกสัมภาษณ์และเข้าใจเห็นใจ
บอกให้ผถู ้ ูกสัมภาษณ์ทราบถึงการรักษาความลับ
....ทาความรู้ จกั คุ้นเคย....
การจัดสิ่งแวดล้ อม มีความมิดชิด เป็ นสัดส่วน ไม่มีเสียงรบกวน ไม่มีคนเดิน
ผ่านไปมา บรรยากาศสงบและเป็ นกันเอง
ท่ า นั่ ง ควรเป็ นลัก ษณะตัง้ ฉากกั น ไม่ ค วรเผชิ ญ หน้ า กั น ตรงๆ เยื อ้ งกั น
เล็กน้ อย ใกล้ กนั พอที่จะแตะไหล่ได้
เปิ ดการสนทนานาให้ เกิดความผ่อนคลายเป็ นกันเอง (small talk)
แนะนาตัวเอง สถานที่ วัตถุประสงค์ ของการคุยกัน เวลาที่จะคุยกัน
การใช้ ภาษาพูด น ้าเสียง การเน้ นคา การใช้ สรรพนาม ควรใช้ ภาษาที่เข้ าใจ
กันง่ายเป็ นกันเอง
การใช้ ภาษากาย การสัมผัส สีหน้ า แววตา ท่าทาง ให้ เกิดความเป็ นกันเอง
อยากเข้ าใจ อยากช่วยเหลือ ไม่ตดั สินความผิด หรื อแสดงการไม่เห็นด้ วยกับ
พฤติกรรมหรื อสิง่ ที่ผ้ รู ับคาปรึกษาเปิ ดเผย
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
เพื่อให้ เกิดความคุ้นเคย อบอุ่นไว้ วางใจกัน
เพื่อให้ เปิ ดเผยความไม่ สบายใจ
เชื่อมั่นว่ าผู้ให้ บริการไม่ นาเอาเรื่ องราวไปเปิ ดเผยที่ไหน
การรั กษาความลับ
ก่อนการใช้ แบบคัดกรอง ควรสังเกตท่าที ความร่ วมมือ การเปิ ดเผย
ข้ อมูล ว่าผู้ตอบคาถามมีความไว้ วางใจผู้ถามมากน้ อยเพียงไร มีเรื่ อง
ใดที่ยงั กังวล เช่น เรื่ องการเก็บรักษาข้ อมูลของผู้รับคาปรึ กษา ควรให้
ความมัน่ ใจเรื่ องนี ้ เช่น
“เรื่ องที่คุยกันนี ้ (พี่/ลุง/ผม) คงไม่ นาไปบอกพ่ อแม่ หรือคนอื่นๆฟั ง
ถ้ ามีเรื่ องที่ (พี่/ลุง/ผม) จาเป็ นต้ องบอกพ่ อแม่
(พี่/ลุง/ผม) จะขอ คุณ/น้ อง/ชื่อ... ก่ อน
และเรื่ องที่จะบอกคงเป็ นเรื่ องที่คุณยินยอมแล้ ว”
ประเมินแล้ วทาอย่ างไรต่ อ?
ASSIST-linked Brief intervention
เป็ นการพูดคุยกับผูป้ ่ วยแบบง่ายๆ และสั้นๆ เกี่ยวกับคะแนน
ของ ASSIST และความหมายของคะแนนที่บ่งบอกถึงความเสี่ยง
ใช้เวลาน้อยมาก เพียง 3 นาทีเท่านั้น
เหมาะสาหรับผูม้ ีความเสี่ยงและเสี่ยงสูงจากการใช้สารเสพติด
ใช้ชกั จูงและกระตุน้ ให้ผเู ้ สพแบบเสี่ยงสูงมากหรือเสพแบบติด
เข้าสูก่ ารบาบัดรักษาที่เหมาะสมต่อไป
อาจจะใช้เป็ นพื้นฐานสาหรับการรักษาต่อเนื่องหรือการรักษา
อื่นๆ ที่ทาร่วมกัน
คะแนนความเสี่ยง ASSIST
คะแนน
0-3
4-26
ระดับ
เสี่ยง
เสี่ยงสูง
วิธีการดูแลรักษา
ให้คาแนะนาทั ่วไป
ให้การบาบัดแบบสั้น
ให้ขอ้ มูล ความรูก้ ลับบ้าน
27+
เสี่ยงสูงมาก ให้การบาบัดแบบสั้น
ให้ขอ้ มูล ความรูก้ ลับบ้าน
ส่งต่อเพื่อรับการประเมินและบาบัดรักษา
ให้การบาบัดแบบสั้น (Brief Intervention)
ให้ขอ้ มูลความเสี่ยงจากการเสพแบบฉีด
เสพแบบฉีด
ส่งต่อเพื่อรับการประเมินและบาบัดรักษา
แนะนาให้ตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อไวรัส
ขั้นตอนการบาบัดแบบสั้นตามผล ASSIST
1. ASKING -ถาม
2. FEEDBACK – ให้ขอ้ มูลโดยใช้บตั รข้อมูล
3. ADVICE - ให้คาแนะนา
4. RESPONSIBILITY - ย้าความรับผิดชอบของผูป้ ่ วย
5. CONCERN ABOUT ASSIST SCORE - ถามความเป็ นห่วงคะแนน
6. GOOD THINGS ABOUT USING - ข้อดีของการใช้สาร
7. LESS GOOD THINGS ABOUT USING - ข้อไม่ดีของการใช้สาร
8. SUMMARISE - สรุปความ
9. CONCERN ABOUT LESS GOOD THINGS – ความเป็ นห่วง
ต่อข้อไม่ค่อยดีของการใช้สาร
10. TAKE HOME INFORMATION&BOOKLET - ให้ขอ้ มูลและคู่มือ
ขั้นตอนที่ 1 : ถาม
ถามผูร้ บั บริการว่าอยากทราบคะแนนแบบสอบถามของตนหรือไม่
คาถามนี้จะเป็ นประตูเปิ ดให้ผบู ้ าบัดสามารถให้การบาบัดแบบย่อได้
• ผูป้ ่ วยส่วนใหญ่จะสนใจคะแนนของตนเอง
• การให้ผป
ู ้ ่ วยเลือกว่าจะทาอะไรต่อไปจะช่วยลดแรงต่อต้านในการ
รักษาได้
• เป็ นการอนุญาตให้ผบ
ู ้ าบัดสามารถให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับคะแนนและ
ความเสี่ยง และวิธีการลดความเสี่ยงแก่ผปู ้ ่ วย ซึ่งเป็ นข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกับผูป้ ่ วยโดยตรงและเฉพาะตัว
“คุ ณ อยากรู้ ผล/คะแนน แบบสอบถามที่ ท าเสร็ จ แล้ ว
หรื อไม่?”
“คุณรู้ อะไรบ้ างเกี่ยวกับฤทธิ์ ของยาบ้ าที่มีผลต่อสมอง/ต่อ
อารมณ์ของคุณ ?”
ขั้นที่ 2: การให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับ
การบอกคะแนนเฉพาะตัวแก่ผรู ้ บั บริการ โดยใช้บตั รรายงานผล ASSIST
• เป็ นองค์ประกอบสาคัญ
•
•
•
•
ใช้บตั รรายงานข้อมูลสะท้อนกลับของ
ASSIST เพื่อทั้งผูป้ ่ วยและผูบ้ าบัดจะได้มีจดุ สนใจที่เป็ นชิ้นเป็ นอัน
บันทึกคะแนน ASSIST ของผูป้ ่ วย และกาที่ช่องความเสี่ยง
อธิบายความหมายของระดับความเสี่ยง ตามผลการประเมิน
อธิบายความหมายของการใช้สารแบบเสี่ยงสูงหรือสูงมากด้วย
ถ้าจาเป็ น
ถือบัตรรายงานในลักษณะที่ผปู ้ ่ วยสามารถอ่านได้ง่าย
ตัวอย่าง
“คะแนนการใช้ ยาบ้ าของคุณเท่ากับ 18 ซึ่งหมายถึง คุณมีความ
เสี่ยงสูงที่จะมีปัญหาสุขภาพและปั ญหาอื่นๆ จากการใช้ ยาบ้ าใน
ระดับที่คณ
ุ ใช้ ในขณะนี ้”
“ยาบ้ าจะมีผลต่อสารเคมีในสมองที่ควบคุมการทางานด้ วยอารมณ์
และการใช้ เป็ นประจาจะทาให้ คณ
ุ รู้ สึกซึมเศร้ า กังวล และในบาง
คนอาจรู้สกึ โกรธ หงุดหงิด ก้ าวร้ าวได้ ”
วิธีการให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับที่ได้ผล
ควรคานึงถึงสิ่งที่ผรู ้ บั บริการทราบแล้ว และสิ่งที่สนใจอยาก
ทราบ และยอมรับทางเลือกของผูร้ บั บริการว่าจะทาอะไรกับ
ข้อมูลที่ได้รบั ประกอบด้วยสามขั้นตอน คือ
1. ค้นหาความพร้อมและความสนใจที่จะรับความรู/้ ข้อมูลของ
ผูร้ บั บริการ
2. ให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับด้วยท่าทีที่เป็ นกลางและไม่ตดั สินถูกผิด
3. ค้นหาความหมายเฉพาะตัว
ขั้นที่ 3. การให้คาแนะนา
เป็ นการสร้างตัวเชื่อมระหว่างการลดการใช้สารกับการลดอันตราย
การแนะนาเป็ นการบอกผูป้ ่ วยว่าการลดหรือการหยุดใช้สารจะลด
ปั ญหาที่เกิดขึ้นทั้งในปั จจุบนั และในอนาคต
ผูป้ ่ วยมักจะไม่ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สารของเขา
กับปั ญหาที่เกิดขึ้นหรือกาลังจะเกิดขึ้น
ไม่ควรแนะนาว่า คุณจำเป็ นต้องทำอะไรอย่ำงจริงจังเกี่ ยวกับกำรใช้
สำรเสพติดของคุณ หรือ ผม/ดิฉนั เป็ นห่วงกำรใช้ยำบ้ำของคุณ
ควรให้คาแนะนาง่ายๆ “วิธีที่ดีที่สุดที่ คุณจะลดควำมเสี่ ยง (หรือ
อันตรำย) ที่ จะเกิดขึ้นกับคุณก็คือกำรลดหรือกำรเลิกใช้สำรเสพติด”
ขั้นที่ 4. ย้าความรับผิดชอบของผูป้ ่ วย
• การรักษาความสามารถในการควบคุมตนเองได้เป็ นปั จจัยสาคัญที่
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
• ผูป้ ่ วยเป็ นคนรับผิดชอบการตัดสินใจของตนเอง –ผูบ้ าบัดต้องยอมรับ
และเคารพ
• คุณจะทำอะไรกับข้อมูลเกี่ ยวกับกำรใช้ยำบ้ำที่ ดิฉนั /ผมเพิ่ งบอกให้ ก็ข้ นึ อยู่
กับตัวคุณเองเป็ นหลัก... ดิฉนั /ผมเพียงแต่บอกให้คณ
ุ ทรำบว่ำอำจจะเกิด
อันตรำยหรือควำมเสี่ ยงอะไรได้บำ้ งหำกคุณยังใช้ยำบ้ำในลักษณะนี้ ตอ่ ไป”
ขั้นที่ 5: ถามความเป็ นห่วงคะแนน
• การถามคาถามปลายเปิ ด จะช่วยให้ผป
ู ้ ่ วยคิด และพูดความรูส้ ึก
กังวลของตนเองออกมา
• ครั้งนี้อาจจะเป็ นครั้งแรกที่ผป
ู ้ ่ วยเคยพูดความกังวลเกี่ยวกับการ
ใช้สารของตนเอง
• การพูดความรูส้ ึกกังวลของตนเองออกมาจะช่วยให้ผป
ู ้ ่ วยเปลี่ยน
ความเชื่อและพฤติกรรมได้
• เราจะเชื่อสิ่งที่เราเป็ นคนพูดออกมาเอง
“คุณรูส้ ึกกังวลกับคะแนนของคุณมากไหม”
ตัวอย่าง
“คุณรู้สกึ กังวลกับคะแนนของคุณมากไหม”
“คุณกังวลกับคะแนนการใช้ ยาบ้ าของคุณเพียงไร”
“คุณกังวลกับผลของยาบ้ าที่มีผลต่ออารมณ์และต่อสุขภาพจิตของคุณ
เพียงไร”
“คุณรู้สกึ อย่างไรเกี่ยวกับสิง่ /เรื่ องนี ้”
“เราจะทาอย่างไรต่อไปจากจุดนี ้”
“คุณต้ องการจะทาอะไรเกี่ยวกับสิง่ /เรื่ องนี ้”
“อะไรที่ทาให้ คณ
ุ กังวลที่สดุ ”
ขั้นที่ 6 และ 7 ข้อดี / ข้อไม่ค่อยดีของการใช้สาร
• เป็ นการท าให้ผูป้ ่ วยเกิ ด ความขัด แย้ง ทางความคิ ด ของตนเอง
ระหว่างสิ่งที่เขากาลังทาอยูก่ บั สิ่งที่เขาต้องการจะเป็ น
• ให้ผป
ู ้ ่ วยชั ่งน้ าหนักระหว่างข้อดีกบั ข้อไม่ค่อยดีเกี่ยวกับการใช้สาร
ของเขา - เป็ นขั้นตอนแรกของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
• ครั้งนี้อาจจะเป็ นครั้งแรกที่ผป
ู ้ ่ วยได้พิจารณาและพูดเกี่ยวกับข้อดี
และข้อไม่ดีของการใช้สารของตนเอง
ถามเกี่ยวกับข้อดีของการใช้สาร
“คุณชอบอะไรบ้ำงในกำรใช้ยำบ้ำของคุณ”
หลังจากที่ผปู ้ ่ วยพูดข้อดีของการใช้สารหมดแล้ว ก็ถามด้านลบบ้าง
“แล้วมีอะไรที่ไม่ค่อยดีบำ้ งไหมในกำรใช้ยำบ้ำของคุณ”
ผลทางลบของการใช้สารเสพติด
•
•
•
•
•
•
ถ้าผูป้ ่ วยนึกข้อไม่ค่อยดีไม่ออก ผูบ้ าบัดอาจจะช่วยแนะให้
ด้านสุขภาพ – ร่างกาย หรือ จิตใจ
ด้านสังคม – สัมพันธภาพกับคู่ครอง ครอบครัว เพื่อน
หรือเพื่อนร่วมงาน
ด้านกฎหมาย – ขับรถหลังใช้สาร อุบตั เิ หตุ ถูกจับ
ด้านการเงิน – ปั ญหาค่าใช้จา่ ย
ด้านอาชีพการงาน – ปั ญหาการทางาน การเรียน
ด้านจิตวิญญาณ – คุณค่าของตนเอง ความรูส้ ึกผิด ความรูส้ ึกเต็ม
ข้อที่ 8 สรุปความ การฟั งแบบสะท้อนความคิด
• แสดงให้ผป
ู ้ ่ วยเห็นว่า เราฟั งและเข้าใจสิ่งที่เขาพูด (และเห็นใจ)
• ควรใช้การสรุปความบ่อยๆ เพื่อชี้ให้ผป
ู ้ ่ วยเห็นความขัดแย้งทาง
ความคิดของเขาเอง
• พยายามดึงการสนทนาให้เข้าหาข้อไม่ค่อยดีของการใช้สาร
• การสรุปความจะเป็ นช่องทางให้ผบ
ู ้ าบัดสามารถถามคาถาม
ปลายเปิ ดต่อไปได้
“ด้ำนหนึ่ งก็คือ คุณชอบที่ จะใช้ยำบ้ำกับเพื่ อนๆ ของคุณในงำนปำร์ต้ ี เพรำะ
มันทำให้คณ
ุ มัน่ ใจและมีควำมสุข แต่ในทำงกลับกัน คุณก็ใช้เงินไปมำกกว่ำ
ที่ คุณจะหำมันมำได้ซึ่งมันก็ทำให้คณ
ุ กังวล นอกจำกนี้ คณ
ุ ก็สงั เกตว่ำคุณ
โกรธง่ำยหงุดหงิดหลังใช้ ซึ่ งควำมรูส้ ึกเหล่ำนี้ เดี๋ ยวนี้ มนั เกิดรุนแรงขึ้นมำก
เมื่ อเทียบกับตอนที่ คุณเริ่ มใช้ยำบ้ำใหม่”
ขั้นที่ 9: ความกังวลเกี่ยวกับการใช้สาร
ความเป็ นห่วงต่อข้อไม่ค่อยดีของการใช้สาร
• จากไม้บรรทัดตั้งแต่ 1 ถึง 10 คุณจะให้คะแนน ความกังวลต่อ
การใช้สาร ของคุณประมาณสักเท่าไร
• จากไม้บรรทัดตั้งแต่ 1 ถึง 10 คุณคิดว่า คุณ ตั้งใจว่าจะลดหรือ
เลิกใช้ สารเสพติดมากน้อยเพียงไร
• จากไม้บรรทัดตั้งแต่ 1 ถึง 10 คุณมี ความมั ่นใจว่าคุณจะทาได้
สาเร็จ มากน้อยเพียงใจ
ขั้นที่ 10. ให้ขอ้ มูลกลับบ้าน
• เป็ นการเสริมคาแนะนาและผลการบาบัดแบบย่อที่ทาไปให้
เข้มข้นมากขึ้น
• สิ่งที่อาจจะให้กลับบ้าน
บัตรรายงานข้อมูลสะท้อนกลับของผูป้ ่ วย
แผ่นพับความรูเ้ กี่ยวกับสารเสพติดตัวที่ผป
ู ้ ่ วยใช้
คู่มือดูแลตนเพื่อลดละเลิกสารเสพติด
• เวลาให้เอกสารควรพูดแบบกลางๆ และให้เกียรติผป
ู ้ ่ วยใช้
การกล่าวถึงบุคคลที่สาม
องค์ประกอบของการบาบัดแบบสั้นที่ได้ผล
ความเข้าใจเห็นใจ
ชี้ความขัดแย้งและความลังเลใจด้วยคาถามปลายเปิ ด
การหมุนไปกับแรงต้าน
การฟั งอย่างตัง้ ใจ เพื่อสะท้อนความหรือสรุปความ
สังเกตการณ์ตอ่ ต้านของผูป้ ่ วย : RESISTANCE
การแสดงการต่อต้าน
วิธีลดการต่อต้าน
• โต้เถียง
• ขัดคอ
• ไม่ยอมเชื่อมโยงว่าปั ญหาที่มี
• หมุนแรงต่อต้าน
• เปลี่ยนจุดสนใจ
• เปลี่ยนคาพูด
• ย้าว่าการใช้สารเป็ นทางเลือกของ
อยูเ่ กิดจากการใช้สาร
• ปฏิเสธ ไม่สนใจปั ญหา
• ไม่ยอมรับการดูแลรักษา
ผูป้ ่ วยและอยูภ่ ายใต้การควบคุม
ของผูป้ ่ วยเอง
• ยุตกิ ารบาบัด
ถ้าผูป้ ่ วยไม่มีความตัง้ ใจจะเปลี่ยนแปลง
• ยอมรับ
• พยายามเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงเป็ นเรื่องยาก
• ถามผูป้ ่ วยว่าเขาจะจัดการได้ไหมถ้ามีปัญหาอะไร
เกิดขึ้น
• ถามผูป้ ่ วยว่ามีอะไรอย่างอื่นอีกไหมที่จะช่วยเขา
ในการตัดสินใจ เช่น ใช้เวลาพูดคุยมากขึ้น ฯลฯ
โปรดจาไว้ว่า.....ให้เปิ ดประตูอา้ ไว้เสมอ...
โดยสรุป ตอนนี้ดูเหมือนว่าคุณยังไม่พร้อมที่จะ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคุณ แต่ถา้ คุณอยากจะ
คุยเกี่ยวกับเรือ่ งนี้อีกเมื่อไร ในตอนไหนก็ตาม หรือ
เมื่อคุณเริ่มพบว่าการใช้ยาบ้าสร้างปั ญหาให้กบั คุณ
คุณสามารถจะกลับมาหาผม/ดิฉนั ใหม่ได้เสมอนะ
แล้วเราค่อยคุยเรือ่ งนี้กนั อีกทีก็แล้วกัน”
สรุปหลักการสาคัญของการบาบัดแบบสั้น
•
•
•
•
•
มีจุดมุ่งหมายหลักฐานชัดเจน ให้ขอ้ มูลที่ตรงกับผูร้ บั บริการเอง
ใช้ความเข้าใจเห็นใจ และไม่ตดั สินถูกผิด
เคารพทางเลือกที่ผรู ้ บั บริการตัดสินใจ
แสดงให้เห็นว่าได้รบั การฟั ง/ให้ความสาคัญในสิ่งที่พูด
ไม่โต้เถียงกับผูร้ บั บริการ ใช้ภาษาที่แสดงการยอมรับผูร้ บั บริการ
และให้ความเท่าเทียม
• ใช้คาถามปลายเปิ ดเพื่อนาให้ผรู ้ บั บริการค้นพบตนเอง
และนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง
ต้ องฝึ กฝน ลองผิดลองถูก
เพื่อช่วยเหลือคนอีกจานวนมาก ไม่เฉพาะผู้เสพ
แต่รวมถึงครอบครัว สังคม ประเทศชาติ
คาถาม??