Ban tobacco advertising, promotion and sponsorship

Download Report

Transcript Ban tobacco advertising, promotion and sponsorship

ความไม่ รับผิดชอบ
ของบริษทั บุหรี่
ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ
เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์ เพือ่ การไม่ สูบบุหรี่
17 พฤษภาคม 2556
1
ประเด็นการรณรงค์ วนั งดสู บบุหรี่โลก พ.ศ.2556
“ไม่ ใช้ ไม่ รับ
ไม่ สนับสนุนโฆษณา
ยาสูบร้ าย ทาลายชีวติ ”
2
“ยาสูบเป็ นสิ นค้ าเสพติด ทีค่ ร่ าชีวติ
ครึ่งหนึ่งของผู้สูบบุหรี่ทไี่ ม่ เลิกสูบ”
3
ทัว่ โลกเสี ยชีวติ จากยาสู บ ปี ละ 6 ล้ านคน
วันละ 16,438 คน
= เครื่องบิน 747 ทีบ่ รรทุกผู้โดยสาร 350 คน
ตกปี ละ 17,142 ลา
ตกวันละ 47 ลาทุกวัน
หรือ 2 ลา ทุกชั่วโมง
คนไทยเสี ยชีวติ จากการสูบบุหรี่
ปี ละ 50,700
คน
(= จำนวนคนตำยจำกเครือ
่ งบิน 747 ตก 144
ลำ)
วันละ 139
คน
ชัว
่ โมงละ
5.8
คน
หรือ 1 คนในทุก ๆ 10 นำที
5
4 ธันวาคม 2547 พระราชดารัส
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
“...เห็นมีการรณรงค์ให้เลิกสูบบุหรี่
แล้วก็หา้ มขายบุหรี่ แก่เด็กอายุต่ากว่า 18
ที่จริ งเด็กอายุ 50 ก็ควรจะห้าม”
6
ศ.นพ.ประเวศ วะสี : ผูเ้ ขียนได้รับทราบ
มาด้วยความยินดีวา่
พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีรับสัง่ กับ ศ.นพ.
อรรถสิ ทธิ์ เวชชาชีวะ ว่า “เรื่องการรณ
รงค์ เพือ่ การไม่ สูบบุหรี่นี่ฉันเห็นด้ วย”
นิตยสารหมอชาวบ้าน ตุลาคม 2531
7
วิธีควบคุมยาสูบ ทีด่ -ี คุ้มค่ าทีส่ ุ ด
 กำรขึน
้ ภำษี
กำรห้ำมโฆษณำ-ส่งเสริมกำรขำย
กำรเตือนพิษภัยดวยภำพบนซองบุ
หรี/่ สื่ อ
้
สถำนทีส
่ ำธำรณะและทีท
่ ำงำนตองปลอด
้
บุหรี่
องคกำรอนำมั
ยโลก
์
8
พระราชบัญญัตคิ วบคุมผลิตภัณฑ์ ยาสูบ
พ.ศ.2535
 ห้ำมโฆษณำ-ส่งเสริมกำรขำย อุปถัมภสิ์ นค้ำ
ยำสูบ
ในทุกสื่ อ
ทัง้ ทำงตรงและทำงออม
้
 ห้ำมลด-แลก-แจกแถม
 ห้ำมขำยโดยเครือ
่ งขำยอัตโนมัต ิ
9
พ.ศ.2543 กฎกระทรวง พ.ร.บ.วิทยุและ
โทรทัศน์ (2498)

ห้ามแสดงการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ
10
พฤษภาคม 2548
ประกาศกรมประชาสั มพันธ์
“ห้ามแสดงหรื อโฆษณา การได้รับการสนับสนุน
.....จากบริ ษทั ผูผ้ ลิต ผูน้ าเข้า ผูแ้ ทนจาหน่ายซึ่ง
ยาสูบ ทางวิทยุและโทรทัศน์”
(ห้ามประชาสัมพันธ์การทา CSR)
11
อนุสัญญาควบคุมยาสู บ องค์ การอนามัยโลก
พ.ศ.2548
ข้อ 13 ข้อ 5.3 -
ห้ามโฆษณา ส่ งเสริ มการขาย การอุปถัมภ์ทุกรู ปแบบ
ห้ามการทากิจกรรมเพื่อสังคม “CSR”
ควบคุมการมีฉากสูบบุหรี่ ในภาพยนตร์
ห้ามโฆษณาข้ามพรหมแดน
ห้าม จนท. / หน่วยงานราชการร่ วมทากิจกรรมเพื่อสังคม
ของบริ ษทั บุหรี่
12
มติ คณะรัฐมนตรี 17 เมษายน 2555
เห็นชอบตามมติสมัชชาสุ ขภาพแห่งชาติ โดยให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดาเนินการ
“ห้ามธุรกิจยาสูบทากิจกรรมภายใต้นโยบายความ
รับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR)”
13
“กิจกรรมเพื่อสังคม”
ของบริ ษทั บุหรี่ จึง “ผิดกฎหมาย”
หรื อ
“ผิดเจตนารมณ์ของกฎหมาย”
14
วัตถุประสงค์ ทแี่ ท้ จริงของการทากิจการเพือ่
สั งคมของบริษทั บุหรี่ (CSR)
1. เบี่ยงเบนความสนใจของสังคมและผูก้ าหนดนโยบายจาก
ธุรกิจหลักของบริ ษทั
2. เพื่อลดทอนกระแสการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่
3. ปิ ดปากบุคคล – องค์กรที่รับการสนับสนุนการบริ จาค
4. สร้างการยอมรับการสูบบุหรี่
15
องค์ การอนามัยโลก: ห้ ามบริษทั บุหรี่ทากิจกรรมเพือ่ สั งคม
1.
2.
3.
4.
เป้ าหมายของบริ ษทั บุหรี่ ขดั แย้งกับเป้ าหมายสาธารณสุ ข อย่างที่
ไม่สามารถออมชอมได้
บริ ษทั บุหรี่ แสดงความ “ไม่รับผิดชอบต่อสังคม” ตลอดเวลา
โดยการ – ขัดขวาง/แทรกแซงการควบคุมยาสู บ
- ฝ่ าฝื นกฎระเบียบต่าง ๆ ตลอดเวลา
ความรับผิดชอบนั้นต่าสุ ดของบริ ษทั บุหรี่ คือการไม่ฝ่าฝื น
กฎหมาย
ความรับผิดชอบที่แท้จริ งคือ ต้องเลิกกิจการยาสูบ
16
ฟิ ลลิป มอริส อินเตอร์ เนชั่นแนล
4 เป้ าหมายในการเติบโตของธุรกิจ
 สร้างผลตอบแทนสู งสุ ดแก่ผถู ้ ือหุ น้
 เพื่อตอบสนองความต้องการของผูส้ ูบบุหรี่ ด้วยผลิตภัณฑ์ที่
คุณภาพสู งสุ ดในแต่ละกลุ่มตลาด
 พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อลดความเสี่ ยงโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่
 เป็ นองค์กรที่รับผิดชอบต่อสังคม และทาธุรกิจด้วยความ
น่าเชื่อถือสู งสุ ด
17
บริษทั บุหรี่น่าเชื่อถือหรือไม่
การสารวจความน่าเชื่อถือของธุรกิจระดับโลก
โดยการสารวจผูบ้ ริ โภค 80,000 คน
จาก 32 ประเทศ โดย Reputation Institute
ที่เชี่ยวชาญการบริ หารจัดการความน่าเชื่อขององค์กร พ.ศ. 2553
ผล ธุรกิจยาสู บ มีความน่ าเชื่อถืออยู่ทอ
ี่ น
ั ดับสุ ดท้ าย
ของ 25 ประเภทธุรกิจทีท่ าการสารวจ
18
โรงงานยาสูบ
วิสัยทัศน์
เป็ นองค์กรระดับนาในธุรกิจยาสู บที่มีความ
รับผิดชอบต่อสังคม สิ่ งแวดล้อม และมุ่งสู่ ธุรกิจอื่น
พันธกิจ
เป็ นผูน้ าในการผลิตและจาหน่ายบุหรี่ ที่มีคุณภาพ
ได้มาตรฐานเป็ นที่ยอมรับ....คานึงถึงสุ ขภาพของ
ผูบ้ ริ โภคและมุ่งสู่ ธุรกิจอื่น
19
“การสร้างชื่อเสี ยงให้ บริษทั เป็ นทีร่ ู้ จกั
ของตลาด เป็ นวิธีหนึ่งที่สร้ างความ
แข็งแกร่ งให้ กบั ตัวสิ นค้ า”
นายแพทริ ค รี การ์ ท ผู้จัดการฝ่ ายกิจกรรมองค์ กร
บริ ษัทบุหรี่ ฟิ ลลิป มอริ ส พ.ศ.2537
20
บริษทั บุหรี่
ฟิ ลลิป มอริ ส
กาไรสุ ทธิ
พ.ศ.2555
(ล้ านบาท)
264,000
โรงงานยาสูบไทย
6,800
ทากิจกรรม คิดเป็ น %
เพือ่ สั งคม
(ล้ านบาท)
1,143
0.4
426.9
6.2
21
แจกจาน 200-300 จานมีโลโก้ ให้ ร้านอาหาร
ถ้ามีความรับผิดชอบ
ทาไมจึงทาผิดกฎหมาย
22
พริ้ตตีก้ บั บูธขายบุหรี่ในงานต่ างๆ
งาน
คอนเสิรต์
งานแข่ งรถแต่ ง
23
โฆษณาแฝงในกิจกรรมต่ างๆ
24
อ้างเป็ นการเสริมสร้างมารยาทการสูบบุหรี่
25
การโฆษณาแฝง
ภาพยนตร์ เรื่อง
“รักแห่ งสยาม” (2550)
26
โฆษณา
แฝงใน
คราบทา
ประโยชน์
เพื่อสังคม
27
ขายและโฆษณาบุหรี่ในโลกออนไลน์
28
บริ ษทั บุหรี่ จึงมีพฤติกรรม
“ไม่มีความรับผิดชอบต่อสังคม”
การที่พยายามอ้างว่าทากิจกรรมต่างๆ
เพื่อสังคม
แท้จริ งแล้ว เพื่อเพิม่ ผลกาไรเท่านั้น
29
มติ คณะรัฐมนตรี 17 เมษายน 2555
เห็นชอบตามมติสมัชชาสุ ขภาพแห่งชาติ โดยให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดาเนินการ
“ห้ามธุรกิจยาสูบทากิจกรรมภายใต้นโยบายความ
รับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR)”
30
เรื่ อง ขอทราบความคืบหน้าในการปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี
กราบเรี ยน ฯพณฯ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ตามที่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี วันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2555
มีมติเห็นชอบมาตรการควบคุมปั จจัยเสี่ ยงต่อสุ ขภาพด้านยาสูบ
ตามมติสมัชชาสุ ขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2553 และมอบหมายให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดาเนินการตามมติที่เกี่ยวข้องต่อไป
โดยในส่ วนของกระทรวงการคลัง ข้อ 2.2 ให้กระทรวงการคลัง
ดาเนินการ
31
2.2.1 ห้ามธุรกจิยาสูบทากิจกรรมภายใต้นโยบาย
รับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (Corporate Social
Responsibility, CSR
โดยที่ประเด็นการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ ประจาปี พ.ศ. 2556 ที่
กาหนดโดยองค์การอนามัยโลก คือ การห้ามโฆษณา ส่ งเสริ ม
การขาย และการให้ทุนอุปถัมภ์ ซึ่งรวมถึงการห้ามบริ ษทั ยาสูบทา
กิจกรรมภายใต้นโยบายรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR)
ตามแนวปฏิบตั ิขอ้ 5.3 และ 13 อนุสญ
ั ญาควบคุมยาสูบที่ประเทศ
ไทยมีพนั ธกรณี ที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามในฐานะรัฐภาคี
32
พวกเราสมาชิกและองค์กรตามรายชื่อแนบท้าย
หนังสื อนี้ จึงใคร่ ขอทราบรายละเอียดความคืบหน้าใน
การดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 17 เมษายน
พ.ศ.2555 เพื่อติดตามผลการดาเนินการตามมติ
คณะรัฐมนตรี จักคุณเป็ นพระคุณยิง่
ขอแสดงความนับถือ
33