- สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

Download Report

Transcript - สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

เราจะขับเคลื่อนระบบการให้บริ การบาบัดผูเ้ สพ
ยาสูบแบบมีส่วนร่ วมได้อย่างไร
สถานการณ์การบริโภคยาสูบ
ี่ งทีท
• บุหรีเ่ ป็นปัจจ ัยเสย
่ ำให้เกิดภำระโรคสูงอ ันด ับ 2 รองจำก
แอลกอฮอล์
ี ชวี ต
• ร้อยละ 10 ของผูเ้ สย
ิ จำกโรคจำกกำรสูบบุหรี่ มีอำยุไม่เกิน 44 ปี
ี ชวี ต
• ผูท
้ ต
ี่ ด
ิ บุหรีร่ ะยะยำวจะเสย
ิ ด้วยโรคอ ันเนือ
่ งมำจำกกำรสูบบุหรี่ และ
ั้
มีอำยุสนลง
20 – 25 ปี
• ล่ำสุดจำกผลกำรสำรวจกำรบริโภคยำสูบในผูใ้ หญ่ระด ับโลก(GATS)
้ ไปในปี 2554 เทียบก ับ ปี 2552 พบว่ำ
ของประชำกรไทยอำยุ 15 ปี ขึน
การใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ
ประเภทยาสูบ ชนิ ดมีควัน
ผูใ้ ช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบปั จจุบนั (ล้านคน)
o บุหรี่ (Any cigarettes)
บุหรีโ่ รงงาน (Manufactured cigarettes)
บุหรีม่ วนเอง (Hand-rolled cigarettes)
o ยาสูบมีควัน ชนิ ดอื่นๆ (Other smoked
tobacco products)
2552
12.5
12.4
7.9
7.4
0.1
2554
13.0
12.9
8.2
7.8
0.1
้ ลิตภ ัณฑ์ยำสูบ
กำรใชผ
กราฟแสดงร้อยละของผูใ้ ช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบปั จจจจบบั
(ทั้งช ิดมีควั และไม่มีควั ) จจาแ กตามเพศ
หมายเหตบ 1) ปี 2552 ปชก.รวม ที่ใช้ยาสูบปั จจจจบบั มีจจา ว เท่ากับ 14.3 ล้า ค
2) ปี 2554 ปชก.รวม ที่ใช้ยาสูบปั จจจจบบั มีจจา ว เท่ากับ 14.6 ล้า ค
3) ผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางค ใช้ยาสูบมากกว่า 1 ช ิด
ผลกำรสำรวจกำรบริโภคยำสูบในผูใ้ หญ่ระด ับโลก(GATS)
เยำวชนเริม
่ สูบบุหรีเ่ ป็นประจำทีอ
่ ำยุนอ
้ ยลง จำก 18.5 ปี
เป็น 17.4 ปี
้ โดยเฉพำะกลุม
จำนวนและอ ัตรำกำรสูบบุหรี่ มีแนวโน้มเพิม
่ ขึน
่
อำยุ 15 – 17 ปี เพิม
่ จำกร้อยละ 19.8 เป็นร้อยละ 21.7
ื้ บุหรีซ
ิ ำแรตได้
เยำวชนอำยุนอ
้ ยกว่ำ 18 ปี ย ังคงเข้ำถึงและซอ
่ ก
ั
โดยง่ำย โดยเฉพำะอย่ำงยิง่ จำกร้ำนขำยของชำ ใกล้ทพ
ี่ ักอำศย
ื้ บุหรีแ
้ จำกร้อยละ 84.3
ซงึ่ มีกำรซอ
่ บบแบ่งมวนขำยเพิม
่ ขึน
เป็นร้อยละ 88.3
อ ัตรำกำรสูบบุหรีแ
่ บ่งตำมรำยภำคย ังสูงโดยเฉพำะ 1)ภำคใต้
(ร้อยละ 29.9) 2)ภำคตะว ันออกเฉียงเหนือ (ร้อยละ 25.1)
3)ภำคกลำง (ร้อยละ 23.4) และ 4)ภำคเหนือ (ร้อยละ 21.7)
ผลกำรสำรวจกำรบริโภคยำสูบในผูใ้ หญ่ระด ับโลก(GATS)
อ ัตรำกำรบริโภคยำสูบชนิดมีคว ัน ในปี 2554 พบชนบทสูบ
มำกกว่ำในเมือง (ร้อยละ 25.9 และร้อยละ 20.3 ) โดยแบ่งเป็น
บุหรีโ่ รงงำน ร้อยละ 15.2 และบุหรีม
่ วนเอง ร้อยละ 14.4
ื้ บุหรีร่ ำคำถูกเพิม
้ จำก 2 ใน 10
ผูท
้ ส
ี่ บ
ู บุหรี่ นิยมซอ
่ ขึน
เป็น 4 ใน 10
้ จำกร้อยละ 2.6 เป็นร้อยละ 4.8
บุหรีเ่ ลีย
่ งภำษี มีจำนวนเพิม
่ ขึน
โดยเฉพำะกทม.และภำคใต้
้ ลิตภ ัณฑ์ยำสูบปัจจุบ ันชนิดมีคว ันทีค
ผูใ้ ชผ
่ ด
ิ จะเลิกสูบในปี
2554 โดยรวมร้อยละ 54.0 (ในเมืองร้อยละ 58.8
ชนบทร้อยละ 52.0)
กำรได้ร ับคว ันบุหรีม
่ อ
ื สอง
กราฟแสดงการได้รบั ควั มือสองทีบ่ า้ ที่ทางา และสถา ที่สาธารณะต่างๆ
ใ ช่วง 30 วั ก่อ การสัมภาษณ์
2554
2552
สถานการณ์ NCD
• ปั ญหาโรคเรื อ้ รังไม่ตดิ ต่อ (non-communicable diseasesNCD) ไม่วา่ จะเป็ นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน โรคหลอดเลือดสมอง
ก่อให้ เกิดอัมพาตหรื ออัมพฤกษ์ โรคถุงลมโป่ งพอง โรคมะเร็ ง โรคความดัน
โลหิตสูง และโรคเบาหวาน นันก
้ าลังทวีความความรุนแรงและสร้ างปั ญหา
ใหม่ให้ แก่สงั คมไทยมากมาย
• จากรายงานการสารวจขององค์การอนามัยโลกใน ค.ศ.2008 พบว่า การ
เสียชีวิตของคนไทยในปั จจุบนั นันเกิ
้ ดจากโรคในกลุม่ NCD นี ้มากถึงร้ อย
ละ 71.1 ซึง่ นับว่าเป็ นประเทศที่มีอตั ราการเกิดโรคกลุม่ NCD สูงมากติด
5 อันดับแรกของภูมิภาคเอเชีย โดยปั จจัยเสี่ยงที่สาคัญที่สดุ ในการก่อให้ เกิด
โรคกลุม่ นี ้ 2 อันดับแรกก็คือ แอลกอฮอล์ และ บุหรี่
มาตรการที่สาคัญ
• การเพิ่มความเข้ มข้ นเชิงนโยบายในการควบคุมยาสูบ
• การจัดระบบบริการเลิกบุหรี่ ให้ ประชาชนเข้ าถึงได้ โดยง่าย
• ทังสองมาตรการเมื
้
อ่ ดาเนินการร่วมกันจะสามารถลดภาระโรคอันเกิด
จากยาสูบได้ เกินร้ อยละ 50 ของที่มีอยูเ่ ดิม
• สาหรับการเพิ่มความเข้ มข้ นเชิงนโยบายในการควบคุมยาสูบอืน่ ๆ
– การปรับขึ ้นเพดานภาษี ยาสูบ
– การขยายภาพคาเตือนบนซองบุหรี่
– การห้ ามโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกประเภทในทุกรูปแบบทังทางตรงและ
้
ทางอ้ อมอย่างเคร่งครัด
มาตรการที่สาคัญ
• ในแง่ของการการจัดระบบบริการเลิกบุหรี่ ให้ เกิดขึ ้นอย่างเป็ นรูปรรรม
• ต้ องมีการดาเนินงานต้ องมีการบูรณาการการทางานและบทบาทหน้ าที่
ของหลากหลายองค์กรเข้ าไว้ ด้วยกันทังจากภาครั
้
ฐและภาคเอกชน
เพื่อให้ การให้ บริการนี ้มีประสิทริภาพและได้ ผลสาเร็จสูงสุด
• สามารถเข้ าถึงยาช่วยเลิกบุหรี่ มาตรฐานได้ อย่างเท่าเทียมและทัว่ ถึง
โดยการสนับสนุนจากภาครัฐต่อไป
ระบบบริ การเลิกบุหรี่ ในประเทศไทย แบ่งได้เป็ น 3 ระดับ
• 1. บริการโดยมีชมุ ชนเป็ นฐาน การบาบัดผ่านศูนย์บริการเลิกบุหรี่
ทางโทรศัพท์แห่งชาติ (ศบช.) 1600 และบริการการบาบัดใน
สถานพยาบาล โดยทังสามระดั
้
บจะทางานประสานกัน
– เช่น อสม. รพสต. กานัน/ผู้ใหญ่บ้าน อปท. ตารวจ พระสงฆ์และผู้นาศาสนา
ครู รวมทังประชาชนผู
้
้ ที่เลิกบุหรี่ ได้ สาเร็จและมีจิตอาสา
– บริการนี ้อยูใ่ นตัวชุมชนของผู้สบู เองโดยตรง “บาบัดด้ วยคนที่ค้ นุ เคยและ
เคารพ” โดยมีกลุม่ บุคลากรที่ปฏิบตั ิหน้ าที่ ที่ผ่านการอบรมอย่างเป็ นระบบ
การบาบัดในกลุม่ นี ้จะทาควบคูไ่ ปกับศูนย์บริการเลิกบุหรี่ ทางโทรศัพท์
แห่งชาติ (ศบช.) 1600
ระบบบริ การเลิกบุหรี่ ในประเทศไทย แบ่งได้เป็ น 3 ระดับ
• 2.ในกรณีที่ผ้ สู บู บุหรี่ ไม่สามารถเลิกได้ สาเร็จ มีโรคประจาตัวหรื อโรค
เรื อ้ รัง หรื อสงสัยว่าจะมีโรคประจาตัวร่วมด้ วย ก็จะถูกส่งเข้ ามารับการ
บาบัดในสถานพยาบาล
– โรงพยาบาลชุมชน
– โรงพยาบาลทัว่ ไป
– โรงพยาบาลศูนย์
– อื่นๆ
ิ้ ปี พ.ศ. 2557
3. เป้ำหมำยหล ักในกำรดำเนินงำนเมือ
่ สน
1
• อัตราการสูบบบหรี่ปัจจจจบบั ของประชากรไทยอายบ 15 ปี ขึ้ ไป โดยรวมและ
ประชากรชาย ลดลงร้อยละ 10 จจากปี พ.ศ. 2552 (โดยรวม 18.7%, ชาย 37.5% )
ขณะที่อตั ราการสูบบบหรี่ปัจจจจบบั ของประชากรหญิงอายบ 15 ปี ขึ้ ไป ไม่เพิ่มขึ้ จจาก
ฐา ข้อมูลการสารวจจปี พ.ศ. 2552 (หญิง 2%)
2
• ปริมาณการบริโภคยาสูบต่อหัวประชากรต่อปี ลดลงไม่ อ้ ยกว่าร้อยละ 20 จจากปี
พ.ศ. 2552 (547 มวนต่ อคนต่ อปี )
3
• ควบคบมมิให้อตั ราการบริโภคยาสูบช ิดอื่ ๆ (บบหรี่ไร้ควั ) เพิ่มขึ้ จจากฐา ข้อมูล
การสารวจจปี พ.ศ. 2552 (3.9%)
4
• อัตราการได้รบั ควั บบหรี่มือสองของประชาช ลดลงร้อยละ50 จจากปี พ.ศ. 2552
(32.8 %)
ต ัวชวี้ ัดระด ับกระทรวง
เป้ำหมำยระยะ 3-5 ปี (ปี 2556-2560)
ร้อยละผูส
้ บ
ู บุหรีใ่ นว ัยรุน
่ (ไม่เกิน 10)
เป้ำหมำยระยะ 1 ปี (ปี 2556)
่ เสริม
ร้อยละของสถำนบริกำรสำธำรณสุขและสง
สุขภำพจ ัดเป็นเขตปลอดบุหรี1
่ 00%
(เป้ำหมำยร้อยละ 100)
มาตรการเร่งด่วนทีต
่ ้องดาเนินการ
• การขับเคลื่อ แผ ยบทธศาสตร์การควบคบมยาสูบแห่งชาติ พ.ศ. 2555
– 2557 ลงสู่ สคร.และจจังหวัด เพื่อจจัดทาแผ ปฏิบตั กิ ารประจจาปี
รองรับ โดยมียบทธศาสตร์ที่สาคัญใ การดาเ ิ งา ควบยาสูบของ
ประเทศ 8 ยบทธศาสตร์ ดัง ้ ี
– 1. การป้องกันมิให้เกิดผูบ้ ริโภคยาสูบรายใหม่
– 2. การส่งเสริมให้ผบู ้ ริโภคลด และเลิกใช้ยาสูบ
– 3. การลดพิษภัยของผลิตภัณฑ์ยาสูบ
– 4. การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ปลอดควันบุหรี่
– 5. การสร้างเสริมความเข้มแข็งและพัฒ าขีดความสามารถใ
การดาเ ิ งา ควบคบมยาสูบของประเทศ
– 6. การควบคบมการค้าผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ผิดกฎหมาย
– 7. การแก้ปัญหาการควบคบมยาสูบโดยใช้มาตรการทางภาษี
– 8. การเฝ้ าระวังและควบคบมอบตสาหกรรมยาสูบ
ทุนทางสังคม
• หลายพื ้นที่ มีทนุ ทางสังคมเป็ นพื ้นฐาน ที่เกิดจากภูมิปัญญาของพื ้นที่
เอง เกิดจากการทาโครงการกับภาคีตา่ งๆ เช่น มูลนิริรณรงค์ฯ ภาคี
เครื อข่ายวิชาชีพสุขภาพ ศจย. สสส. ควรจะดาเนินการโดยการต่อ
ยอดจากทุนทางสังคมเดิม
• ใช้ ศกั ยภาพของภาคีตา่ งๆมาร่วมมือกันทังภาครั
้
ฐและเอกชน รวมถึง
ร้ านค้ าปลีกที่ค้ายาสูบ สถานประกอบการ อื่นๆ
• กระชับพื ้นที่ให้ ผ้ สู บู มีพื ้นที่สบู บุหรี่ น้อยลง
กิจกรรมหลักในการดาเนินการปี 2556 – 2557 ตามแผน
ยุทธศาสตร์ การควบคุมยาสู บแห่ งชาติ ยุทธศาสตร์ ที่ 2
• จุดเน้ น/การส่ งเสริมให้ ผ้ ูบริโภคลด และเลิกใช้ ยาสูบ
• ส่ งเสริม การเลิกยาสูบ
– การสร้ างสื่อหรื อเครื่ องมือในการกระตุ้นการเลิกยาสูบรณรงค์
– สร้ างและพัฒนาระบบการบันทึกข้ อมูลการบริโภคยาสูบของทุกคนที่มารับ
บริการในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ เช่น การบันทึกรหัส ICD-10 ของ
โรคเสพยาสูบ
• มีแผนจัดตังศู
้ นย์วิชาการและอบรม การเลิกบุหรี่ อย่าง
กิจกรรมหลักในการดาเนินการปี 2556 – 2557 ตามแผน
ยุทธศาสตร์ การควบคุมยาสู บแห่ งชาติ ยุทธศาสตร์ ที่ 2
• การส่ งเสริมสนับสนุนและพัฒนาบุคลากร และเครือข่ ายให้มีองค์
ความรู้ในการช่ วยให้ เลิกยาสูบ
– 1 สร้ างความรู้ เผยแพร่ความรู้ รวมทังพั
้ ฒนาศักยภาพ เรื่ องการดูแลรักษา
ภาวะติดยาสูบ
– ส่งเสริมทุนและการวิจยั เพื่อพัฒนาสมุนไพรไทยและภูมิปัญญาไทยในการช่วย
เลิกบุหรี่
• ส่งเสริ มและสนับสนุนงานวิจยั ในการพัฒนายาสมุนไพร หรื อนวัตกรรมจากภูมิปัญญา
ไทยในการช่วยเลิกยาสูบ
กิจกรรมหลักในการดาเนินการปี 2556 – 2557 ตามแผน
ยุทธศาสตร์ การควบคุมยาสู บแห่ งชาติ ยุทธศาสตร์ ที่ 2
• 3. ส่ งเสริมและสนับสนุนให้ มีการบริการเลิกยาสูบโดยชุมชนเป็ นฐาน
– สร้ างระบบบริ การเลิกบุหรี่ เชื่อมโยงกันอย่างเป็ นเครื อข่ายทัว่ ประเทศ ตังแต่
้ ระดับชุมชน
– สร้ าง /พัฒนาระบบบริ การเลิกบุหรี่ โดยชุมชนเป็ นศูนย์กลางเชื่อมโยงอย่างบูรณาการ
(1S3C)
– พัฒนาสถานพยาบาลให้ บริ การเลิกบุหรี่ แบบบูรณาการ
• ขยายเครื อข่ายคลินิกฟ้าใสให้ มีโครงข่ายที่กว้ างขึ ้น
• พัฒนาให้ แต่ละ รพ.จัดตังศู
้ นย์บริ การเลิกบุหรี่ ทางโทรศัพท์ในพื ้นที่
• สร้ างและพัฒนาระบบมาตรฐานในการให้ บริการการบาบัดโรคเสพยาสูบ ใน
ระดับชาติ
– พัฒนาระบบ certification system ให้ แก่บคุ ลากรในการบาบัดโรคเสพยาสูบ
กิจกรรมหลักในการดาเนินการปี 2556 – 2557 ตามแผน
ยุทธศาสตร์ การควบคุมยาสู บแห่ งชาติ ยุทธศาสตร์ ที่ 2
• ผลักดันให้ ยาช่วยเลิกยาสูบเป็ นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ หรื อ
ครอบคลุมในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและระบบประกันสังคม
• การผลักดันให้ มียาช่วยเลิกยาสูบเป็ นยาที่จาหน่าย Over The
Counter drugs (OTC) (ยาสามัญประจาบ้ าน)
ระบบการให้ บริการบาบัดผู้เสพยาสู บในชุ มชนโดยชุ มชนเป็ นศู นย์ กลาง : จังหวัด
พิษณุโลก
ณ บ้ านหางไหล ต.มะต้ อง อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก
• โครงการ “พิษณุโลกเมืองสุขภาพดีปลอดบุหรี่ และเหล้ า”
• มีวตั ถุประสงค์เพื่อสร้ างความตระหนักของประชาชน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กร
ปกครองส่วนท้ องถิ่น เครื อข่ายต่างๆ ร่วมดาเนินการให้ จงั หวัดพิษณุโลกเป็ นเมือง
สุขภาพดีปลอดยาสูบและเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย มีการดาเนินงาน
ตามโครงการ 5 ยุทรศาสตร์ ประกอบด้ วย
• ยุทรศาสตร์ ที่ 1 การผลักดันนโยบายเชิงสารารณะและการสื่อสารประชาสัมพันร์
• ยุทรศาสตร์ ที่ 2 การสนับสนุนภาคีและเครื อข่ายในการดาเนินการให้ จงั หวัดพิษณุโลก
ปลอดยาสูบและ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์
• ยุทรศาสตร์ ที่ 3 การเฝ้าระวังและบังคับใช้ กฎหมาย
• ยุทรศาสตร์ ที่ 4 การเข้ าถึงระบบบริ การบาบัดรักษาผู้ติดยาสูบแลเครื่ องดื่มแอลกอออล์
• ยุทรศาสตร์ ที่ 5 การบริ การจัดการและจัดการความรู้
บริบท รพสต.บ้ านหางไหล อ. พรหมพิราม
• 6 หมูบ่ ้ าน รวมจานวนครัวเรื อนทังสิ
้ ้น 1,223 หลังคาเรื อน โดยมี
ประชากร 5,214 คน แบ่งเป็ น เพศชาย 2,474 คน เพศหญิง
2,740 คน มีอาสาสมัครสารารณสุขประจาหมูบ่ ้ าน 120 คน (อสม.
1 คน ต่อ 10 หลังคาเรื อน)
• วิสัยทัศน์ คือ พัฒนาบริการ ประสานชุมชน มุง่ ผลิตคุณภาพชีวิต พิชิต
ทุกขะภาวะ สร้ างสุขทังใจ
้ กาย สูจ่ ดุ มุง่ หมาย ประชาชนแข็งแรง ซึง่
สอดคล้ องกับวิสยั ทัศน์ของสานักงานสารารณสุขอาเภอพรหมพิราม
ที่วา่ เป็ น ผู้นาเครื อข่ายการพัฒนาระบบสุขภาพและการจัดการสุขภาพ
แบบองค์รวมภายในปี พ.ศ.2560
โครงการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพระบบการให้บริ การบาบัดผูเ้ สพ
ยาสูบในชุมชน (โดยชุมชนเป็ นศูนย์กลาง) จังหวัดพิษณุโลก
• มีวตั ถุประสงค์ ดังนี ้
•
1) เพื่อขับเคลื่อน ผลักดัน ติดตามประเมินผลการ
ดาเนินการให้ บริการบาบัดผู้เสพยาสูบในชุมชน (โดยชุมชนเป็ น
ศูนย์กลาง) แบบบูรณาการในพื ้นที่เป้าหมาย
•
2) เพื่อพัฒนาระบบการให้ บริการบาบัดผู้เสพยาสูบใน
ชุมชนฯ ให้ เกิดประสิทริภาพสูงสุด
•
รู ปแบบดาเนินการ
• ประกอบด้ วยกิจกรรมต่างๆ 9 กิจกรรม ดังนี ้
• 1.ดาเนินกิจกรรมการประชาสัมพันร์ให้ กบั เครื อข่ายสุขภาพสร้ างแนวคิดและข้ อตกลงในการทาความ
ร่วมมือ
• ประชุมประชาคมร่วมกับประชาชนในพื ้นที่เพื่อประชาสัมพันร์โครงการและแนวทางการสร้ างสุขภาพ
• ดาเนินการจัดตังคลิ
้ นิกให้ คาปรึกษา ลด ละ เลิกยาสูบ โดยวิทยากรโรงพยาบาลพรหมพิราม
• ดาเนินการจ้ างสารวจข้ อมูลผู้สบู ยาสูบและสอบถามความสมัครใจในการเลิกยาสูบด้ วยแบบสอบถาม
สันๆ
้
• จัดทาป้ายประชาสัมพันร์โครงการ
• ดาเนินการจัดซื ้อเวชภัณฑ์สมุนไพร ชาชงหญ้ าดอกขาว โรงพยาบาลบางกระทุม่
• ประสานขอรับการสนับสนุนน ้ายาบ้ วนปากลดอาการอยากสูบยาสูบจาก รพ.พุทรชินราช
• วัสดุสาหรับการประชุมและจัดทาเอกสารสรุป
• การติดตามประเมินผลจากคณะทางานระดับจังหวัด
ผลการดาเนินงานการบาบัดผู้เสพยาสู บ โดยมีชุมชนเป็ นศูนย์ กลาง
“1S3C” มีดงั นี้
• การค้ นหาผู้ป่วย (S-Search) (การคัดกรองผู้สบู ยาสูบว่าต้ องการ
เลิกยาสูบหรื อไม่)
• ประชากร จานวน 4,213 คน สูบยาสูบทังสิ
้ ้น 182 คน
– สูบยาสูบเล็กน้ อย (สูบ น้ อยกว่า 10-20 มวนต่อวัน) 60 คน
– สูบยาสูบปานกลาง (สูบ 21-30 มวนต่อวัน) 33 คน
– สูบรุนแรง (สูบ 31 มวนขึ ้นไปต่อวัน) 89 คน
– ผู้ที่ประสงค์ต้องการเลิกสูบยาสูบ 68 คน และไม่ต้องการเลิกสูบยาสูบ 114
คน
การบาบัด (C-Cessation)
• มีการจัดตังคลิ
้ นิกบาบัดผู้เสพยาสูบ ณ รพ.สต.บ้ านหางไหล เพื่อให้
คาปรึกษา ลด ละ เลิกยาสูบ สาหรับประชาชนที่สมัครใจเลิกยาสูบ
• เปิ ดให้ บริการวันจันทร์ และวันศุกร์ เวลา 13.30 - 15.00 น.โดยมี
พยาบาลประจาคลินิกบาบัดผู้เสพยาสูบ รพ.พรหมพิราม มาให้
คาปรึกษา และมีการติดตามโดยผู้อานวยการ รพ.สต.บ้ านหางไหล
• บาบัดโดยใช้ กลุม่ บาบัด โดยมีต้นแบบผู้ที่เลิกยาสูบสาเร็จแล้ ว (Exsmoker) ในชุมชนเป็ นพี่เลี ้ยงในการดาเนินการทากลุม่ บาบัด
•
การจัดกิจกรรมเชิงรุก (C-Campaign)
• ร่วมกับชุมชน โดยมีการจัดทาสื่อในลักษณะเป็ นป้ายประชาสัมพันร์
โครงการติดตามพื ้นที่ตา่ งๆ ในชุมชน เช่น ในวัด
• เพื่อเป็ นกาลังใจและกระตุ้นเตือนให้ ประชาชนที่มาทาบุญในวันสาคัญ
ต่างๆ ตระหนักถึงอันตรายต่อสุขภาพ และเป็ นกาลังใจให้ สามารถเลิก
ยาสูบได้ สาเร็จ
การติดตามผล และสนับสนุน (C-Close Follow up)
• การใช้ แกนชุมชน และ อสม.ที่อยูใ่ นพื ้นที่ติดตาม โดยแบ่งเขตพื ้นที่
รับผิดชอบประชากร 15 ครัวเรื อน
• ภายหลังการบาบัด มีการติดตามภายหลัง 15 วันได้ ครบทุกราย
• จากผู้สมัครใจเลิกยาสูบจานวน 68 คน พบว่า สามารถเลิกบุหรี่ ได้ 25 คน
(36.76%) ลดปริ มาณการสูบบุหรี่ ลง 32 คน (47.05%) ยังสูบ
แบบเดิม 11 คน (16.17%)
• ส่วนใหญ่แล้ วผู้สบู สามารถเลิกสูบยาสูบได้ ด้วยตนเองเนื่องจากตระหนักต่อ
สุขภาพ นอกจากนี ้ยังมีเหตุผลอื่นๆ เช่น ความเกรงใจผู้นาชุมชน เจ้ าหน้ าที่
สารารณสุขในพื ้นที่
• ผู้ยงั เลิกสูบยาสูบไม่ได้ เนื่องจากพฤติกรรมความเคยชินในชีวติ ประจาวัน
ส่วนใหญ่เป็ นเกษตรกร ทางานหนัก
นวัตกรรมที่ใช้
• ชมรมสุขเพราะเลิก ร่วมเป็ นวิทยากรต้ นแบบ ให้ ความรู้โทษพิษภัยของยาสูบ
และถ่ายทอดประสบการณ์ในการเลิกยาสูบ เป็ นพี่เลี ้ยงให้ กาลังใจ และเป็ นที่
ปรึกษา
• คนต้ นแบบ เป็ นคนในชุมชนที่สามารถเลิกยาสูบและแอลกอฮอล์ได้ สาเร็ จ และ
ได้ รับใบประกาศจากนายอาเภอในวันยาเสพติดโลก ณ ที่วา่ การอาเภอพรหม
พิราม
• วัดต้ นแบบ มีเจ้ าอาวาสเป็ นผู้นาทางศาสนาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
• ร้ านขายชาของในชุมชน มีการขอความร่วมมือจากเจ้ าของร้ านค้ าในชุมชน ให้
ปฏิบตั ิตามกฎหมาย เพื่อขอความร่วมมือไม่แบ่งขายยาสูบ ไม่แสดงบุหรี่ ณ จุด
ขาย การไม่ขายยาสูบให้ เยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี ตลอดจนไม่ขายแอลกอฮอล์
ในเวลาที่ห้ามขาย โดยมอบป้ายให้ นาไปติดที่ร้านค้ าโดยสมัครใจ (ใช้ วิสยั ทัศน์ของ
ผู้วา่ ราชการจังหวัดพิษณุโลก “ผู้ประกอบสามารถอยูไ่ ด้ เราก็อยูไ่ ด้ ”)
ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินการให้ บริการบาบัดผู้เสพ
ยาสู บ
• ผู้สบู ยังขาดความตระหนักถึงโทษพิษภัยยาสูบ จึงมีจานวนน้ อยที่การเข้ าถึง
บริ การบาบัดผู้เสพยาสูบ ทังกลุ
้ ม่ ผู้ป่วยโรคเรื อ้ รังและประชาชนทัว่ ไป
• ประชาชนเน้ นการประกอบอาชีพมากกว่าสุขภาพ (เป็ นเรื่ องที่ยงั มองไม่เห็น)
• พฤติกรรมความเคยชินกับวิถีชีวิตเดิมๆ อาทิ การสูบยาสูบและดืม่ เครื่ องดื่ม
แอลกอฮอล์ในงานเลี ้ยง
• การบังคับใช้ มาตรการทางกฎหมายยังไม่เข้ มแข็ง ร้ านค้ า ผู้ประกอบการ ช่อง
ทางการซื ้อขายได้ ง่าย
• ประชาชนไม่มีเวลาเข้ ารับบริ การที่คลินิกบาบัดผู้เสพยาสูบ
• มีความคาดหวังว่าจะมีเวชภัณฑ์ที่ช่วยให้ เลิกยาสูบได้ มากกว่าความต้ องการ
ทางจิตใจ
จุดเด่นและจุดด้อย
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
จุดเด่ นของคลินิกบาบัดผู้เสพยาสูบ
มีการประชาสัมพันร์ผา่ นสื่อและชุมชน
มีการคัดกรองค้ นหาเชิงรุกแล้ วส่งเข้ าคลินิกในชุมชน
สร้ างกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
เพิ่มความสะดวกในการเข้ ารับบริ การ ประหยัดค่าใช้ จา่ ย
จุดด้ อยของคลินิกบาบัดผู้เสพยาสูบ
ผู้รับบริ การให้ ความสาคัญน้ อย
ผู้รับบริ การยังไม่เข้ าใจระบบในการให้ บริการ (กลัวเสียเวลา)
เวลาที่ใช้ ในการให้ บริ การแต่ละครัง้ นาน (การพูดคุย)
ระบบการติดตามยังไม่ครบถ้ วน (บางคนไม่มีเบอร์ โทรศัพท์)
ข้ อค้ นพบในการดาเนินโครงการนี้
• ด้ านกฎหมาย แทนที่จะเป็ นใช้ กลวิรีการจับ ปรับ แต่ดาเนินการโดย ดึง
ร้ านค้ าชุมชน เข้ ามามีสว่ นร่วมโครงการโดยใช้ กระบวนการทางสังคม
• ด้ านการป้องกัน ควรมีการดึงโรงเรี ยนและดึงเยาวชนเข้ าร่วมโครงการ
• ด้ านระบบส่งต่อ ขณะนี ้ทางโครงการยังไม่มีการดาเนินการ จึงควรมีการส่ง
ต่อผู้ป่วยในรายที่ไม่สามารถเลิกได้ และมีการส่งกลับผู้ป่วย โดยให้ อสม.ใน
ฐานะที่มีความใกล้ ชิดกับชุมชน ดูแลต่อ ตลอดจนใช้ กลไกของ 1600 สาย
เลิกบุหรี่ กับเยาวชนในโรงเรี ยนที่ไม่กล้ าบอกครูหรื อผู้ปกครองด้ วย
• ด้ านการติดตาม อยากให้ อสม.เป็ นคนติดตามเนื่องจากมีความใก้ ชิดกับ
ชุมชน และการใช้ แกนนาของชุมชนสุขเพราะเลิกมีสว่ นร่วมด้ วย
ระบบการให้ บริการบาบัดผู้เสพยาสู บในชุมชนโดยชุมชนเป็ น
ศูนย์ กลาง ชุมชนกระบี่ท่าเรือ ต.ปากนา้ อ.เมือง จ.กระบี่
• การให้ บริ การบาบัดผู้เสพยาสูบในชุมชน โดยชุมชนเป็ นศูนย์กลางของจังหวัดกระบี่
แบ่งเป็ น 2 ส่วน คือ
• การดาเนินการที่สถานศึกษา คือ วิทยาลัยเทคนิคกระบี่ และการดาเนินการที่ชมุ ชน
คือ ชุมชนกระบี่ทา่ เรื อ
• อัตราการบริ โภคยาสูบปั จจุบนั ในประชากรอายุ 15 ปี ขึ ้นไป พ.ศ.2550 ร้ อยละ
24.83 อยูอ่ นั ดับที่ 56 ของประเทศ และ พ.ศ.2554 อัตราการบริโภคยาสูบ
ปั จจุบนั ลดลงเหลือ ร้ อยละ 22.71 อยูอ่ นั ดับที่ 42 ของประเทศ
• ประชากรกลุม่ อายุ 19-24 ปี ซึง่ เป็ นวัยระดับมัรยมศึกษาตอนปลายถึง
ระดับอุดมศึกษา อัตราการบริ โภคยาสูบสูงขึ ้นจาก พ.ศ.2550 ร้ อยละ 25.28 เป็ น
พ.ศ.2554 ร้ อยละ 32.53 คือ ในปี พ.ศ.2554
• จึงเห็นว่า ควรมีการลด ละ เลิกยาสูบในกลุม่ ดังกล่าว
ทุนเดิมของจังหวัดกระบี่
• มีการสร้ างกระแสให้ ประชาชนเกิดการรับรู้ เข้ าใจโทษพิษภัยของยาสูบผ่าน
สื่อมวลชน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกยาสูบ
• ส่วนด้ านรูปแบบการให้ บริ การช่วยเลิกยาสูบ ที่แผนกผู้ป่วยนอก (OPD)
ของโรงพยาบาลกระบี่จะมีการคัดกรองผู้ป่วยที่สบู ยาสูบ และส่งมาเข้ ารับ
การบาบัดในคลินิกเลิกบุหรี่
• มีการพัฒนาระบบการให้ บริ การบาบัดผู้เสพยาสูบ และขับเคลื่อนงานยาสูบ
ให้ อยูใ่ นงานประจา
• โรงพยาบาลกระบี่เล็งเห็นศักยภาพ อสม.กระบี่ทา่ เรื อ เนื่องจากมีความ
ใกล้ ชิดกับคนในชุมชน จึงดึงเข้ ามีสว่ นร่วมในการดาเนินโครงการครัง้ นี ้ เพื่อ
ผลักดันให้ มีการจัดระบบการให้ บริ การบาบัดผู้เสพยาสูบในชุมชน ต่อไป โดย
สร้ างชุมชนต้ นแบบปลอดยาสูบภายในจังหวัดกระบี่
ทุนเดิมของจังหวัดกระบี่
• ชุมชนกระบี่ทา่ เรื อ อยูใ่ กล้ สถานศึกษา คือ วิทยาลัยเทคนิคกระบี่ อยูใ่ กล้ ศา
สนสถาน คือ มัสยิดมาดีนะห์กระบี่ มีชมุ ชนใกล้ เคียง คือชุมชนปากน ้าและ
ชุมชนทุง่ โหลง มีครัวเรื อนทังสิ
้ ้น 1,300 ครัวเรื อน
• มีอาสาสมัครสารารณสุขประจาหมูบ่ ้ าน (อสม.) จานวน 40 คน อสม. 1
ท่าน ต่อ 15 ครัวเรื อน
• การดาเนินงานของ อสม. มีการทางานแบบผสมผสาน ที่ผ่านมาชุมชนนี ้มี
ประสบการณ์ดาเนินงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว และโครงการวัณ
โรค
• มีการรณรงค์ตดิ ป้ายประชาสัมพันร์ร้านอาหารปลอดบุหรี่
• การมีร้านที่ขายบุหรี่ ในลักษณะของร้ านค้ าในชุมชน ร้ านอินเทอร์ เนต จานวน
16 แห่ง
เครือข่ ายที่ร่วมดาเนินการ
• ภาครัฐ ได้ แก่ สานักงานสารารณสุขจังหวัดกระบี่ สานักงานป้องกันควบคุม
โรคที่ 11 นครศรี รรรมราช โรงพยาบาลกระบี่ โรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพ
ประจาตาบล (รพ.สต.) สถานีตารวจภูรรจังหวัดกระบี่ ศุลกากรจังหวัด
วิทยาลัยเทคนิคกระบี่ และเครื อข่ายครู
• ภาคเอกชน ได้ แก่ ผู้จดั การหอการค้ าจังหวัดกระบี่ (ถนนคนเดินกระบี่)
สื่อมวลชนจังหวัดกระบี่ สื่อท้ องถิ่น แม็กกาซีนท้ องถิ่น และวิทยุ FM 96.0
MHz.
• ภาคประชาสังคม ได้ แก่ ชุมชนกระบี่ทา่ เรื อ อาสาสมัครสารารณสุขประจา
หมู่บ้าน (อสม.) แกนนาชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน และเครื อข่ายองค์กรงดเหล้ า
แผนปฏิบตั ิการครั้งนี้ ใช้หลักการวิเคราะห์ 4W1H
•
WHERE การดาเนินการที่สถานบริ การและเครื อข่ายทุกระดับตามแนวราบด้ านการบริ การพื ้นที่ระดับ
ตาบล หมูบ่ ้ าน
• WHEN การดาเนินการ 12 เดือน แบ่งเป็ น 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 เดือนตุลาคม-มกราคม : จัดการความรู้
(KM) ประชาชนเฝ้าระวัง คัดกรองตามกระบวนการ ช่วงที่ 2 เดือนกุมภาพันร์ -พฤษภาคม : ปรับเปลีย่ น
พฤติกรรม ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้ อน และช่วงที่ 3 เดือนมิถนุ ายน-กันยายน : ดาเนินกิจกรรม ประเมิน
ชุมชน Best-practice มอบรางวัล
• WHOM ผู้ดาเนินการโครงการ คือ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย (Stakeholder) ทุกระดับมีสว่ นร่ วม ตังแต่
้ ผ้ ใู ห้
ใบอนุญาตจาหน่ายยาสูบ ร้ านค้ า รวมถึงตัวผู้ป่วยด้ วย ผู้รับผิดชอบงานตามภาระกิจหลัก
• WHY เป้าหมายสุดท้ าย คือ การที่ประชาชนมีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดี ลดเสี่ยง ป่ วย และลด
ภาวะแทรกซ้ อน บ
• HOW โดยทาการวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis)
ระดับจังหวัด อาเภอ ตาบล มีการสอดแทรกเรื่ องเลิกบุหรี่ ไปยังชมรมสุขภาพจังหวัด ทาให้ ได้
ข้ อมูลเชิงปริ มาณ เชิงคุณภาพ เป็ นแผนปฏิบตั ิการระดับจังหวัด
การให้ บริการบาบัดผู้เสพยาสู บในชุมชน (โดยชุมชนเป็ น
ศูนย์ กลาง) “1S3C
• การค้ นหาผู้ป่วย (S-Search)
• วิทยาลัยเทคนิคกระบี่ ได้ ดาเนินการสารวจสถานการณ์การสูบบุหรี่ของบุคลากร
ในสถานศึกษา พบว่า บุคลากรจานวน 173 คน สูบบุหรี่ คิดเป็ น 6.4% ซึง่ ผู้สบู
บุหรี่ ขณะนี ้อยูใ่ นระหว่างลด ละเลิก
• ส่วนนักเรี ยน /นักศึกษา ไม่สามารถระบุจานวนที่สบู บุหรี่ ได้ เนื่องจากจานวน
นักศึกษามีการเข้ า-ออกตลอดภาคการศึกษา แต่จากการประมาณการพบว่าน่าจะ
ไม่เกิน 20% ของนักเรี ยนชายทังหมด
้
(1,254)
• การดาเนินการของชุมชนกระบี่ทา่ เรื อ ดาเนินการค้ นหาผู้เสพยาสูบในชุมชน
ดาเนินการสารวจในแต่ละครัวเรื อนแต่ละหลังมีใครสูบยาสูบบ้ าง และการคัดกรอง
ผู้สบู ยาสูบในชุมชน รวมทังชั
้ กชวนให้ เลิกยาสูบ โดย อสม.
การค้ นหาผู้ป่วย (S-Search)
• ลักษณะการดาเนินการจะเป็ นการให้ กาลังใจ ให้ คาปรึกษา พูดคุย เข้ าใจ
และให้ ความใกล้ ชิด นอกจากนี ้ยังมีจิตอาสาโรงพยาบาลเข้ ามาช่วยงานส่วน
ใหญ่เป็ นผู้สงู อายุและข้ าราชการที่ปลดเกษี ยรช่วยสนับสนุนการดาเนินการ
• จากการดาเนินการทาให้ ทราบว่ามีผ้ สู บู ยาสูบในชุมชน 450 คน จาก
ประชากร 3,000 คน คิดเป็ น 15% โดยผู้สบู ยาสูบ แบ่งเป็ น 2 กลุม่ คือ
กลุม่ ไม่มีโรคเรื อ้ รัง และกลุม่ มีโรคเรื อ้ รัง (เป็ นผู้ป่วยเรื อ้ รัง และผู้ป่วยราย
ใหม่)
• ในชุมชนมีพี่เลี ้ยงคอยให้ ความช่วยเหลือ และให้ ชมุ ชนดูแลกันเอง โดยเป็ น
อสม. ที่ได้ รับการพัฒนาศักยภาพให้ มีทกั ษะการสร้ างแรงจูงใจ บางคนเป็ น
ผู้หญิงสูบยาสูบมาหลายปี แล้ ว อยากเลิกสูบยาสูบแต่ขาดแรงจูงใจ ซึง่ อสม.
จะมีบทบาทตรงนี ้
C1 การบาบัด (C-Cessation)
• ในส่ วนของวิทยาลัยเทคนิคกระบี่
• มีกิจกรรมเน้ นการป้องกัน (prevention) ซึง่ เป็ นบทบาทหลักของสถานศึกษา เพื่อนาไปสูก่ ารลด ละ เลิก
ยาสูบได้ แก่ การติดป้ายสถานศึกษาปลอดบุหรี่ ในทุกจุดที่เห็นเด่นชัด
• มีการประชาสัมพันร์สถานศึกษาเป็ นเขตปลอดบุหรี่ ตามกฎหมาย
• การบูรณาการจัดการสอนสุขศึกษา เรื่ อง ยาสูบและสุขภาพ ซึง่ หลักสูตรอาชีวศึกษาใหม่ จะประกาศใช้ ปี
การศึกษา พ.ศ.2556 โดยจะบรรจุวิชาพิษภัยยาเสพติดเอาไว้ เป็ นวิชาบังคับในหลักสูตรการศึกษาด้ วย
• มีการจัดกิจกรรม กีฬา ช่วยเหลือนักเรี ยน/ นักศึกษาให้ ลด ละ เลิกยาสูบ เช่น โครงการแผนพัฒนาคนดีและมี
ความสุข
–
–
–
–
–
–
โดยชมรมวิชาชีพ ทากิจกรรมส่งเสริมอาชีพ และศิลปะวัฒนรรรม
โครงการแข่งขันกีฬาฟุตบอลต่อต้ านยาเสพติด และโครงการกีฬาต่อต้ านยาเสพติด จัดโดยชมรมต่อต้ านยา
เสพติด
มีการส่งเสริมให้ นกั เรี ยนมีสว่ นร่วมอบรมให้ ความรู้โทษพิษภัยของสารเสพติด /ยาสูบเรื่ อง และควันบุหรี่ มือ
สองภายใน
ทากิจกรรมในโรงเรี ยน ร่วมกับ อบจ. มีนกั เรี ยนตัวแทนไปร่วมกิจกรรมต่อต้ านยาเสพติดในโครงการ TO BE
NUMBER ONE
ดาเนินการขยายผลสูผ่ ้ ปู กครองและชุมชน คือ โดยให้ ครูลงไปพบผู้ปกครองในชุมชนเพื่อรับทราบปั ญหา
การดาเนินกิจกรรมร่วมกับกองทัพเรื อ ภายใต้ โครงการกองทัพเรื อรวมใจเทคนิคร่วมต่อต้ านยาเสพติด
•
C1 การบาบัด (C-Cessation)
ส่ วนของกระบี่ ท่ าเรือ
• ปั จจุบนั ชุมชนกระบี่ท่าเรื อมีศนู ย์บาบัดผู้เสพยาสูบในชุมชนกระบี่ท่าเรื อจัดตั ้งได้ 2 เดือน มีเจ้ าหน้ าที่ประจาคลินิก
สัปดาห์ละ 2 ครัง้ ไม่มีผ้ ปู ่ วยเข้ ามารับการบาบัด
• อสม. คอยให้ คาปรึกษาโดยไม่ใช้ ยาช่วยเลิกบุหรี่ เพื่อทาให้ คนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละ เลิกยาสูบไป
เอง
• การดาเนินการช่วยเลิกบุหรี่ ที่มสั ยิดมาดีนะห์กระบี่ก่อน โดยมี การออกกฎว่าผู้ที่จะมาเป็ นคณะกรรมการจะต้ องไม่
สูบยาสูบและถ้ าสูบยาสูบก็ให้ เลิกให้ ได้ และผู้ที่ต้องการเข้ ามาละมาดในวันศุกร์ ต้องไม่สบู ยาสูบในมัสยิด
• อสม. มีแผนการจะเริ่มการดาเนินการช่วยเลิกยาสูบไปยังกลุม่ วินมอเตอร์ ไซต์รับจ้ าง
• ในระยะดาเนินโครงการพบว่าจานวนผู้สบู ยาสูบในชุมชนจานวน 450 คน แบ่งเป็ น ผู้ป่วยโรคเรื อ้ รัง 10 คน ผู้
ต้ องการเลิกยาสูบด้ วยความสมัครใจและไม่ใช้ ยาช่วยเลิกและเลิกได้ จานวน 11 คน สาหรับผู้เลิกยาสูบไม่ได้ ส่ง
ต่อทีมวิทยากรของโรงพยาบาลกระบี่ จากการสารวจข้ อมูลผู้สบู บุหรี่ ในชุมชนกระบี่ท่าเรื อ โดย อสม. เสร็จแล้ วจะมี
การถูกส่งต่อไปยังศูนย์แพทย์ชมุ ชนเมือง และเครื อข่ายคลินิกฟ้าใสในโรงพยาบาล
• นอกจากนี ้ อสม. 40 คน และวิทยาลัยเทคนิคกระบี่เป็ นแกนนาในการให้ ความรู้กบั คนในชุมชนเรื่ อง พิษภัยยาสูบ
ผลระทบต่อสุขภาพ ความรู้เรื่ องควันบุหรี่ มือหนึ่ง ควันบุหรี่ มือสอง และควันบุหรี่ มือสาม โดยอาศัยประสบการณ์ทา
ให้ บ้านตัวเองและคนข้ างบ้ านปลอดยาสูบและแอลกอฮอล์ก่อน และชุมชนมีสว่ นร่วมตักเตือนคนสูบยาสูบให้ สนใจ
สุขภาพตัวเอง ในส่วนการดาเนินการช่วยเลิกยาสูบในครอบครัวโดย อสม. ให้ คาแนะนาภรรยาเพื่อนาไปใช้ ใน
ครอบครัวที่ยงั มีปัญหาและอุปสรรคในการเลิกสูบยาสูบของสามีที่ไม่ต้องการเลิก
C2 การจัดกิจกรรมเชิงรุก (C-Campaign)
มีการวางแผนดาเนินการร่วมกับชุมชน สถานศึกษา และสื่อท้ องถิ่น โดยมี
การจัดทาสื่อในลักษณะเป็ นป้ายประชาสัมพันร์โครงการติดตามพื ้นที่
ต่างๆ ในชุมชน เช่น ร้ านอาหาร และที่ทาการชุมชนกระบี่ทา่ เรื อ และวัด
เพื่อเป็ นกาลังใจและกระตุ้นเตือนให้ ประชาชนที่มาทาบุญในวันสาคัญ
ต่างๆ ตระหนักถึงอันตรายต่อสุขภาพ และเป็ นกาลังใจให้ สามารถเลิก
ยาสูบได้ สาเร็จ ดาเนินการรณรงค์ ประชาสัมพันร์ผา่ นสื่อทุกช่องทาง ทัง้
ภาษาถิ่นและภาษากลางขึ ้นกับบริบทของพื ้นที่ เพื่อส่งเสริมให้ ผ้ ทู ี่สบู
ยาสูบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ เหมาะสมเพื่อเลิกยาสูบให้ ได้