เสียง (Sound) - phanphit.ac.th

Download Report

Transcript เสียง (Sound) - phanphit.ac.th

เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
• เสียง (Sound)
•
เสียงเป็ นองค์ประกอบหนึง่ ที่นิยมนำมำใช้ งำนด้ ำนมัลติมีเดีย ซึง่
สำมำรถถ่ำยทอดอำรมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น กำรใช้ เสียงระทึกใจเพื่อทำ
ให้ เกิดควำมตื่นเต้ น หรื อเสียงนกร้ องเพื่อสร้ ำงบรรยำกำศตำมธรรมชำติ
ดังนัน้ กำรเลือกใช้ เสียงกับมัลติมีเดียอย่ำงเหมำะสมย่อมสร้ ำง
ควำมรู้สกึ ที่ดีและน่ำประทับใจให้ กบั ผู้ชมงำนนำเสนอได้ โดยเนื ้อหำบท
นี ้จะกล่ำวถึงควำมรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับออดิโอ เช่น อุปกรณ์สำหรับออดิโอ
รูปแบบไฟล์ออดิโอ และซอฟต์แวร์ สำหรับออดิโอ เป็ นต้ น
• ทำควำมรู้จกั กับเสียง (Sound)
•
เสียง (Sound) อยูใ่ นรูปแบบของพลังงำน (Energy)
เหมือนกับพลังงำนควำมร้ อน (Heat) และพลังงำนแสง (Light) ที่
สำมำรถถ่ำยทอดจำกที่หนึง่ ไปยังอีกที่หนึง่ ผ่ำนตัวกลำงทีเ่ กิดจำกกำร
สัน่ (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงพลังงำนที่อยูใ่ นรูปแบบคลื่นที่
ประกอบด้ วยแอมพลิจดู (Amplitude) และควำมถี่
(Frequency) ของคลื่นเสียง ตัวอย่ำงเช่น เมื่อสัน่ กระดิง่ จะเกิดเป็ น
พลังงำนเดินทำงผ่ำนตัวกลำงที่เป็ นอำกำศเพื่อถ่ำยทอดพลังงำน
ดังกล่ำว และสะท้ อนมำยังหูของมนุษย์ เป็ นต้ น โดยปกติมนุษย์สำมำรถ
ได้ ยินเสียงที่มีควำมถี่อยูร่ ะหว่ำง 20 ถึง 20,000 เฮิรซต์ ในปั จจุบนั
เทคโนโลยีกำรผลิตเสียงได้ เข้ ำมีบทบำทในกำรใช้ ชีวิต
ความดัง ของเสี ย ง(เดซิ
ชนิดของเสี ยง
เบล)
เสี ยงที่แผ่วเบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยนิ
0
30
เสี ยงกระซิบ หรื อเสี ยงในห้องสมุดที่เงียบสงัด
60
เสี ยงพูดคุยตามปกติ เสี ยงจักรเย็บผ้า หรื อเสี ยงพิมพ์ดีด
85
เสี ยงตะโกนข้ามเขา หรื อพื้นที่โล่งกว้าง เพื่อให้ได้ยนิ เสี ยงสะท้อนของตนเองกลับมา
90
เสี ยงเครื่ องตัดหญ้า เสี ยงเครื่ องจักรในโรงงาน หรื อเสี ยงรถบรรทุก (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 8
ชม.)
100
เลื่อยไฟฟ้ าหรื อเครื่ องเจาะที่ใช้ลม : Pneumatic Drill (ไม่ควรได้ยนิ เกินวันละ 2 ชม.)
115
เสี ยงระเบิดหิ น เสี ยงในร็อคคอนเสิ ร์ต หรื อเสี ยงแตรรถยนต์ (ไม่ควรได้ยนิ เกินวันละ 15 นาที)
140
เสี ยงยิงปื น เสี ยงเครื่ องบินเจ็ต ซึ่งเป็ นเสี ยงที่ทาให้ปวดหู และอาจทาให้หูเสื่ อมได้ แม้ได้ยินเพียง
ครั้งเดียวก็ตาม ดังนั้นผูท้ ี่จาเป็ นต้องอยูก่ บั เสี ยงในระดับนี้ จะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันหูเสมอ
• องค์ประกอบของระบบเสียง
•
กำรนำเสียงจำกธรรมชำติมำใช้ งำนบนคอมพิวเตอร์ ต้องผ่ำน
กระบวนกำรบันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง
(Playback) แต่ก่อนที่จะผ่ำนกระบวนกำรเหล่ำนี ้จำเป็ นต้ องรับและ
แปลงเสียงให้ อยูใ่ นรูปแบบที่เหมำะสม โดยใช้ เครื่ องมือสำหรับ
ประมวลผลและแปลงเสียงต้ นฉบับให้ เป็ นสัญญำณทำงไฟฟ้ำ ได้ แก่
ไมโครโฟน (Microphone) เครื่ องขยำยเสียง (Amplifier)
ลำโพง (Speaker) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer)
• ไมโครโฟน (Microphone)
•
ไมโครโฟน (Microphone) เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำ
หน้ ำที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (Sound wave) จำกแหล่งกำเนิดเสียง
เช่น เสียงพูด เสียงเพลง หรื อเสียงดนตรี เป็ นต้ น ให้ เป็ นสัญญำณไฟฟ้ำ
โดยควำมถี่เสียงจะเคลื่อนที่ไปตำมสำยไม่โครโฟนสูเ่ ครื่ องขยำยเสียง
และสำมำรถบันทึกเสียงได้ ด้วยกำรแปลงพลังลังงำนเสียงให้ เป็ น
พลังงำนไฟฟ้ำ
• เครื่ องขยำยเสียง (Amplifier)
•
เครื่ องขยำยเสียง (Amplifier) เป็ นอุปกรณ์สำหรับกำรขยำย
สัญญำณอินพุตให้ มีควำมดังหรื อแอมพลิจตู เพิ่มขึ ้นโดยเครื่ องขยำย
เสียงจะประมวลผลสัญญำณโดยใช้ ชดุ ของทรำนซิสเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่
บนแผงวงจรและใช้ พลังงำนจำกพำวเวอร์ ซบั พลำย โดยสัญญำณอินพุต
จะถูกขยำยให้ มแี อมพลิจตู เพิ่มขึ ้นแต่มีรูปแบบคลื่อนเหมือนเดิม
• ลำโพง Speaker
•
ลำโพง Speaker เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ สำหรับแปลงพลังงำนทำง
ไฟฟ้ำกลับเป็ นพลังงำนเสียง ซึง่ มีฟังก์ชนั กำรทำงำนตรงข้ ำมกับ
ไมโครโฟนหรื อเครื่ องขยำยเสียง โดยจะทำหน้ ำที่ได้ รับมำจำกเครื่ อง
ขยำยเสียง สำมำรถแบ่งลำโพงออกเป็ น 2 ชนิดได้ แก่ ลำโพงแบบไดนำ
มิก (Dynamic Speaker) และลำโพงชนิดเสียงทุ้ม
(Woofer) กับลำโพลงชนิดเสียงแหลม (Tweeter)
• ซอร์ ฟแวร์ สำหรับเล่นไฟล์ออดิโอ
• ในปั จจุบนั ซอร์ ฟแวร์ ที่ใช้ เล่นไฟล์เสียงมีอยูม่ ำกมำย ซึง่ บำงซอร์ ฟแวร์ ก็
สำมำรถแสดงได้ ทงภำพและเสี
ั้
ยง โดยหัวข้ อนี ้จะกล่ำวถึงซอร์ ฟแวร์ตำ่ งๆที่
สำคัญ ดังนี ้
• Windows Media Player
• เป็ นซอร์ ฟแวร์ ของระบบปฎิบตั ิกำร Windows ที่ใช้ สำหรับเล่นไฟล์เสียง
และไฟล์วีดีโอบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ นอกจำกนี ้ยังสำมำรถนำไปใช้ กบั แพล็ต
ฟอร์ มอื่นๆได้ เช่น Pocket PC , Mac OS , และ Solaris เป็ นต้ น
ซึง่ สำมำรถเล่นไฟล์ได้ หลำกหลำยชนิด เช่น WMV , WMA , ASF ,
และ MP3 เป็ นต้ น
• ประเภทของเสียงที่นำมำใช้ กบั งำนด้ ำนมัลติมิเดีย
•
เสียงที่นำมำใช้ กบั งำนด้ ำนมัลติมิเดียมีหลำยประเภท ได้ แก่ เสียงพูด
(Speech) เสียงเพลง (Music) เสียงเอฟเฟ็ กต์ (Sound Effect) โดยมี
รำยละเอียดดังนี ้
• เสียงพูด(Speech)
• เสียงพูด(Speech) เป็ นองค์ประกอบสำคัญสำหรับกำรสื่อสำรข้ อมูลของมนุษย์
และเป็ นสื่อกลำงสำหรับถ่ำยทอดข้ อมูลที่มีประสิทธิภำพ สำมำรถใช้ สื่อควำมหมำย
แทนตัวอักษรจำนวนมำกได้ เสียงพูดแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดได้ แก่ เสียงพูดแบบ
ดิจิตอล (Digitized) และเสียงพูดแบบสังเครำะห์ (Synthesized)
• เสียงพูดแบบ ดิจิตอล(Digitized )เป็ นเสียงพูดที่บนั ทึกมำจำกมนุษย์ จัดเป็ นเสียง
ที่มีคณ
ุ ภำพสูง และต้ องกำรพื ้นที่สำหรับจัดเก็บข้ อมูลมำก
• เสียงพูดแบบสังเครำะห์ (Synthesized) เป็ นเสียงที่เกิดจำกกำรสังเครำะห์ ซึง่ ไม่
สำมำรถแทนเสียงพูดของมนุษย์ได้ อย่ำงสมบูรณ์
• ขันตอนกำรน
้
ำเสียงมำใช้ งำน
•
ไม่วำ่ จะใช้ มลั ติมีเดียบนระบบ Macintosh หรื อ
Windowsต้ องมัน่ ใจว่ำเมื่อนำเสียงไปใช้ กบั งำนมัลติมีเดียแล้ ว จะ
ทำให้ งำนมีคณ
ุ ภำพมำกขึ ้น โดยจะต้ องพิจำรณำถึงควำมเหมำะสมใน
กำรนำมำใช้ งำนตำมขันตอนต่
้
อไปนี ้
•
•
•
•
เสียงพูด
เป็ นต้ น ซึง่ ต้ องกำหนดตำแหน่งหรื อเวลำในกำรแสดงเสียงให้ เหมำะสมด้ วย
ตัดสินใจว่ำจะใช้ เสียงแบบมิดี ้ หรื อใช้ เสียงแบบดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไหร่
พิจำรณำว่ำจะสร้ ำงข้ อมูลเสียงขึ ้นมำเองหรื อซื ้อสำเร็ จรูปมำใช้ งำนจึง
ตัดสินใจว่ำจะใช้ เสียงชนิดใดกับงำนที่ออกแบบไว้ เช่น เพลง เสียงพิเศษ
ประกอบกำรนำเสนอ หรื อจะเหมำะสม
• นำไฟล์เสียงมำทำกำรปรับแต่งให้ เหมำะสมกับมัลติมิเดียที่ออกแบบ แล้ ว
นำมำรวมเข้ ำกับงำนมัลติมิเดียที่ทำกำรผลิต
• ทดสอบกำรทำงำนของเสียงให้ มนั่ ใจว่ำ เสียงที่นำเสนอมีควำมสัมพันธ์กบั
ภำพในงำนมัลติมเดียที่ผลิตขึ ้น หำกไม่สมั พันธ์กนั ต้ องทำตำมขันตอนที
้
่1
ถึง 4 ซ ้ำแล้ วให้ ทดสอบใหม่จนกว่ำจะได้ ผลลัพธ์ที่ดีที่สดุ
• สรุป
•
เสียง(Audio) เป็ นองค์ประกอบหนึง่ ที่นิยมนำมำใช้ กบั งำนด้ ำน
มัลติมีเดีย ซึง่ สำมำรถถ่ำยทอดบรรยำกำศและอำรมณ์ตำ่ งๆไปยังผู้ชม
ได้ ดังนัน้ กำรเลือกใช้ เสียงกับงำนมัลติมีเดียอย่ำงเหมำะสมย่อมสร้ ำง
ควำมรู้สกึ ที่ดีและน่ำประทับใจแก่ผ้ ชุ มงำนนำเสนอได้