Animal Hotpital Standards Accreditation

Download Report

Transcript Animal Hotpital Standards Accreditation

Animal Hospital Standards
and Accreditation
SIRIPORN KONGSOI
Hospital Accreditation (HA)

แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ
(Total Quality Management/Continuous Quality
Improvement (TQM/CQI)

HA is an education process, not an inspection

การตรวจสอบตามมาตรฐาน ---> เป็ นเครื่ องมือเพื่อส่ งเสริ มการ
ประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
องค์ ประกอบสำคัญของกระบวนกำร HA
การมีมาตรฐานโรงพยาบาลที่ใช้เป็ นกติการ่ วมกัน เป็ นมาตรฐานเชิงระบบ
ที่ส่งเสริ มการพัฒนา
 การที่โรงพยาบาลใช้มาตรฐานเพื่อการประเมินและพัฒนาตนเอง
อย่างสอดคล้องกับบริ บทของตน และมีหลักคิดหรื อค่านิยมที่เหมาะสม
 การประเมินจากภายนอกในลักษณะของกัลยาณมิตร
 การยกย่องชื่นชมด้วยการมอบประกาศนี ยบัตรรับรองหรื อ
การมอบกิตติกรรมประกาศในความสาเร็ จ

กำรพัฒนำ HA ในประเทศไทย
Joint Commission for Healthcare Organization
Accreditation (JCAHO)
 สหรัฐอเมริ กา แคนาดา ออสเตรเลีย นิ วซี แลนด์  70 ประเทศทัว่ โลก
 พ.ศ. 2540 เริ่ มนาระบบเข้ามาทดลองใช้ในประเทศไทย

HA is an educational process, not an inspection
ประเทศไทยจึงรับแนวคิดที่มุ่งเน้นการพัฒนา > การตรวจสอบตั้งแต่ตน้
กำรพัฒนำ HA ในประเทศไทย
ในช่วงเริ่ มต้น เป็ นการเรี ยนรู ้ร่วมกัน ทดลองปฏิบตั ิ แลกเปลี่ยนประสบการณ์
 ช่วงที่สอง เน้นการตีความหมายของมาตรฐานเพื่อนาไปสู่ การปฏิบตั ิ
มาตรฐาน HA ฉบับแรก คือ ฉบับปี กาญจนาภิเษก ได้กระตุน้ ให้เกิดรู ปธรรม
ของการจัดระบบงาน ถือเป็ นเรื่ องใหม่สาหรับประเทศไทย
 ช่วงที่สาม การจัดระบบบันได 3 ขั้น สู่ HA เพื่อง่ายต่อการปฏิบตั ิตามสภาพ
ความพร้อมของโรงพยาบาล

บันได 3 ขั้น สู่ HA

บันไดขั้นที่ 1 คือ การเรี ยนรู ้จากปัญหาและเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์

บันไดขั้นที่ 2 คือ การพัฒนาในส่ วนต่างๆ ของโรงพยาบาลอย่างเป็ นระบบ
ได้แก่ หน่วยบริ การ ระบบงาน กลุ่มผูป้ ่ วย และองค์กร
ตามวงล้อการพัฒนาและการเรี ยนรู ้ Plan-Do-Study-Act หรื อ
Design-Action-Learning-Improvement

บันไดขั้นที่ 3 คือ การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย และ
วัฒนธรรมการเรี ยนรู ้ มีการนามาตรฐานมาปฏิบตั ิตามเกณฑ์ที่กาหนด
Animal Hospital Standards
and Accreditation
ทำไมโรงพยำบำลสัตว์ หรือคลินิกรักษำสัตว์ ถงึ ควรจะทำ HA
สั งคมมีกำรเปลีย่ นแปลงไปสู่ กำรดูแลสั ตว์ เลีย้ งเสมือนสมำชิกในครอบครัว
 ควำมคำดหวังจำกเจ้ ำของสั ตว์ ทจี่ ะได้ รับบริกำรทีม
่ ีคุณภำพสู ง
 ขนำดของโรงพยำบำลสั ตว์ ใหญ่ ขน
ึ้ และซับซ้ อนขึน้
 จำนวนโรงพยำบำลและคลินิกทีม
่ ีมำกขึน้ และมีกำรแข่ งขันสู ง
 กำรเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีและข้ อมูลข่ ำวสำรของกำรรั กษำสั ตว์
 ภำพลักษณ์ และจรรยำบรรณของวิชำชีพ

เมื่อทำ HA แล้ วได้ ประโยชน์ อะไร
• ควำมเสี่ยงต่ อกำรเจ็บป่ วยจำก
กำรทำงำนลดลง
• กำรเข้ ำใจผิดระหว่ำง
ผู้รับบริกำรกับเจ้ ำหน้ ำที่ลดลง
• สิ่งแวดล้อมในกำรทำงำนและ
กำรประสำนงำนดีขนึ้
• เจ้ ำหน้ ำที่ได้ เรียนรู้และพัฒนำ
ศักยภำพของตนเอง
บุคลากรของ
โรงพยาบาล
สัตว์ป่วย
• ควำมเสี่ยงต่ อกำรประสบควำม
สู ญเสียหรือ ภำวะแทรกซ้ อนลดลง
• คุณภำพกำรดูแลรักษำดีขนึ้
• กำรพิทักษ์ สิทธิสัตว์ป่วยมีมำกขึน้
• ปรับปรุงคุณภำพกำรเรียนกำรสอน
โรงพยาบาล
• ได้ รับกำรเชื่อถือและยอมรับจำกลูกค้ำ และสังคม
• องค์กรสำมำรถปรับตัวต่ อกำรเปลีย่ นแปลงผ่ำนกำรเรียนรู้และพัฒนำอย่ ำงต่ อเนื่อง
• องค์กรอยู่รอดและมีควำมยัง่ ยืน
ที่มา: ดัดแปลงจากเอกสาร “กำรพัฒนำและรับรองคุณภำพโรงพยำบำลสัตว์ เพือ่ กำรเรียนกำรสอน “
HA สำหรับโรงพยำบำลสั ตว์ ในสหรัฐอเมริกำ
American Animal Hospital Association (AAHA): องค์กรที่ตรวจรับรอง
 ต่อใบรับรองทุก 3 ปี
 AAHA standards of accreditation

HA สำหรับโรงพยำบำลสั ตว์ ในสหรัฐอเมริกำ







ANESTHESIA
CLIENT SERVICES
CONTAGIOUS DISEASE
CONTINUING EDUCATION
DENTISTRY
DIAGNOSTIC IMAGING
EMERGENCY AND URGENT
CARE
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
EXAMINATION FACILITIES
HOUSEKEEPING AND MAINTENANCE
HUMAN RESOURCE
LABORATORY
LEADERSHIP
MEDICAL RECORDS
PAIN MANAGEMENT
PATIENT CARE
PHARMACY
SAFETY
SURGERY
HA สำหรับโรงพยำบำลสั ตว์ ในออสเตรเลีย
Australian Small Animal Veterinary Association (ASAVA):
องค์กรที่ตรวจรับรอง
 ต่อใบรับรองทุก 4 ปี
 Manual of Hospital Standards: Updated Version 2009

HA สำหรับโรงพยำบำลสั ตว์ ในออสเตรเลีย












MEDICAL RECORDS
EXAMINATION FACILITIES
PHARMACEUTICAL SERVICES
LABORATORY/PATHOLOGY
DIAGNOSTIC IMAGING
ANAESTHESIA
SURGERY
DENTISTRY
NURSING CARE AND WARDS
LIBRARY
EMERGENCY SERVICES
CHEMOTHERAPEUTICS AND CYTOTOXICS
HA สำหรับโรงพยำบำลสั ตว์ ในอังกฤษ
Royal College of Veterinary Surgeons : องค์กรที่ตรวจรับรอง
 ต่อใบรับรองทุก 4 ปี
 RCVS Practice Standards Scheme Manual

HA สำหรับโรงพยำบำลสั ตว์ ในอังกฤษ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
STAFF
CLINICAL GOVERNANCE
AVAILABILITY AND PATIENT CARE
PREMISES AND OUT-PATIENT FACILITIES
IN-PATIENT FACILITIES
DIAGNOSTIC EQUIPMENT AND FACILTIES
LABORATORY AND POST-MORTEM FACILTIES
SAFETY PROCEDURES
EMERGENCY SERVICE CLINIC
HA สำหรั บโรงพยำบำลสัตว์ ในต่ ำงประเทศ
มาตรฐานโรงพยาบาลสัตว์ ของสหรัฐอเมริ กา/ออสเตรเลีย/ อังกฤษ
 ประกอบไปด้วยมาตรฐานที่สามารถใช้ในการประเมินตนเอง เพื่อให้พร้อมต่อ
การตรวจสอบจากหน่วยงานที่รับรอง
 หน่วยงานรับรอง เน้นการตรวจสอบตามเกณฑ์มาตรฐานเป็ นหลัก คล้ายกับ
HA ในยุคแรกๆ
 ไม่มีในเรื่ องภาพรวมของการบริ หารองค์กรหรื อแนวคิดในการพัฒนาองค์กร
อย่างต่อเนื่อง

บันได 3 ขั้น สู่ HA

บันไดขั้นที่ 1 คือ การเรี ยนรู ้จากปัญหาและเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์

บันไดขั้นที่ 2 คือ การพัฒนาในส่ วนต่างๆ ของโรงพยาบาลอย่างเป็ นระบบ
ได้แก่ หน่วยบริ การ ระบบงาน กลุ่มผูป้ ่ วย และองค์กร
ตามวงล้อการพัฒนาและการเรี ยนรู ้ Plan-Do-Study-Act หรื อ
Design-Action-Learning-Improvement

บันไดขั้นที่ 3 คือ การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย และ
วัฒนธรรมการเรี ยนรู ้ มีการนามาตรฐานมาปฏิบตั ิตามเกณฑ์ที่กาหนด
กำรพัฒนำ HA สำหรับโรงพยำบำลสั ตว์ ในประเทศไทย

ในช่วงเริ่ มต้น เป็ นการเรี ยนรู ้ร่วมกัน ทดลองปฏิบตั ิ แลกเปลี่ยนประสบการณ์

โดยเน้นการตีความหมายของมาตรฐานเพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ิ
โดยใช้มาตรฐาน HA สาหรับโรงพยาบาลสัตว์ของประเทศ สหรัฐอเมริ กา
ออสเตรเลียและอังกฤษเป็ นแนวทาง เพื่อให้เกิดรู ปธรรมของการจัดระบบงาน

พร้อมกับการจัดระบบบันได 3 ขั้น สู่ HA ตามความพร้อมและบริ บทของ
โรงพยาบาลสัตว์แต่ละแห่ง
Q&A