การพัฒนาระบบ การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราในสถานพยาบาล

Download Report

Transcript การพัฒนาระบบ การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราในสถานพยาบาล

การประชุมมหกรรมคุณภาพ ครั้งที่ 9
รร อมารี แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ
“การดูแลผูป้ ่ วยสุราที่มีโรคร่วมทางจิตเวช
แบบบูรณาการ
วันที่ 4 สิงหาคม 2554 เวลา 09.00-12.00
พญ พันธุน์ ภา กิตติรตั นไพบูลย์ กลุ่มที่ปรึกษา กรมสุขภาพจิต
อ. เพชรี คันธสายบัว
สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
พญ สรสพร จูวงษ์
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
ดร.ดรุณี ภู่ขาว
มหาวิทยาลัยมหิดล
อ. ศิริพร ทองบ่อ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น
รูปแบบ
การดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราในระบบสุขภาพ
i-MAP Health Program
พญ พันธุน์ ภา กิตติรตั นไพบูลย์
กลุม่ ที่ปรึกษา กรมสุขภาพจิต
ข้อเท็จจริง
• ปี 2551 คนไทยอายุ 15-59 ปี มีปัญหาพฤติกรรมดื่มสุรา 5 ล้าน
คน โดยจัดว่าติดหล้า 3 ล้านคน
(การศึ กษาระบาดวิทยาโรคจิตเวชโดยกรมสุขภาพจิต 2551)
• คนไทยที่เข้ารับการรักษาผูป้ ่ วยในด้วยปั ญหาการดื่มสุรา 64,434
ราย ในปี 2551
(สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขปี 2551)
• คนไทยเข้ารับบริการโรคจากสารเสพติด 117,233 คน ในปี 2551
(รายงานข้อมูล 8 โรค ทั่วประเทศ ศูนย์สารสนเทศ กรมสุขภาพจิต ปี 2551)
อัตราการเข้าถึงบริการต ่ามาก
Service Providers
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปั ญหาการดื่มสุรา
การป้องกันแบบปฐมภูมิ : Universal
Education Empowerment
Engineering Enforcement Environment
ประชาชนทั ่วไป ผูไ้ ม่ดื่ม
social drinkers
การป้องกันแบบทุตยิ ภูมิ : Selected
ประชากรกลุ่มเสี่ยง
Screening
Brief intervention
การป้องกันแบบตติยภูมิ : Indicated
Detoxification
Psychosocial Ix: MI, CBT, 12 step
Relapse Prevention: Medication
Self-help Gr.
Hazardous drinkers
Harmful drinkers
ประชากรกลุ่มป่ วย
Alcohol dependents
สาวิตรี อัษณางค์กรชัย 2546
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุรา
(ผรส.)
เป็ นแผนงานภายใต้ ข้อตกลงดาเนินการระหว่าง
สสส. และ กรมสุขภาพจิต
• ระยะที่ 1: สิงหาคม 2552-ธันวาคม 2553
• ระยะที่ 2: มกราคม 2554- ธันวาคม 2555
วัตถุประสงค์
• เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราในระบบบริการ
สุขภาพของประเทศไทย
การดาเนินงาน
ระยะที่ 1 ปี 2553
• พัฒนาตัวอย่าง i-MAP Health Program
• กาหนดกรอบการดาเนินงาน
• สนับสนุนองค์ความรู ้ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ
• จัดอบรมวิทยากรตามหลักสูตรการดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราเบื้องต้น
สาหรับบุคลากรสุขภาพ
• จัดอบรมบุคลากรสุขภาพเฉพาะทางเรื่องการบาบัดรักษาผูต้ ดิ สุรา
• จัดประชุมติดตามและสรุปผลการดาเนินงาน
• นิเทศ ติดตาม
PM พื้นที่
จังหวัด/อาเภอ
ตาบล
สถานีอนามัย 1A
โรงพยาบาลจิตเวช
โรงพยาบาลชุมชน
(อาเภอ A)
สถานีอนามัย 2A
สถานีอนามัย 3 A
ศูนย์บาบัดยาเสพติด
โรงพยาบาลศูนย์/ทั ่วไป
สถานีอนามัย 1B
โรงพยาบาลชุมชน
(อาเภอ B)
สถานีอนามัย 2B
รูปแบบการดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราในระบบสุขภาพ
(I-MAP Health)
มาตรการ
จัดการ
ระยะแรก
มาตรการ
บาบัดรักษา
ภาวะถอน
พิษสุรา
มาตรการ
ดูแลระยะ
ยาวหลังการ
รักษา
มาตรการ
บาบัดรักษา
และฟื้ นฟู
สภาพ
มาตรการการคัดกรองปั ญหาการดื่มสุราและ
การบาบัดแบบสั้น
(ALCOHOL SCREENING AND BRIEF INTERVENTION)
มาตรการ
จัดการ
ระยะแรก
มาตรการ
บาบัดรักษา
ภาวะถอน
พิษสุรา
มาตรการ
ดูแลระยะ
ยาวหลังการ
รักษา
มาตรการ
บาบัดรักษา
และฟื้ นฟู
สภาพ
มาตรการการคัดกรองปั ญหาการดื่มสุราและการบาบัดแบบสั้น
วัตถุประสงค์
เพื่อค้นหาผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราในผูป้ ่ วยที่เข้ารับบริการสุขภาพทั ่วไป
โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง
เพื่อให้ผทู ้ ี่มีปัญหาการดื่มสุราได้รบั การบาบัดแบบสั้นตามความรุนแรง
ของปั ญหา
หน่วยบริการสุขภาพ
 สถานีอนามัย ศูนย์สุขภาพชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุข (กทม.)
 คลินิกผูป
้ ่ วยนอกทั ่วไป/เฉพาะทาง คลินิกจิตเวชทั ่วไป
 ห้องตรวจฉุกเฉิน หอผูป
้ ่ วยในทั ่วไป หอผูป้ ่ วยจิตเวชทั ่วไป
มาตรการการคัดกรองปั ญหาการดื่มสุราและการบาบัดแบบสั้น
กลุ่มเป้าหมาย
• ผูท้ ี่มีความเสี่ยงสูงต่อปั ญหาการดื่มสุรา เช่น ผูป้ ่ วยอุบตั เิ หตุ
ผูป้ ่ วยโรคทางกายที่สมั พันธ์กบั ปั ญหาการดื่มสุรา เช่น ผูป้ ่ วยตับ
แข็ง กระเพาะอักเสบ ผูป้ ่ วยจิตเวช/ยาเสพติด ผูป้ ่ วยโรคเรื้อรัง
หญิงตัง้ ครรภ์หรือให้นมบุตร และผูส้ ูงอายุ
กิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองปั ญหาการดื่มสุรา (Alcohol screening)
กิจกรรมที่ 2 การให้คาแนะนา/ปรึกษาเบื้องต้น (Brief Intervention)
เครือ่ งมือ/สื่อ/อุปกรณ์
• หลักสูตรอบรมการดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราเบื้องต้น
(alcohol screening/brief intervention)
• วีดีทศั น์กรณีตวั อย่าง BA/BI
Early Intervention
i-map HEALTH
เครือ่ งมือ/สื่อ/อุปกรณ์
หนังสือ AUDIT และ BI ฉบับภาษาไทยขององค์การอนามัยโลก
Early Intervention
i-map HEALTH
ระเบียบปฏิบตั ิ
•
•
•
•
กาหนด ผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ยงของหน่วยงาน
กาหนดเครื่องมือคัดกรองปั ญหาการดื่มสุราให้เหมาะกับบริบทของหน่วยงาน
กาหนดให้หน่วยงานที่มีผปู ้ ่ วยกลุ่มเสี่ยงมีผงั ไหลการดาเนิ นการ
กาหนดให้สถานพยาบาลมีการประชุมภายในหน่วยงานในวาระติดตาม
นิเทศ และสะท้อนข้อมูลกลับอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง
• บุคลากรจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตร การดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุรา
เบื้องต้นในหัวข้อ alcohol screening และ brief Intervention
• การบาบัดแบบสั้น สามารถให้บริการได้ที่หน่วยบริการนั้น ๆ ตามความ
รุนแรงของปั ญหาการดื่ม
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด SBI 1 ร้อยละ 80 ของบุคลากรสุขภาพที่ปฏิบตั งิ านในหน่วยงาน ผ่าน
การอบรมหลักสูตรการดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราเบื้องต้นในหัวข้อ Alcohol
screening และ BI
ตัวชี้วัด SBI 2: ร้อยละ 60 ของผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับบริการสุขภาพ ได้รบั
การ ประเมิน /คัดกรองปั ญหาการดื่มสุรา
ตัวชี้วัด SBI 3: ร้อยละ 80 ของผูป้ ่ วยที่มีปัญหาการดื่มสุราได้รบั การบาบัด
แบบสั้น (Brief interventions) ตามความรุนแรงของปั ญหา
ตัวชี้วัด SBI 4: ร้อยละ 60 ของผูป้ ่ วยที่ดื่มแบบเสี่ยงระดับ 2 หรือดื่มแบบ
เสี่ยง และผูด้ ื่มเสี่ยงระดับ 3 หรือดื่มแบบอันตราย สามารถหยุดดื่ม ลด
ปริมาณการดื่มหรือลดปั ญหาจากการดื่มได้เมื่อติดตามการรักษาครั้งต่อไป
(อย่างน้อย 1 เดือน)
i-map HEALTH
ตัวชี้วัด SBI 1.1ร้อยละ 80 ของบุคลากรสุขภาพที่ปฏิบตั ิงานในหน่วยงาน ผ่านการอบรม
หลักสูตรในหัวข้อ Alcohol screening และ BI
มาตรการบาบัดรักษาภาวะถอนพิษสุรา
มาตรการ
จัดการ
ระยะแรก
มาตรการ
บาบัดรักษา
ภาวะถอน
พิษสุรา
มาตรการ
ดูแลระยะ
ยาวหลังการ
รักษา
มาตรการ
บาบัดรักษา
และฟื้ นฟู
สภาพ
มาตรการบาบัดรักษาภาวะถอนพิษสุรา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเฝ้ าระวังป้องกันการเกิดภาวะถอนพิษสุรารุนแรงในผูท้ ี่มี
ประวัตดิ ื่มสุราเป็ นประจา
2. เพื่อรักษาภาวะถอนพิษสุราในผูต้ ดิ สุราและลดอันตรายจาก
ภาวะแทรกซ้อนทางกาย
มาตรการบาบัดรักษาภาวะถอนพิษสุรา
หน่วยบริการสุขภาพ
ก. สถานพยาบาลเฉพาะทาง เช่น โรงพยาบาลจิตเวช ศูนย์บาบัดรักษายา
เสพติด โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลที่มีหอผูป้ ่ วยจิตเวชและ
สารเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย ผูท้ ี่สงสัยว่าติดสุรา ผูต้ ดิ สุราที่แสดงอาการขาดสุรา หรือ ผู ้
ติดสุราที่มีประวัตขิ าดสุรารุนแรง
ข. หอผูป้ ่ วยเสี่ยงในสถานพยาบาลสุขภาพทั่วไป เช่น โรงพยาบาลฝ่ ายกาย
และโรงพยาบาลชุมชน เน้นหอผูป้ ่ วยในเสี่ยง เช่น หอผูป้ ่ วยอุบตั เิ หตุ หอ
ผูป้ ่ วยออร์โธปิ ดิกส์ หอผูป้ ่ วยอายุร กรรมชาย หอผูป้ ่ วยศัลยกรรมชาย
กลุ่มเป้าหมาย ผูป้ ่ วยอุบตั เิ หตุหรือมีภาวะฉุกเฉินทางกายที่มีปัญหาการดื่ม
สุรา
มาตรการบาบัดรักษาภาวะถอนพิษสุรา
กิจกรรมที่ 2.1 การประเมินความเสี่ยงการเกิดภาวะถอนพิษสุรา
กิจกรรมที่ 2.2 การเฝ้ าระวังความเสี่ยงการเกิดภาวะถอนพิษสุรา
กิจกรรมที่ 2.3 การรักษาภาวะถอนพิษสุรา
สาหรับ สถานพยาบาลเฉพาะทาง
กิจกรรมที่ 2.4 การประเมินและรักษาภาวะโรคร่วมและภาวะแทรกซ้อน
ทางกาย
สาหรับ หอผูป้ ่ วยเสี่ยงในสถานพยาบาลทั่วไป
กิจกรรมที่ 2.5 การให้คาปรึกษาแบบสั้นเพื่อให้ผปู ้ ่ วยตระหนักถึงปั ญหา
การดื่มและจูงใจให้รบั การบาบัดต่อเนื่อง
เครือ่ งมือ/สื่อ/อุปกรณ์
• หนังสือทบทวนความรูเ้ รื่องการป้องกันและรักษาภาวะถอนพิษสุรา:
รศ.พญ. สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล
• หนังสือทบทวนความรูเ้ รื่องการปฐมพยาบาลผูป้ ั ญหาการดื่มสุรา:
พญ. เบญจพร ปั ญญายง
แบบบันทึก AWS monitoring
Detoxification
i-map HEALTH
ระเบียบปฏิบตั ิ
• กาหนดหอผูป้ ่ วยเสี่ยงที่ดาเนินการตามมาตรการนี้
• กาหนดเครื่องมือประเมินอาการถอนพิษสุราที่ใช้ในหน่วยงาน เช่น AWS,
CIWA-Ar และปรับแบบบันทึกตามความเหมาะสม
• กาหนดให้หอผูป้ ่ วยเสี่ยงมีระเบียบปฏิบตั ิเพื่อการเฝ้ าระวังความเสี่ยงภาวะ
ถอนพิษสุราและติดตามให้การและผังไหลการดาเนินการตามมาตรการนี้
• กาหนดให้สถานพยาบาลมีการประชุมภายในหน่วยงานในวาระติดตาม
นิเทศ และสะท้อนข้อมูลกลับอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง
• บุคลากรสุขภาพที่ปฏิบตั งิ านในหอผูป้ ่ วยเสี่ยงผ่านการอบรมหลักสูตรการ
ดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราเบื้องต้นในหัวข้อ alcohol withdrawal/alcohol
detoxification/ medical complication/medical co-morbidity
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด ADL 1 ร้อยละ 80 ของบุคลากรสุขภาพที่หน่วยบริการเฉพาะทาง หรือ
หอผูป้ ่ วยเสี่ยงที่หน่วยบริการทั ่วไปผ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผูม้ ี
ปั ญหาการดื่มสุราเบื้องต้นในหัวข้อ alcohol withdrawal/alcohol
detoxification/medical complication/medical co-morbidity
ตัวชี้วัด ADT 2: ร้อยละ 80 ของผูป้ ่ วยที่อายุ 15 ปี ขึ้นในหอผูป้ ่ วยเสี่ยงได้รบั
การประเมินความเสี่ยงการเกิดภาวะถอนพิษสุรา
ตัวชี้วัด ADT 3: ร้อยละ 80 ของผูป้ ่ วยที่มีความเสี่ยงการเกิดภาวะถอนพิษสุรา
ได้รบั การประเมินติดตามอาการขาดสุรา (alcohol withdrawal monitoring)
และให้การรักษาตามความรุนแรงของอาการถอนพิษสุรา
Detoxification
i-map HEALTH
ตัวชี้วัด
หน่วยบริการเฉพาะทาง
ตัวชี้วัด ADT 4-1 :ร้อยละ 80 ของผูป้ ่ วยที่มีมีปัญหาการดื่มสุราได้รบั การ
ประเมินและเฝ้ าระวังภาวะแทรกซ้อนและโรคร่วมทางกาย
ตัวชี้วัด ADT 5-1 : ร้อยละของผูม้ ีอาการถอนพิษสุราแบบรุนแรงนานเกิน 3
วันน้อยกว่าร้อยละ 10 ของผูป้ ่ วยสุราของหอผูป้ ่ วยนั้นทั้งหมดในแต่ละเดือน
หน่วยบริการทั ่วไป
ตัวชี้วัด ADT 4-2 : ร้อยละ 80 ของผูป้ ่ วยที่ผ่านการรักษาภาวะถอนพิษสุราแบบ
ผูป้ ่ วยในได้รบั การให้คาปรึกษาแบบสั้น และจูงใจให้รบั การบาบัดรักษาปั ญหา
การดื่มสุรา
ตัวชี้วัด ADT 5-2 : ร้อยละของผูม้ ีอาการถอนพิษสุราแบบรุนแรงน้อยกว่าร้อยละ
10 ของผูป้ ่ วยทั้งหมดในแต่ละเดือน
i-map HEALTH
มาตรการการบาบัดรักษาและฟื้ นฟูสภาพ
(Alcohol Treatment and Rehabilitation)
มาตรการ
จัดการ
ระยะแรก
มาตรการ
บาบัดรักษา
ภาวะถอน
พิษสุรา
มาตรการ
ดูแลระยะ
ยาวหลังการ
รักษา
มาตรการ
บาบัดรักษา
และฟื้ นฟู
สภาพ
มาตรการการบาบัดรักษาและฟื้ นฟูสภาพ
วัตถุประสงค์
• เพื่อช่วยให้ผปู ้ ่ วยสามรถ ละ ลด หรือเลิกดื่ม
• เพื่อป้องกันการกลับดื่มและมีปัญหาซ้ า เสริมศักยภาพให้สามารถกลับไปใช้
ชีวิตอย่างปกติสุข
หน่วยบริการสุขภาพ
• กลุ่มงาน/ฝ่ าย/แผนก/คลินิก ที่รบั ผิดชอบงานบาบัดรักษาผูต้ ิดสุราและ/
หรือสารเสพติดของศูนย์บาบัดรักษายาเสพติด โรงพยาบาลจิตเวช
• คลินิกสุขภาพจิต/ยาเสพติดในโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั ่วไป
โรงพยาบาลศูนย์ คลินิกยาเสพติดในศูนย์บริการสาธารณสุข (กทม)
• สถานพยาบาลปฐมภูมิ เช่น สถานีอนามัย หรือ PCU ที่มีความพร้อมและ
ศักยภาพ
มาตรการการบาบัดรักษาและฟื้ นฟูสภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
• ผูต้ ดิ สุรา/ผูต้ ดิ สุราที่ผ่านการถอน พิษสุรา
• ผูด้ ื่มแบบอันตรายที่ไม่สามารถควบคุมการดื่มได้
กิจกรรม
กิจกรรมที่ 3.1 การประเมินปั ญหาการดื่มสุราอย่างครอบคลุม และ
ประเมินโรคจิตเวชร่วม
กิจกรรมที่ 3.2 การรักษาด้วยจิตสังคมบาบัด (Psychosocial treatment)
กิจกรรมที่ 3.3 การรักษาด้วยยา (Pharmacological treatment)
กิจกรรมที่ 3.4 การช่วยเหลือด้านครอบครัว
เครื่องมือ/สื่อ/อุปกรณ์
• หนังสือทบทวนความรูเ้ รื่องการบาบัดแบบสั้นในผูม้ ีปัญหาการดื่มสุรา : พญ. สายรัตน์ นก
น้อย
• หนังสือทบทวนความรูเ้ รื่องจิตสังคมบาบัดสาหรับผูต้ ดิ สุรา : พอ. นพ. พิชยั แสงชาญชัย
• หนังสือทบทวนความรูเ้ รื่องการใช้ยาในการบาบัดรักษาผูต้ ดิ สุรา: ศ. นพ.มานิต ศรีสุรภานนท์
Alcohol treatment and rehabilitation
i-map HEALTH
ระเบียบปฏิบตั ิ
• กาหนดให้หน่วยงานที่รบั ผิดชอบมีระเบียบปฏิบตั ิเพื่อการบาบัดรักษาฟื้ นฟู
สภาพผูต้ ดิ สุรา และผังไหลการดาเนินการตามมาตรการนี้
• กาหนดให้สถานพยาบาลมีการประชุมภายในหน่วยงานในวาระติดตาม
นิเทศ และสะท้อนข้อมูลกลับเดือนละ 1 ครั้ง
• บุคลากรสุขภาพที่ปฏิบตั งิ านในหน่วยงานที่รบั ผิดชอบผ่านการอบรม
หลักสูตรการบาบัดรักษาผูต้ ดิ สุราในหัวข้อ CBT และ/หรือ MET
• มีปัญหาการดื่มสุราทุกรายได้รบั การประเมินปั ญหาการดื่มสุราอย่าง
ครอบคลุม ได้แก่ ปั ญหาพฤติกรรมดื่ม สถานการณ์เสี่ยงและทักษะในการ
จัดการปั ญหา ประเมินแรงจูงใจและความพร้อม และประเมินความ
เข้มแข็งและแหล่งสนับสนุนในสังคม ตามกิจกรรมที่ 3.1
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด TRB 1 ร้อยละ 80 ของบุคลากรสุขภาพที่ปฏิบตั งิ านในคลินิกบาบัด
สุราได้รบั การอบรมหลักสูตรการบาบัดรักษาผูต้ ดิ สุราในหัวข้อ CBT / MET
ตัวชี้วัด TRB 2 ร้อยละ 70 ของผูป้ ่ วยที่มีปัญหาการดื่มสุราในคลินิกบาบัดสุรา
ได้รบั การรักษาด้วยจิตสังคมบาบัด ได้รบั การติดตามภายใน 3 เดือน
ตัวชี้วัด TRB 3 ร้อยละ 70 ของผูป้ ่ วยที่มีปัญหาการดื่มสุราในคลินิกบาบัดสุรา
มีการเพิ่มขึ้นของ % abstinence day ณ 3 เดือนหลังรับการรักษาครั้งนี้
ตัวชี้วัด TRB 4 ร้อยละ 70 ของผูป้ ่ วยที่มีปัญหาการดื่มสุราในคลินิกบาบัดสุรา
มีการลดลงของ % heavy drinking day ณ 3 เดือนหลังรับการรักษา
i-map HEALTH
มาตรการดูแลระยะยาวหลังการรักษา
(Aftercare)
มาตรการ
จัดการ
ระยะแรก
มาตรการ
บาบัดรักษา
ภาวะถอน
พิษสุรา
มาตรการ
ดูแลระยะ
ยาวหลังการ
รักษา
มาตรการ
บาบัดรักษา
และฟื้ นฟู
สภาพ
มาตรการดูแลระยะยาวหลังการรักษา
วัตถุประสงค์
• เพื่อให้สามารถคงการหยุดดื่มหรือลดความเสี่ยงในการดื่มลง
• เพื่อให้กลับไปใช้ชีวิตในชุมชน สังคมได้อย่างมีคณ
ุ ภาพ
หน่วยบริการสุขภาพ
• หน่วยบริการสาธารณสุขในรูปแบบเชิงรุก ทั้งสถานพยาบาลปฐมภูมิ
ฝ่ ายสุขภาพจิต/ยาเสพติด และเวชศาสตร์ป้องกันในโรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลทั ่วไป ฝ่ ายชุมชนของโรงพยาบาลจิตเวช และศูนย์
บาบัดรักษายาเสพติด
• หน่วยบริการในชุมชน โดยชุมชน เช่น วัด เครือข่ายชุมชน สมาชิกผู ้
ติดสุราและ/หรือครอบครัว
มาตรการดูแลระยะยาวหลังการรักษา
กลุ่มเป้าหมาย
• ผูต้ ดิ สุราที่ผ่านการบาบัดและกลับสูช่ ุมชน
•ผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราในชุมชน
กิจกรรม
กิจกรรมที่ 4.1: การติดตามเชิงรุกในชุมชนและให้การดูแลรายกรณี
กิจกรรมที่ 4.2: กลุ่มช่วยเหลือกันเอง (self help group)
กิจกรรมที่ 4.3: การบาบัดฟื้ นฟูในชุมชนโดยชุมชน (community action)
เครือ่ งมือ/สื่อ/อุปกรณ์
ระเบียบปฏิบตั ิ
• กาหนดให้หน่วยงานมีการวิเคราะห์ศกั ยภาพของสถานพยาบาล ชุมชนและ
หารูปแบบกิจกรรมการดูแลระยะยาวในชุมชนที่เหมาะกับบริบทของตน
• กาหนดให้หน่วยงานมีการวางแผนและดาเนินการกิจกรรมการดูแลระยะ
ยาวในชุมชนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือมากกว่า
• มีการติดตามกลุ่มเป้าหมายที่กาหนดอย่างต่อเนื่องและให้การช่วยเหลือ
ตามปั ญหา
• มีการประเมินผลกิจกรรมการดูแลระยะยาวในชุมชนอย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด AFC 1 สถานพยาบาลมีการสนับสนุนบริการดูแลระยะยาวในชุมชนใน
ระดับ 1 ขึ้นไป
ีการด2าเนิอันตการใด
ๆ ใ่ นกิจกรรมการดูแลระยะยาวในชุมชนของผูม
ตั0วยัชีง้ วไม่ัดมAFC
ราการคงอยู
้ ี
1 มีปักญ
ารวิหาการดื
เคราะห์ศ่มกั สุยภาพของสถานพยาบาล
รามากกว่าร้อยละ 50ชุมชนและหารูปแบบกิจกรรมการดูแลระยะ
ยาวในชุมชนที่เหมาะกับบริบทของตน
ตั2วมีชีก้ วารวางแผนในพื
ัด AFC 3: ร้อ้ นที
ยละ
ของผูม้ ีปัญหาการดืจ่มกรรมการดู
สุราที่เข้าแโปรแกรมการดู
แล
่ มีก70
รอบระยะเวลาและแผนกิ
ลระยะยาวในชุมชน
้ าในโรงพยาบาล
มชนจกรรมการดู
ไม่กลับรักแษาซ
3 มีระยะยาวในชุ
การเริ่มดาเนินการกิ
ลระยะยาวในชุ
มชน (readmission) ในช่วง 6
อนที
ิ กิตาม
4 มีเดื
การด
าเนิ่ตนด
จกรรมการดูแลระยะยาวในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
5 มีการประเมินผลกิจกรรมการดูแลระยะยาวในชุมชน
Aftercare
i-map HEALTH
โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราในระบบสุขภาพ
(I-MAP Health)
เชียงใหม่
นาร่องพื้นที่ 10 จังหวัด: 8 รพ.เฉพาะทาง/ 2
รพ.ทั ่วไป /19 รพ.ชุมชน/184 PCU/สอ.
มาตรการ
• วัตถุประสงค์
• หน่วยบริการสุขภาพ
• กลุม่ เป้าหมาย
• กิจกรรมบริการ
• กิจกรรมสนับสนุน
• หนังสืออ่านประกอบ
• เครื่องมือ/สื่อ/อุปกรณ์/แบบบันทึก
• ระเบียบปฏิบตั ิ
• ตัวชี้วัด
• เอกสารอ้างอิง
ขอนแก่น
น่าน
ลาพูน
อุบลราชธานี
นครราชสีมา
กทม.
สระแก้ว
สุราษฎร์ธานี
สงขลา
โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผูม้ ีปัญหาการดื่มสุราในระบบสุขภาพ
(I-MAP Health)
PM พื้นที่เดิม
PM พื้นที่ใหม่
สถาบัน/รพ จิตเวช 7 แห่ง
สถาบัน/รพ จิตเวช 6 แห่ง
สถาบัน/ศูนย์บาบัดฯ 1 แห่ง
สถาบัน/ศูนย์บาบัดฯ 5 แห่ง
รพศ รพท 1 แห่ง
รพศ รพท 4 แห่ง
ระยะที่ 2
ปี 2554-2555
www.i-mapthailand.org