PowerPoint_Chalotorn - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Download Report

Transcript PowerPoint_Chalotorn - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

่
ข้อตกลงด้านการเปลียนแปลงสภาพ
ภู มอ
ิ ากาศ
ดร.ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล
สัมมนาทางวิชาการประจาปี 2553
คณะเศรษฐศาสตร ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์
่ ำ
เกรินน
่
 ปัญหำกำรเปลียนแปลงสภำพภู
มอ
ิ ำกำศ เป็ นวิกฤตกำรณ์ทำง
่
่ ำคัญ ซึงน่
่ ำจะมีผลให ้เกิดกำรเปลียนแปลงในระบบ
่
สิงแวดล
้อมทีส
กำยภำพ ระบบนิ เวศ และรวมถึง ระบบเศรษฐกิจและสังคมของโลก
อย่ำงมำก
่
 ในปัจจุบน
ั มีข ้อตกลงพหุภำคีด ้ำนกำรเปลียนแปลงสภำพ
ภูมอ
ิ ำกำศในระดับโลก อยู่ 2 ข ้อตกลง คือ กรอบอนุ สญ
ั ญำ
่
สหประชำชำติวำ่ ด ้วยกำรเปลียนแปลงสภำพภู
มอ
ิ ำกำศ
(UNFCCC) และ พิธสี ำรเกียวโต
 เป้ ำหมำยกำรเจรจำในปัจจุบน
ั : กำรหำข ้อตกลงร่วมกันในกำร
จัดกำรสภำพภูมอ
ิ ำกำศหลังปี 2012
 ประเด็นปัญหำ: กำรจัดสรรระดับพันธกรณี สำหร ับประเทศพัฒนำ
วัตถุประสงค ์/ภำพรวมของบทควำม
่ ดขึนในกระบวนกำรเจรจำ
้
 สรุปทิศทำง/แนวโน้มทีเกิ
ในประเด็น
่
เกียวกั
บ (ก) ระดับควำมจำเป็ นในกำรลดกำรปล่อยก๊ำซเรือน
กระจกรวม และ (ข) กำรกระจำยพันธกรณี ระหว่ำงกลุม
่ ประเทศ
พัฒนำแล ้ว/ประเทศกำลังพัฒนำ
 ทดลองกำรคำนวณกำรจัดสรรพันธกรณี ภำยในกลุม
่ ประเทศ
กำลังพัฒนำ (Non-Annex I countries: NAI) และ
เปรียบเทียบภำระของประเทศไทย
 พิจำรณำควำมเป็ นไปได ้/ทำงเลือกของประเทศไทยในกำรลดกำร
ปล่อยก๊ำซ CO2 จำกภำคกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำ ตำมระดับ
พันธกรณี ข ้ำงต ้น
ข้อเสนอในแง่ ภาพรวมความจาเป็ น
ระด ับโลก
่ นของอุ
้
่
 ควรร ักษำระดับกำรเพิมขึ
ณหภูมเิ ฉลียของโลกในระดั
บไม่
เกิน [1.5] [2] องศำเซลเซียส
้ั
 ควรร ักษำระดับควำมเข ้มข ้นของก๊ำซเรือนกระจกในชนบรรยำกำศ
่ บ [350] [400] [450] ppm CO2-eq
ทีระดั
่
 ปริมำณกำรปล่อยก๊ำซรวมของโลกควรจะหยุดกำรเพิมและเริ
ม่
ลดลงภำยในปี [2015] [2020] [2015 สำหร ับประเทศพัฒนำแล ้ว
และ 2025 สำหร ับประเทศกำลังพัฒนำ] [ภำยใน 10-15 ปี ]
 ปริมำณกำรปล่อยก๊ำซรวมของโลกควรจะต ้องลดลงอย่ำงน้อย
[50%] [85%] จำกระดับในปี 1990 ภำยในปี 2050
่
ข้อเสนอเกียวก
ับการจัดสรรภาระ
พันธกรณี /ความมีสว
่ นร่วมระหว่าง
กลุ่มประเทศ
 ข้อเสนอของเป้ าหมายการลดการปล่อยก๊าซของ
ประเทศพัฒนาแล้ว
 ประเทศพัฒนำแล ้วควรลดกำรปล่อยก๊ำซลงในระดับ [25-
40%] [25%] [30%] [40%] [45%] [50%] จำกระดับ
กำรปล่อยก๊ำซในปี 1990 ภำยในปี 2020
 ประเทศพัฒนำแล ้วควรลดกำรปล่อยก๊ำซลงในระดับ
[80%] [95%] จำกระดับกำรปล่อยก๊ำซในปี 1990 ภำยใน
ปี 2050
 ข้อเสนอของเป้ าหมายการลดการปล่อยก๊าซของ
ประเทศกาลังพัฒนา
เปรียบเทียบข้อเสนอก ับผลการศึกษา
ของ IPCC
่ จำรณำตัวเลขเป้ ำหมำยต่ำงๆ ทีปรำกฏในข
่
 เมือพิ
้อเสนอ
่
พบว่ำตัวเลขเป้ ำหมำยหลักๆ ทีปรำกฏในข
้อเสนอต่ำงๆ มี
่
ควำมสอดคล ้องอย่ำงสูงมำกกับข ้อมูลตัวเลขทีปรำกฏใน
รำยงำน IPCC ฉบับล่ำสุด (IPCC Fourth
Assessment Report, IPCC-AR4)
 Table SPM.5: เป้ ำหมำยกำรลดก๊ำซรวมของโลก
 Box 13.7: กำรกระจำยพันธกรณี ระหว่ำง Annex I กับ
Non-Annex I
เปรียบเทียบข้อเสนอก ับผลการศึกษา
ของ IPCC
Summary of Box 13.7 in IPCCAR4
Scenario
Region
2020
2050
450 ppm Annex I
CO2-eq
Non-AI
-25% to -40% below
1990
-80% to -95% below
1990
550 ppm Annex I
CO2-eq
Non-AI
-10% to -30% below
1990
-40% to -90% below
1990
Deviation from
Baseline in some.
Deviation from
Baseline in most.
650 ppm Annex I
CO2-eq
Non-AI
0% to -25% below
1990
-30% to -80% below
1990
Baseline
Deviation from
Baseline in some.
Substantial Deviation Substantial Deviation
from Baseline in
from Baseline in all.
some.
Source: Adjusted from IPCC Working Group III, 2007 (Box13.7, p.776)
Revised Box 13.7
Scenario
Region
2020
2050
450 ppm Annex I
CO2-eq
Non-AI
-25% to -40% below
1990
-80% to -95% below
1990
-15% to -30% below
Business as Usual
Substantial Deviation
from Baseline in all.
550 ppm Annex I
CO2-eq
Non-AI
-10% to -30% below
1990
-40% to -90% below
1990
0% to -20% below
Business as Usual
Deviation from
Baseline in most.
650 ppm Annex I
CO2-eq
Non-AI
0% to -25% below
1990
-30% to -80% below
1990
+10% above to -10% Deviation from
below BAU
Baseline in some.
Source: den Elzen and Hohne (2008)
คาถาม
่ น NAI ของ
 ถ ้ำกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาทีเป็
UNFCCC จะต ้องถูกกำหนดให ้มีพน
ั ธกรณี รว่ มกัน
ในกำรลดปริมำณกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก ใน
ปี 2020 ลงในระดับ 15% หรือ 30% จาก
BAU ผลของกำรจัดแบ่งภำระต่อพันธกรณี
ดังกล่ำวจะมีผลกำรจัดสรรในลักษณะใดได ้บ ้ำง?
เกณฑ ์การจัดสรรพันธกรณี
*ข ้อเสนอเกณฑ ์กำรจัดสรรพันธกรณี ทพิ
ี่ จำรณำในกำรวิเครำะห ์ 4
ข ้อเสนอ
่ นหลักควำมเป็ น
(เกณฑ ์อย่ำงง่ำย 2 เกณฑ ์ และ เกณฑ ์ทีเน้
ธรรม 2 เกณฑ ์)
1. Equal BAU Percentage

ประเทศ NAI ทุกประเทศมีภำระต ้องลดปริมำณกำรปล่อยก๊ำซ
่ าเทียมกัน
เรือนกระจกรวมของตนในปี 2020 ลงในสัดส่วนทีเท่
่ ยบกับปริมำณกำรปล่อยในกรณี BAU (นั่นคือ ทุกประเทศ
เมือเที
จะต ้องลด 15% หรือ 30% เท่ำเทียมกัน)
2. Equal 1990 Percentage
 ประเทศ NAI ทุกประเทศมีภำระต ้องลดปริมำณกำรปล่อยก๊ำซ
่ าเทียมกัน
เรือนกระจกรวมของตนในปี 2020 ลงในสัดส่วนทีเท่
เกณฑ ์การจัดสรรพันธกรณี (ต่อ)
3. Equal Emission Rights
์ ำเทียมกันในกำรร่วมใช ้
 ประชำกรของโลกทุกคนควรมีสท
ิ ธิเท่
ทร ัพยำกรส่วนรวมของโลก ดังนั้นประชากรของ NAI ทุก
์
ประเทศ ย่อมควรได ้ร ับสิทธิในการปล่
อยก๊าซเรือนกระจกต่อ
่ าเทียมกันทังหมด
้
หัวประชากรในอัตรำทีเท่
4. Contraction and Convergence (C&C)
้ ปี 2010 เป็ นต ้นไปประเทศ NAI ทุกประเทศจะต ้องค่อยๆ
 ตังแต่
่
ปร ับลดความแตกต่างของค่าเฉลียการปล่
อยก๊าซต่อหัวของ
่ ยบกับค่ำเฉลียรวมของประเทศ
่
้
ตน เมือเที
NAI ทังหมด
ลงในอ ัตรา
่ ยบกับค่ำควำมแตกต่ำงทีด
่ ำรงอยู่ในปี
25% ต่อทศวรรษ เมือเที
่
่
2010 ซึงจะมี
ผลทำให ้ค่ำเฉลียของกำรปล่
อยก๊ำซต่อหัวของ NAI
ทุกประเทศจะถูกปร ับค่ำจนมีคา
่ เท่าเทียมกันในปี 2050
ฐำนข ้อมูล และ ข ้อจำกัดของกำรวิเครำะห ์
 ข ้อมูลหลักของกำรวิเครำะห ์: ข ้อมูลของ International Energy
Agency ใน 2 รำยงำน
 CO2 Emissions from Fuel Combustion 2009: Highlights
 World Energy Outlook 2009
่ มเต็ม
(ร่วมกับกำรทำ Interpolation/Extrapolation เพือเติ
ช่องว่ำงของข ้อมูล)
 ข ้อจำกัดของข ้อมูล
 เป็ นข ้อมูลและประมำณกำรกำรปล่อยก๊ำซ CO2 จำกภำคพลังงำน
 ข ้อมูลประมำณกำรมีถงึ แค่ปี 2030
 ข ้อมูลประมำณกำรรำยภูมภ
ิ ำค + ประเทศสำคัญ + ประเทศใน
ASEAN
 ข ้อจำกัดของกำรวิเครำะห ์
 กำรแบ่งแยก AI/NAI ทำได ้ไม่สมบูรณ์
สรุปผลของประเทศไทยภายใต้เกณฑ ์การจัดสรร
ทัง้ 4 รู ปแบบ
 กรณี 15% จาก BAU
์
 ได ้ร ับสิทธิในกำรปล่
อยก๊ำซ CO2 ต่อหัวประชำกรในช่วงระหว่ำง 2.584
– 3.761 ตันต่อคน
 หรือเทียบเท่ำกับต ้องมีภำระพันธกรณี ในกำรลดกำรปล่อยก๊ำซจำก
ระดับ BAU ลงระหว่ำง 15-42%
 กรณี 30% จาก BAU
์
 ได ้ร ับสิทธิในกำรปล่
อยก๊ำซ CO2 ต่อหัวประชำกรในช่วงระหว่ำง 2.13 –
3.10 ตันต่อคน
 หรือเทียบเท่ำกับต ้องมีภำระพันธกรณี ในกำรลดกำรปล่อยก๊ำซจำก
ระดับ BAU ลงระหว่ำง 30-52%
(***กรณี BAU อัตรำกำรปล่อยก๊ำซ CO2 ต่อหัวประชำกรของไทย
= 4.425 ตันต่อคน ***)
กรณี ศก
ึ ษา
ภาคการผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย
คาถาม
 ถ ้ำประเทศไทยมีควำมจำเป็ นจะต ้องลดกำรปล่อย
ก๊ำซ CO2 จำกภำคกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำลงใน
่ ยบกับระดับกำร
ระดับ 15% หรือ 30% เมือเที
ปลดปล่อยในกรณี BAU ในปี 2020 เรำจะมี
ทำงเลือกและควำมเป็ นไปได ้ในกำรจัดกำรภำค
กำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำของประเทศไทยอย่ำงไร
บ ้ำง?
่ ในการวิเคราะห ์
ข้อมู ลทีใช้
 แผนพัฒนำกำลังผลิตไฟฟ้ ำ ฉบับ PDP 2010
 แผนพัฒนำกำลังผลิตไฟฟ้ ำ ฉบับ PDP 2007: Revision
2
วิธก
ี ารคานวณปริมาณการปล่อย CO2
Revised 1996 IPCC Guidelines for National
Greenhouse Gas Inventories ร่วมกับ ข ้อมูลค่ำควำม
้
ร ้อนสุทธิของเชือเพลิ
งแต่ละประเภทจำกรำยงำนไฟฟ้ ำของ
ประเทศไทย
การกาหนดนิ ยามของกรณี BAU
 ปัญหำกำรกำหนดขนำดกำรปลดปล่อยก๊ำซในกรณี BAU
 ควำมไม่แน่ นอนของกำรพยำกรณ์ เพรำะเป็ นกำรคำดประมำณค่ำ
่
้
่ งไม่ได ้มีกำร
ปริมำณกำรปล่อยก๊ำซทีควรจะเกิ
ดขึนในอนำคต
ทียั
้ งๆ
เกิดขึนจริ
 ปัญหำกำรตีควำมว่ำ สภำวะ BAU หรือ “สภำวะเศรษฐกิจปกติ ที่
้
่
ควรจะเกิดขึนหำกไม่
ได ้มีกำรดำเนิ นนโยบำยและ/หรือมำตรกำรทีมี
่ จะก่
่ อให ้เกิดกำรลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก” คือ
เป้ ำหมำยเพือที
อะไร?
 ทำงเลือกในกำรกำหนดกรณี อ ้ำงอิง BAU
 ปริมำณกำรปล่อยก๊ำซ CO2 ภำยใต ้แผน PDP2010
เอกสำร “นโยบำยและแนวทำงกำรปร ับปรุงแผน PDP2010” ของ
กระทรวงพลังงำน ได ้มีกำรระบุให ้ “คำนี งถึงกำรลดกำรปล่อยก๊ำซ
เรือนกระจกของโรงไฟฟ้ ำใหม่” และ “พิจำรณำกำรปร ับลดปริมำณ
การกาหนดนิ ยามของกรณี BAU (ต่อ)
 ควำมแตกต่ำงของปริมำณกำรปล่อยก๊ำซ CO2:
PDP2010 vs PDP2007R2
1) ควำมแตกต่ำงในค่ำพยำกรณ์ควำมต ้องกำรไฟฟ้ ำ

ปร ับตำมควำมต ้องกำรจริงปี 2552 และ ปร ับลดพยำกรณ์
GDP ในอนำคต
่
==> เป็ นกำรปร ับเพือควำมถู
กต ้องของข ้อมูล ไม่ใช่ผลของ
นโยบำยกำรลดก๊ำซ
2) ผลของมำตรกำรประหยัดพลังงำน
รวมผลของโครงกำรหลอดผอมใหม่ T5
่ วยลดก๊ำซ
==> วัตถุประสงค ์ส่วนหนึ่ งของโครงกำร คือ เพือช่
เรือนกระจก

่
3) ผลของกำรเปลียนแปลงสั
ดส่วนของแหล่งพลังงำนในกำร
ผลิตไฟฟ้ ำ
ทางเลือกในการนิ ยามกรณี BAU ใหม่
1. New BAU1: ถือว่ำควำมแตกต่ำง (1) ควรนับรวมใน BAU อยู่
แล ้ว



ใช ้ค่ำพยำกรณ์ควำมต ้องกำรไฟฟ้ ำใหม่ของ PDP2010 เป็ นฐำน
ไม่รวมผลกำรประหยัดพลังงำนของโครงกำร T5
สมมติให ้สัดส่วนของแหล่งพลังงำนในกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำมีค่ำเป็ นไป
่
ตำมสัดส่วนทีปรำกฏใน
PDP2007R2
2. New BAU2 : ถือว่ำควำมแตกต่ำง (1) & (3) ควรนับรวมใน
BAU อยู่แล ้ว



ใช ้ค่ำพยำกรณ์ควำมต ้องกำรไฟฟ้ ำใหม่ของ PDP2010 แต่ไม่รวมผล
โครงกำร T5
ใช ้ปริมำณของแหล่งพลังงำนในกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำของ PDP2010
เป็ นฐำน
สมมติให ้โรงไฟฟ้ ำนิ วเคลียร ์ไม่สำมำรถดำเนิ นกำรได ้ทันในปี 2020 -->
ใช ้ถ่ำนหินนำเข ้ำแทน
3. New BAU3 : ถือว่ำควำมแตกต่ำง (1) & (3) ควรนับรวมใน
การพิจารณาทางเลือกในการลดก๊าซ
CO2
่
่
 กำรเพิมประสิ
ทธิภำพกำรใช ้พลังงำนไฟฟ้ ำ เพือลดควำมต
้องกำรใน
กำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำ (EE)
่
 กำรเพิมปริ
มำณกำรใช ้พลังงำนหมุนเวียนในกำรผลิตไฟฟ้ ำ (RE)
่ ้สำมำรถลดกำรผลิตไฟฟ้ ำจำกเชือเพลิ
้
 เพือให
งฟอสซิล ได ้แก่
ถ่ำนหินนำเข ้ำ ลิกไนต ์ หรือ ก๊ำซธรรมชำติ
่
กำรวิเครำะห ์จึงต ้องเริมจำกกำรประมำณกำรขนำดของ
“ศักยภำพ
่
ของกำรเพิมประสิ
ทธิภำพพลังงำน” และ “ศักยภำพของกำรใช ้
พลังงำนหมุนเวียน” ของประเทศไทยในปี 2020
่
ประมาณการศ ักยภาพการเพิม
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าของ
ประเทศไทย
่
ประมาณการศ ักยภาพพลังงานหมุนเวียนเพือการผลิ
ต
ไฟฟ้าของประเทศไทย
การพิจารณาทางเลือกต่างๆ ในการปฏิบต
ั ต
ิ าม
เป้ าหมายพันธกรณี 15% และ 30%
ข้อสมมติ
้ั จะจ
้ ำกัดเฉพำะกำรวิเครำะห ์ทำงเลือกใน
1. กำรวิเครำะห ์ครงนี
กำรจัดกำรควำมต ้องกำรและกำรจัดหำพลังงำนไฟฟ้ ำของ
่ ้บรรลุเป้ ำหมำยพันธกรณี ในกำรลดก๊ำซ
ประเทศไทย เพือให
่ ำหนด เฉพำะในปี 2020 เท่ำนั้น
CO2 ในระดับทีก
้ ำกัดเฉพำะกำรวิเครำะห ์ปริมำณ
้ั จะจ
2. กำรวิเครำะห ์ในครงนี
กำรปลดปล่อยก๊ำซ CO2 จำกกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำ
ภำยในประเทศ (ไม่รวมส่วนกำรนำเข ้ำ)
3. ใช ้กรณี New BAU3 เป็ นฐำน: ค่ำควำมต ้องกำรพลังงำน
ไฟฟ้ ำจำกแหล่งผลิตในประเทศ ก่อนกำรหักผลกำรใช ้
่
่ ม สำหร ับปี 2020
มำตรกำรเพิมประสิ
ทธิภำพพลังงำนเพิมเติ
การพิจารณาทางเลือกต่างๆ ในการปฏิบต
ั ต
ิ าม
เป้ าหมายพันธกรณี 15% และ 30%
ข้อสมมติ (ต่อ)
้ นเตำ นำมั
้ นดีเซล และ
4. ปริมำณกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำจำกนำมั
่
่ ำหนดใน
ไฟฟ้ ำพลังนำ้ ในปี 2020 มีคำ่ คงทีในระดั
บเดียวกับทีก
แผน PDP2010 เสมอ นั่นคือ จะอยู่ทระดั
ี่ บ 0 GWh 21 GWh
และ 6,065 GWh ตำมลำดับ
่
5. ศักยภำพของมำตรกำรกำรเพิมประสิ
ทธิภำพพลังงำนไฟฟ้ ำและ
ศักยภำพของกำรใช ้พลังงำนหมุนเวียนในกำรผลิตไฟฟ้ ำของ
ประเทศไทย ในปี 2020 จะมีคำ่ เท่ำกับ 31,620 และ 39,468
่
GWh ตำมลำดับ ซึงจะท
ำให ้ศักยภำพรวมอยู่ที่ 71,088 GWh
6. กำรคำนวณปริมำณกำรปลดปล่อยก๊ำซ CO2 จะพิจำรณำ
้
่
เฉพำะในส่วนของกำรเผำไหม้เชือเพลิ
งเพือกำรผลิ
ตพลังงำน
่
กรณี พน
ั ธกรณี 15% (เป้ าหมาย 81.76
ล้านต ัน)
 ทางเลือก 15A
้
 ปร ับลดกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำจำกเชือเพลิ
งถ่ำนหินนำเข ้ำลงให ้
เหลือเพียง 16426 GWh (ลดลง 16379 GWh)
่
่
 เพิมกำรส่
งเสริมและพัฒนำกำรใช ้พลังงำนหมุนเวียนและกำรเพิม
ประสิทธิภำพพลังงำน (RE&EE) ในระดับ 44% ของศักยภำพ
้
ทังหมด
 ทางเลือก 15B
้
 ปร ับลดกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำจำกเชือเพลิ
งถ่ำนหินนำเข ้ำลงให ้เหลือ
เพียง 16426 GWh (ลดลง 16379 GWh)
่ ้ทันกับกำหนดกำรเดิมที่
 เร่งดำเนิ นกำรก่อสร ้ำงโรงไฟฟ้ ำนิ วเคลียร ์เพือให
ระบุไว ้ในแผน PDP2010
่
่
 เพิมกำรส่
งเสริมและพัฒนำกำรใช ้พลังงำนหมุนเวียนและกำรเพิม
้
ประสิทธิภำพพลังงำน (RE&EE) ในระดับ 33% ของศักยภำพทังหมด
พลังงำนไฟฟ้ ำรวม = 188,662
พลังงำนไฟฟ้ ำรวม = 192,072
พิจารณาทางเลือกสาหร ับกรณี
พันธกรณี ระด ับ 15%
้
่ ควำมเป็ นไปได ้ในระดับสูง เพรำะ
 ทังสองทำงเลื
อก เป็ นทำงเลือกทีมี
่ ง
ในแผน PDP2010 มีกำรคำดกำรณ์วำ่ ในปี 2020 จะมีกำรพึงพิ
่
กำรใช ้พลังงำนหมุนเวียนและกำรเพิมประสิ
ทธิภำพกำรใช ้พลังงำน
้
่
ในระดับ 22% ของศักยภำพทังหมดอยู
่แล ้ว (พึงพำกำรผลิ
ตไฟฟ้ ำ
จำกพลังงำนหมุนเวียน 14730 GWh และ กำรประหยัดพลังงำน
จำกโครงกำร T5 เท่ำกับ 1170 GWh) ดังนั้นกำรดำเนิ น
่ มเพือเพิ
่ มผลกำรพั
่
มำตรกำรต่ำงๆ เพิมเติ
ฒนำศักยภำพดังกล่ำว
ในระดับ 11-22% จึงน่ ำจะถือว่ำมีควำมเป็ นไปได ้
กรณี พน
ั ธกรณี 30% (เป้ าหมาย 67.33
ล้านต ัน)
 ทางเลือก 30A
้
 ยกเลิกกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำจำกเชือเพลิ
งถ่ำนหินนำเข ้ำใน
้
ปี 2020 ทังหมด
่
 เพิมกำรส่
งเสริมและพัฒนำกำรใช ้พลังงำนหมุนเวียนและกำร
่
เพิมประสิ
ทธิภำพพลังงำน (EE&RE) ในระดับ 67% ของ
้
ศักยภำพทังหมด
 ทางเลือก 30B
้
 ยกเลิกกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ ำจำกเชือเพลิ
งถ่ำนหินนำเข ้ำใน
้
ปี 2020 ทังหมด
่ ้ทันกับ
 เร่งดำเนิ นกำรก่อสร ้ำงโรงไฟฟ้ ำนิ วเคลียร ์เพือให
่
กำหนดกำรเดิมทีระบุไว
้ในแผน PDP2010
่
 เพิมกำรส่
งเสริมและพัฒนำกำรใช ้พลังงำนหมุนเวียนและกำร
่
เพิมประสิ
ทธิภำพพลังงำน (EE&RE) ในระดับ 56% ของ
กรณี พน
ั ธกรณี 30% (เป้ าหมาย
67.33 ล้านตัน)
 ทางเลือก 30C
้
่ ม
 หยุดกำรขยำยกำลังกำรผลิตไฟฟ้ ำจำกเชือเพลิ
งถ่ำนหินเพิมเติ
่ อยู่ในปัจจุบน
จำกทีมี
ั (คงระดับกำรผลิตไฟฟ้ ำจำกถ่ำนหินนำเข ้ำไว ้
่ บในปี 2553 ที่ 12320 GWh)
ทีระดั
 คงปริมำณกำรผลิตไฟฟ้ ำจำกก๊ำซธรรมชำติ แต่ปร ับลดกำรผลิต
้
พลังงำนไฟฟ้ ำจำกเชือเพลิ
งลิกไนต ์ลงให ้เหลือเพียง 5435 GWh
่ ้ทันกับกำหนดกำร
 เร่งดำเนิ นกำรก่อสร ้ำงโรงไฟฟ้ ำนิ วเคลียร ์เพือให
่
เดิมทีระบุไว
้ในแผน PDP2010
่
่
 เพิมกำรส่
งเสริมและพัฒนำกำรใช ้พลังงำนหมุนเวียนและกำรเพิม
้
ประสิทธิภำพพลังงำนในระดับ 55% ของศักยภำพทังหมด
กรณี พน
ั ธกรณี 30% (เป้ าหมาย
67.33 ล้านตัน)
 ทางเลือก 30D
้
่ ม
 หยุดกำรขยำยกำลังกำรผลิตไฟฟ้ ำจำกเชือเพลิ
งถ่ำนหินเพิมเติ
่ อยู่ในปัจจุบน
จำกทีมี
ั (คงระดับกำรผลิตไฟฟ้ ำจำกถ่ำนหินนำเข ้ำไว ้
่ บในปี 2553 ที่ 12320 GWh)
ทีระดั
้
 คงปริมำณกำรผลิตไฟฟ้ ำจำกเชือเพลิ
งลิกไนต ์ แต่ปร ับลดกำรผลิต
พลังงำนไฟฟ้ ำจำกก๊ำซธรรมชำติลงให ้เหลือเพียง 104,017 GWh
่
(ซึงใกล
้เคียงกับปริมำณกำรผลิตในปี ปัจจุบน
ั )
่ ้ทันกับกำหนดกำร
 เร่งดำเนิ นกำรก่อสร ้ำงโรงไฟฟ้ ำนิ วเคลียร ์เพือให
่
เดิมทีระบุไว
้ในแผน PDP2010
่
่
 เพิมกำรส่
งเสริมและพัฒนำกำรใช ้พลังงำนหมุนเวียนและกำรเพิม
้
ประสิทธิภำพพลังงำนในระดับ 78% ของศักยภำพทังหมด
พลังงำนไฟฟ้ ำรวม = 181,355
พลังงำนไฟฟ้ ำรวม = 184,765
พลังงำนไฟฟ้ ำรวม = 185,012
ทางเลือก 30D
นิวเคลีย ร์
7,666 GWh
4.31%
พลังงาน
หมุนเวีย น
30,652 GWh
17.23%
พลังน้ า
6,065 GWh
3.41%
ถ่านหินนาเข ้า
12,320 GWh
6.92%
ลิกไนต์
17,202 GWh
9.67%
น้ ามันเตาและ
ดีเซล
พลังงำนไฟฟ้ ำรวม
21 GWh, 0.01%
=
GWh
ก๊าซ
ธรรมชาติ/LNG
104,017 GWh
177,943 58.46%
พิจารณาทางเลือกสาหร ับกรณี
พันธกรณี ระด ับ 30%
่ จารณาทังหมดเป็
้
่ นไปได้แต่
* ทางเลือกทีพิ
นทางเลือกทีเป็
ค่อนข้างมีปัญหา
 ทางเลือก 30A และ 30B (ค่อนข้างเป็ นไปได้ยาก)
้
 ยุตก
ิ ำรลงทุนก่อสร ้ำงโรงไฟฟ้ ำถ่ำนหินใหม่ รวมทังปลดระวำงโรงไฟฟ้
ำถ่ำน
่ อยู่ในปัจจุบน
้
หินทีมี
ั ออกไปทังหมดด
้วย
้
่ อยู่ในปัจจุบน
 โรงไฟฟ้ ำถ่ำนหินทังหมดที
มี
ั เป็ นโรงไฟฟ้ ำของผู ้ผลิตเอกชน
่ อนข ้ำงใหม่ จึงน่ ำจะเป็ นกำรยำกทีจะด
่ ำเนิ นกำรได ้
และเป็ นโรงไฟฟ้ ำทีค่
 ทางเลือก 30C (มีความเป็ นไปได้)
่ นโรงไฟฟ้ ำทีมี
่ อำยุ
 ปลดระวำงโรงไฟฟ้ ำแม่เมำะของกำรไฟฟ้ ำฝ่ ำยผลิต ซึงเป็
่
กำรใช ้งำนมำยำวนำน และประสบปัญหำกำรร ้องเรียนเรืองสภำพมลภำวะ
้ พอสมควร
่
จำกชำวบ ้ำนในพืนที
่ ด)
 ทางเลือก 30D (มีความเป็ นไปได้มากทีสุ
 ไม่ต ้องมีกำรปลดระวำงโรงไฟฟ้ ำก่อนกำหนด
่
่
 แต่มค
ี วำมเป็ นไปได ้มำก/น้อยแค่ไหน ในกำรทีจะขยำยกำรพึ
งพำกำรใช
้
่
พลังงำนหมุนเวียนและกำรเพิมประสิ
ทธิภำพพลังงำนไปจนถึงระดับสูงมำก
ทำงเลือกกำรผลิตไฟฟ้ ำ ในปี 2020
สัดส่วนการผลิต
พลังงานไฟฟ้า
PDP
2010
BAU
ทางเลือกภายใต้พน
ั ธกรณี
ตามประเภทของ
้
เชือเพลิ
ง (GWh)
พลังน้ า
15A
15B
30A
30B
30C
30D
6,065
6,065
6,065
6,065
6,065
6,065
6,065
6,065
122,839
131,675
131,675
131,675
131,675
131,675
131,675
104,017
21
21
21
21
21
21
21
21
ลิกไนต ์
17,202
17,202
17,202
17,202
17,202
17,202
5,435
17,202
ถ่านหินนาเข้า
32,806
32,806
16,426
16,426
-
12,320
12,320
7,666
-
7,666
7,666
7,666
ก๊าซธรรมชาติ/LNG
น้ ามันเตาและดีเซล
นิ วเคลียร ์
พลังงานหมุนเวียน
รวมการผลิต
ภายในประเทศ
้
การซือไฟฟ
้ าจาก
ต่างประเทศ
7,666
-
-
-
14,730
14,730
17,272
13,016
26,392
22,136
21,829
30,652
201,330
202,500
188,662
192,072
181,355
184,765
185,012
177,943
35,626
35,626
35,626
35,626
35,626
35,626
35,626
35,626
บทสรุป
่
 ประชาคมโลกมีควำมจำเป็ นอย่ำงเร่งด่วน ทีจะต
้องร่วมมือร่วม
ใจกันในกำรดำเนิ นกำรปรับลดปริมำณกำรปล่อยก๊ำซเรือน
้ เนื
้ ่ องจำกระดับ
กระจกลงมำอย่างมากและอย่างรวดเร็ว ทังนี
่ กำร
ของอัตรำกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกโดยรวมของโลกทีมี
่ งกว่ำระดับที่
ปลดปล่อยกันอยู่ในปัจจุบน
ั มีคำ่ อยู่ในระดับทีสู
่
เหมำะสมทีระบบกำยภำพของโลกจะสำมำรถรองร
ับได ้ในระยะยำว
อยู่อย่ำงมำก
 ภำยใต ้เกณฑ ์ข ้อเสนอในกำรจัดสรรพันธกรณี ทน
ี่ ำมำใช ้ในกำร
้ั ทั
้ งหมด
้
วิเครำะห ์ครงนี
เรำไม่พบว่ำมีเกณฑ ์กำรจัดสรรใดเลย ที่
เลือกจัดสรรให ้ประเทศไทยต ้องมีพน
ั ธกรณี (ในหน่ วยของ
่ ่ำกว่ำค่ำ
เปอร ์เซ็นต ์พันธกรณี เทียบกับ BAU) ในระดับทีต
่
บทสรุป(ต่อ)
 ในกรณี ของกำรลดกำรปล่อยก๊ำซ CO2 ในภำคกำรผลิตไฟฟ้ ำ
ประเทศไทยน่ ำจะมีศก
ั ยภำพในกำรบรรลุเป้ ำหมำยพันธกรณี ใน
ระดบ
ั 15% ของ BAU ภำยในปี 2020 ได ้โดยไม่ยุ่งยากมาก
่
นัก ขณะทีกำรบรรลุ
เป้ ำหมำยกำรลดก๊ำซ CO2 ในระดับ
่ มี
่ ควำมยุ่งยาก
พันธกรณี 30% ของ BAU จะเป็ นเรืองที
มากกว่ามาก แต่กย
็ งั มีความเป็ นไปได้อยู ่
ขอขอบคุณ
 สานักงานคณะกรรมการวิจย
ั แห่งชาติ
 สานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจย
ั
 สานักงานนโยบายและแผนทร ัพยากรธรรมชาติและ
่
สิงแวดล้
อม
 อ.ประชา และ คณะทางานสัมมนา คณะเศรษฐศาสตร ์
 คณาจารย ์ และ เจ้าหน้าที่ คณะเศรษฐศาสตร ์ทุกท่าน
 คุณคมศ ักดิ ์ สว่างไสว และ คุณหิรพ
ิ งษ ์ เทพศีรอ
ิ านวย
ผู ช
้ ว
่ ยวิจย
ั