Transcript Lipstick

COLOR COSMETIC
FOR SKIN
(LIPSTICK)
E-Mail: [email protected]
Website: http://nattaporn.weebly.com/coursematerials.html
RAW MATERIALS AND
DOSAGE FORMS
IN
MAKE-UP COSMETICS
ประเภทของเครื่องสำอำงแต่ งสีสำหรับผิวหนัง
1. เครื่ องสำอำงประเภทแป้งผัดหน้ ำ
2. เครื่ องสำอำงสำหรับตำ
3. เครื่ องสำอำงใช้ แต่งแก้ ม หรื อรู้ช (Rouges)
4. เครื่ องสำอำงใช้ แต่ งปำก หรื อลิปสติก (Lipsticks)
ลิปสติกคืออะไร
• ลิปสติกหมำยถึง ผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้ วยเม็ดสีกระจำย
ตัวในเบสที่เหมำะสม และเบสนี ้จะประกอบด้ วย น ้ำมัน
ไขมัน และ ไขแข็ง ในปริ มำณต่ำงๆ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ จะให้ สี
แก่ริมฝี ปำก ตลอดจนควำมชุม่ ชื ้นแก่ริมฝี ปำก
Lipstick History
• กำรใช้ สีเพื่อเสริ มควำมงำมของริ มฝี ปำกมีมำหลำยพันปี แล้ ว รูปภำพหรื อสิง่ ก่อสร้ ำง
จำกอำรยธรรมสมัยอียิปต์ บำบิโลน หรื อสุเมเรี ยนแสดงให้ เห็นว่ำผู้หญิ งสมัน
ดังกล่ำวระบำยสีริมฝี ปำกด้ วยส่วนผสมของเฮอร์ มำไทต์ และ red ochre ใน
น ้ำมันพืชหรื อไขมันสัตว์ ในขณะที่ชำวซีเรี ย เปอร์ เชีย กรี ก และโรมันกลับใช้
เครื่ องสำอำงในรูปแบบใดรูปแบบหนึง่ เพื่อควำมรื่ นรมย์ กำรแพทย์หรื อใช้ ในงำนพิธี
ตัวอย่ำงเช่น หญิงชำวเอเธนส์ใช้ สำรสกัดจำกผัก สำหร่ำยและต้ นหม่อนเพื่อเน้ นสี
ปำกและแก้ ม เป็ นต้ น แม้ แต่กวีโอวิดก็ได้ บรรยำยวิธีที่สำวชำวโรมันใช้ รูจและแป้งทำ
ใบหน้ ำ
•
Lipstick History
• สำหรั บลิปสติกในปั จจุบันชนิดที่ผสมจำกนำ้ มันหรื อแวกซ์ หลอมเหลวผสมกับสีละลำย
หรือแขวนลอยหนึ่งชนิดหรือมำกกว่ ำขึน้ ไปนัน้ เริ่มใช้ เป็ นครัง้ แรกก่ อนสมัยสงควำมโลก
ครัง้ ที่หนึ่ง ในปี 1920 เริ่มใช้ eosin (รู้จักกันในชื่อ D&C Red No. 21) แทน
คำร์ มีนเป็ นตัวเลือกหนึ่งชองสำรให้ สี หลังจำกนัน้ จึงเริ่มมีกำรใช้ fluorsceinbased stains ตัวอื่นตำมมำ เช่ น
tetrachlorotetrabromofluorescein (D&C Red No. 27)
และ dibromofluorescein (D&C Orange No. 5) มีเอกสำรวิชำกำร
มำกในช่ วงต้ นศตวรรษที่ 20 ว่ ำส่ วนผสมชอง solid lip colorant มีสำรละลำย
นำ้ หลำยชนิดผสมอยู่ พร้ อมมีแม่ พมิ พ์ หล่ อแบบใหม่ เช่ นเดียวกับมีท่ จี ับและกลไกหมุน
แท่ งลิปสติกซึ่งถือเป็ นต้ นแบบของลิปสติกปั จจุบัน ควำมเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ในแต่ ละ
ยุคล้ วนถือเป็ นวิวัฒนำกำรของรูปแบบและสัมผัสของลิปสติกในทุกวันนี ้
•
ชนิดของลิปสติก
• ลิปสติกแบบเนื ้อด้ ำน ในลิปสติกแบบเนื ้อด้ ำน สำรหลักที่ใช้ โดยปกติคือ เคโอลีน ซึง่
โดยปกติจะให้ คณ
ุ สมบัติติดทน องค์ประกอบนี ้จะทำให้ ลิปสติกไม่มีควำมเงำและไม่
มันลิปสติกที่ผสมเคโอลีน จะค่อนข้ ำงแห้ ง แต่ถ้ำคุณมองหำลิปสติกที่ติดทน
ลิปสติกแบบแม็ทจะเป็ นทำงเลือกที่ดี
• เชียร์ หรื อสเตนท์ลิปสติก ลิปสติกชนิดนี ้จะมีมอยเจอร์ มำกกว่ำลิปสติกชนิดอื่น โดย
ปกติจะมีเม็ดสีไม่มำก ลิปสติกชนิดนี ้จะทำง่ำยและสีบำงเบำสวยงำม
• มอยเจอร์ ไรซิ่งลิปสติก ลิปสติกชนิดนี ้จะมีสำรบำรุงมำกเช่น เชียร์ บตั เตอร์ ลิปสติก
ชนิดนี ้จะหลุดง่ำยเนื่องจำกสำร ให้ ควำมชุ่มชื ้น เหมำะสำหรับริมฝี ปำกแห้ ง
• ลิปสติกแบบลองลำสติ ้ง ลองลำสติ ้งลิปสติก มีคณ
ุ สมบัติตำมชื่อคือ เป็ นลิปสติกที่
อ้ ำงว่ำสมำรถติดทนได้ ตลอดวันแม้ วำ่ จะผ่ำนกำรจูบ ลิปสติกชนิดนี ้จะเป็ นสูตร
นุ่มนวลและค่อยๆ ออกฤทธิ์ โดยใช้ ควำมร้ อนจำกริ มฝี ปำกเพื่อกระตุ้นให้ มีสี
ปลดปล่อยออกมำและไม่จำงสำมำรถอยูไ่ ด้ นำนถึง 8 ชัว่ โมง
ควำมคงตัวและกำรยึดเกำะเป็ นแท่ ง
• เครื่ องมือตรวจสอบ hot-stage หรื อ capillary melting point
สำมำรถบอกข้ อมูลควำมคงที่ระยะยำวของลิปสติกได้ มำกมำย ลิปสติกที่ไม่ได้ รับ
กำรกระทบกระเทือนใดๆ ต้ องยังคงแข็งตัวและอยูต่ วั ในระดับอุณหภูมิที่หลำกหลำย
ได้ (ปกติคือระดับ 0-50 องศำเซลเซียส) และต้ องต้ ำนกำร blooming และ
ตกผลึกในอุณหภูมิต่ำได้ รวมถึงกำรซึมและหยดในอุณหภูมิที่สงู ขึ ้นด้ วย วิธีวดั ค่ำ
ควำมคงที่ของลิปสติกตำมอุณหภูมิที่ซบั ซ้ อนขึ ้น เช่น วิธี Differential
Scanning Calorimetry (DSC) ก็สำมำรถใช้ วดั
inhomogenities ทำงกำยภำพซึง่ บ่งบอกปั ญหำควำมคงที่ให้ ทรำบได้
นอกจำกนี ้ กำรวัดผลโดยใช้ เครื่ องมือ เช่น crush and breaking
point determinations ได้ รับกำรยอมรับจำกผู้ผลิตส่วนผสมจำนวนมำก
ว่ำเป็ นตัวชี ้วัดควำมอยูต่ วั ทำงโครงสร้ ำงของแท่งลิปสติกที่ดี
Lipsticks
Composition:
• Solidifying Agent : Waxes mostly
beeswax, carnauba wax, candellila wax,
ozokerite and other synthetic waxes
• Oil: essentially castor oil
• Pigments
• Filler :Nylon, PMMA,Silica , Sericite
• Additive :Preservatives, Fragrance
Solidifying Agent
• Solidifying agent ที่อยูใ่ นลิปสติกประกอบด้ วยสำรแข็งหนึ่ง
ชนิดขึ ้นไปซึง่ ช่วยเสริมโครงสร้ ำงและควำมอยูต่ วั ให้ แท่งลิปสติก
ขณะเดียวกันก็ควบคุมคุณสมบัติกำรไหลและควำมสวยงำมเมื่อได้ ใช้
ลิปสติกบนริมฝี ปำก ถือว่ำ solidifying agent เป็ นส่วนประกอบ
ที่ทำให้ ลปิ สติกต่ำงจำกเครื่ องสำอำงที่ให้ สีประเภทอื่น สำมำรถแบ่ง
solidifying agent ได้ เป็ นสองประเภทหลักคือ ไขมันและแวกซ์
Waxes
• จุดเด่นของลิปสติกปั จจุบนั คือแวกซ์ซงึ่ ให้ สมดุลของควำมคงตัวและควำม
คงทน และให้ สมดุลควำมลื่นเนียนเมื่อทำบนริมฝี ปำก แต่ไม่มีสำรใดที่จะ
ให้ คณ
ุ สมบัติที่เหมำะสมเช่นนันได้
้ เพียงสำรเดียว ดังนันส่
้ วนประกอบ
แวกซ์คือกำรผสมกลมกลืนแวกซ์ที่มีจดุ หลอมสูงต่ำต่ำงกันเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภำพกำรไหล ควำมสวยงำม และผลสีที่ได้ แวกซ์สำมำรถแบ่ง
ตำมแหล่งกำเนิดได้ เป็ นแวกซ์จำกสัตว์ พืช แร่ธำตุ หรื อกำรสังเครำะห์
ในทำงเคมี แวกซ์ก็คือส่วนผสมที่ไม่มีกลีเซอรอลของ esters กรดและ
แอลกอฮอล์ที่แข็งตัวเมื่ออยูใ่ นหรื อใกล้ เคียงอุณหภูมิห้อง
แวกซ์ จำกสัตว์
• แวกซ์จำกสัตว์ที่นิยมมำกในลิปสติกคือ ลำโนลิน ซึง่ ได้ มำจำกกำร alkaline
washing ขนแกะ ลำโนลินเป็ นส่วนประกอบของ alcohol esters C18 –
C26 กรดไขมัน คลอเรสเตอรอลและเทอร์ พีนอล ขณะที่ลำโนลินและสำรสกัด
acetylated ใช้ ในลิปสติกเป็ นอย่ำงมำกเพื่อประโยชน์ในกำรให้ ควำมชุ่มชื ้น แต่
โอกำสกำรเกิดอำกำรแพ้ เช่น อำกำรบวมและคัน ก็เป็ นข้ อจำกัดที่ทำให้ ไม่เป็ นที่นิยมใน
ระยะหลัง
• ขี ้ผึ ้งจำกผึ ้ง สกัดจำกรวงผึ ้ง มีให้ เลือกทังแบบสี
้
เหลืองและขำวบริ สทุ ธิ์ ขี ้ผึ ้งป็ นสำรช่วยให้
แข็งตัวสำหรับลิปสติกที่ใช้ เบส castor oil มำนำน ปั จจุบนั นี ้ก็ยงั คงใช้ อยูใ่ นระดับต่ำ
(ca. 5%) ร่วมกับแวกซ์ชนิดอื่นเพื่อเพิ่มควำมสำมำรถกำรคืนตัวและประสิทธิภำพกำร
แกะออกจำกแม่พิมพ์และกำรหดตัวของลิปสติก หำกใช้ ในปริมำณมำก ลิปสติกจะไม่คอ่ ย
น่ำใช้ เนื ้อสัมผัสขำดควำมมันวำว
แวกซ์ จำกพืช
• Carnauba (Copernicia prunifera) และ
candelilia (Euphorbiaceae cerifera) waxes
คือแวกซ์จำกพืชแบบแข็งสกัดจำกพืชในแถบทวีปอเมริกำกลำงและ
อเมริกำใต้ ทังสองมี
้
สว่ นประกอบหลักจำก esters และมักใช้ เพียง
เล็กน้ อยเพื่อให้ มีควำมอยูต่ วั และมันวำวกับเบสแวกซ์ และเนื่องจำก
candelilia wax (mp 68.5 – 72.5 องศำเซลเซียส) มีจดุ
หลอมเหลวที่ต่ำกว่ำ carnauba wax (mp Ca. 83 องศำ
เซลเซียส) จึงต้ องใช้ ทงสองชนิ
ั้
ดผสมกันเพื่อเพิ่มควำมวำวและควำม
แข็งตัวโดยที่สำมำรถลดอำกำรเปรำะหักได้ ง่ำยของผลิตภัณฑ์ให้ ลดลง
ด้ วย
แวกซ์ จำกแร่ ธำตุ
• Ozokerite และ ceresin เป็ น
microcrystalline แวกซ์ที่เกิดตำมกระบวนกำรทำง
ธรรมชำติจำกกำรสกัดปิ โตรเลียม ใช้ เพื่อเสริ มครงสร้ ำงลิปสติก
ให้ คงตัวและช่วยลด syneresis โดยเฉพำะในสภำพอำกำศ
ร้ อน ขณะที่ไฮโดรคำร์ บอนแวกซ์ชนิดอื่น เช่น พำรำฟิ น มักใช้ น้อย
กว่ำเนื่องจำกคุณสมบัติที่เปรำะหักได้ งำ่ ยและไม่เข้ ำกับ
castor oil
แวกซ์ สังเครำะห์
• โพลีเอธีลีนแวกซ์ เช่น เพอร์ ฟอร์ มำลีน (New Phase
Technologies) และ ซิลเทค (Petrolite
Corporation) อำจนำมำใช้ ในลิปสติกเพื่อเพิ่มควำมคงทนต่อ
อุณหภูมิสงู ทำให้ ลปิ สติกไม่มีขวตรงข้
ั้
ำมมำกพอที่จะละลำยพลำสติก
ทังยั
้ งต้ องแน่ใจได้ วำ่ อุณหภูมิที่สงู มำก (มำกกว่ำ 90 องศำเซลเซียส)
ซึง่ ใช้ เพื่อละลำยสำรดังกล่ำวจะไม่ทำให้ คณ
ุ ภำพของสำรอื่นในลิปสติก
ลดลงเกินควร
นวัตกรรมใหม่ ๆ
• นวัตกรรมใหม่ๆ ทำงเคมีของซิลโิ คนและฟลูออรี นได้ ช่วยให้ เกิดแวกซ์
organosilicone และ organofluoro รุ่นใหม่ๆ ที่มีคณ
ุ สมบัติทำงเคมี
กำยภำพที่โดดเด่นและแปลกใหม่ ตัวอย่ำงเช่น Siliconyl Beewaxes,
Siliconyl Candelilla และ Siliconyl Synthetic Paraffin
Wax (Koster Keunen, Inc.) ล้ วนเป็ นซิลโิ คนเอสเตอร์ ที่ให้ ผลลัพธ์
และควำมลื่นเพิ่มขึ ้นโดยที่ช่วยจับคูซ่ ิลิโคนออยล์ในเบสแวกซ์โดยไม่ blooming
a Alkyl methyl siloxanes waxes เช่น AMS C-Wax ของ
Dow Corning และ alkyl dimethicone waxes เช่น
SF1642 Wax ของ GE เป็ น alkyl silicone ลูกผสมที่มีจดุ หลอม
สูงที่เข้ ำได้ ดีกบั แวกซ์และน ้ำมันจำกธรรมชำติที่พบได้ ในลิปสติก ฟลูออโรแวกซ์
สังเครำะห์ เช่น fluoro hexacosonate (Koster Keunen,
Inc.) อำจช่วยให้ ติดทนนำนและกันน ้ำดีขึ ้นขณะที่ลดควำมตึงผิวและลำกบนริม
ฝี ปำก
•
Waxes
• Waxes form the structure of the stick. The
wax mixture has a fusion of around 80⁰C.
Important to only use food grade waxes
• Waxes form a film on the lips
• หน้ ำที่ของ waxes คือ ให้ โครงสร้ ำงที่แข็งและเหนียวแม้ ว่ำจะอยูใ่ น
อำกำศที่อนุ่
• Waxes ส่วนใหญ่จะแตกต่ำงกันที่คณ
ุ สมบัติในกำรใช้
• จะรักษำควำมเหนียวไว้ ที่อณ
ุ หภูมิต่ำกว่ำ 50 C จึงจะหลอมเป็ น oil
จึงไม่เกิดเป็ นเหงื่อ ให้ ควำมลื่น ใช้ ง่ำย
Waxes
1. Carnauba wax : เป็ น natural waxes ที่แข็งที่สดุ และมี
melthing point สูง (85 ๐C) ใช้ 1-20 % กำรใช้ % น้ อยๆ จะช่วย
เพิ่มควำมนุ่มและควำมเหนียวของลิปสติก
2. Candelilla wax : มี mething point ต่ำกว่ำ carnauba
wax , mp 65-69 C ใช้ 5-10%
3. Beeswax : เป็ นตัวช่วยทำให้ ลิปสติกแข็งและลื่น กระจำยตัวดีขณะทำ แต่ถ้ำ
ใช้ beeswax เพียงตัวเดียว จะทำให้ ลิปสติกขำดควำมเงำและทำให้ เกิดกำร
ลำกเป็ นรอยเมื่อทำ mp 62-64 C ใช้ 3-10%
4. Ozokerites or Amorphous hydrocarbon waxes :มี
mething point เป็ นช่วงกว้ ำง ให้ ลกั ษณะของเนื ้อแตกต่ำงกันหลำยแบบ
แต่จะให้ ควำมนุ่มมำกที่สดุ เมื่อใช้ ร่วมกับ mineral oil ใช้ 3-10%
Waxes
5. Paraffins wax : อ่อนและเปรำะแตกง่ำย ดังนันจึ
้ งใช้ สดั ส่วนที่น้อยเพื่อให้
ลิปสติกเงำวำวขึ ้น mp 50-60 C
6. Synthetic waxes : มีหลำยชนิดให้ เลือกใช้ โดยเลือกใช้ ตำมคุณสมบัติที่พอใจ
เอำเอง
7. Hydrogenated castor oil (castor wax) : เป็ น waxes ที่
เปรำะ ช่วยเรื่ องของควำมเงำ ไม่ค่อยช่วยเรื่ องควำมแข็ง
8. Spermaciti (Cetyl paimitate & Cetyl myristate): เป็ น
waxes ที่อ่อน ร่วน ลื่น จะใช้ ในสักส่วนทีน่ ้ อยเพื่อเพิ่มคุณสมบัติ Thixothopic
(ต้ องกำรแรงเพื่อให้ เกิดกำรไหล)ให้ สงู ขึ ้น ได้ จำกไขปลำวำฬ
*** Thixothopic คือลักษณะของเนื ้อทีเ่ มื่อไม่มีแรง cheer จะข้ น เมื่อมีแรง
cheer จะเหลวลง และเมื่อลดแรง cheer จะค่อยๆ กลับมำข้ นขึ ้นอีก
Waxes
9. Petrolatum – Based waxes :Microcrystalline wax ช่วยปรับ
ควำมข้ นและกำรไหล
10. Fatty Alcohols :
Cetyl alcohol/Sterryl alcohol mp 45-50 C/43 C ช่วยเรื่ องกำรไหล ใช้
2-3 %
11. Ceresin wax : MP 60-75 C บำงครัง้ อำจใช้ แทน Beeswax เพรำะบำง
คนอำจแพ้ Beeswax เนื่องจำกได้ มำจำกผึ ้ง
12. Silicone waxes: Organosilicone block polymers,
hydrocarbon silicone copolymers, silphenylene copolymers
viscosity modifier ช่วยปรับ viscosity, feeling เกิด soft touch,
water resistant, long lasting lipstick
Oils
• น ้ำมันที่สำคัญในกำรผลิตลิปสติกทุกวันนี ้คือ น ้ำมันจำกพืช แร่ธำตุและ
จำกกำรสังเครำะห์
• มีหน้ ำที่กระจำยสีและ fillers ทำให้ สว่ นผสมขององค์ประกอบ
polar and non-polar ในลิปสติกอยูต่ วั ไม่แยกตัว
• นอกจำกนี ้ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภำพกำรไหลลื่นของแวกซ์และให้ ควำมนุม
่
และ emolliency กับริมฝี ปำกด้ วย
Oils
• ไขมันเป็ น triesters แบบแข็งของกลีเซอรี นและกรดไขมัน C8 – C18 เป็ น
ส่วนมำก ลิปสติกในยุคแรกผลิตจำกไขมันหมู ไขสัตว์เพื่อขึ ้นรูปลิปสติก แต่กรดส่วน
หนึง่ ในไขเหล่ำนี ้มักทำปฏิกิริยำกับออกซิเจนและทำให้ หืนได้ เร็ว ดังนันไขมั
้ นพืชจึง
ถูกนำมำใช้ แทนไขสัตว์ เช่น ไขโกโก้ และไขพืชแข็ง เช่น hydrogenate
castor ไขมันมะพร้ ำวและไขมันปำล์ม ที่ผ่ำนมำนี ้ไตรกลีเซอไรด์สงั เครำะห์ที่มี
กลิ่นและรสดีมำกกว่ำชนิดธรรมชำติ เช่น glyceryl tristearate,
glyceryl tripalmitate และ glyceryl triacetyl
hydroxystearate ได้ รับกำรพัฒนำขึ ้น ไขมันเป็ น stain
solubilizers และต้ องใช้ ในระดับต่ำกว่ำร้ อยละ 15 เพื่อทำให้ เป็ นพลำสติก
และทำให้ เบสลิปสติกอ่อนนุ่มขึ ้น
นำ้ มันจำกพืช
• น ้ำมันจำกพืชที่ถือว่ำสำคัญที่สดุ ในกำรผลิตลิปสติกในปั จจุบนั นี ้คือ
armamentarium castor oil น ้ำมันนี ้หรื อเรี ยกอีกชื่อว่ำ ricinus
oil คือสำรสกัดที่ระเหยได้ ช้ำจำกเมล็ด castor beans, ricinus
communis และประกอบด้ วย glyceryl ricinoleate เกือบทังหมด
้
ควำมนิยมในกำรใช้ castor oil ในลิปสติกเกิดจำกควำมทนต่อกำรหืน พร้ อม
ทังมี
้ ควำมหนืดมำกสำมำรถทนต่ออุณหภูมิได้ หลำกหลำยซึง่ ทำให้ น ้ำมันนี ้เป็ นตัว
กระจำยสีที่ดี เมื่อใช้ ในปริมำณควำมเข้ มข้ นที่พอเหมำะจะให้ รสชำติที่ดีได้ และให้
ควำมมันเงำต่อริมฝี ปำกด้ วย
• น ้ำมันพืชชนิดอื่น เช่น น ้ำมันมะพร้ ำว น ้ำมันปำล์ม ไม่นิยมนำมำผสมลิปสติกมำก
นักเนื่องจำกมีควำมคงตัวต่ำและละลำยสีได้ ไม่ดี
นำ้ มันจำกแร่ ธำตุ
• ในกำรผสมลิปสติกมักจะใช้ น ้ำมันจำกแร่ธำตุเพียงเล็กน้ อยเท่ำนันเพื
้ ่อ
เพิ่มควำมวำวให้ แท่งลิปและสีสนั บนริมฝี ปำก เนื่องจำกน ้ำมันชนิดนี ้มี
คุณสมบัติ oxidative stability ที่ดีมำก ด้ วยเหตุนี ้จึงมีข้อจำกัด
ในกำรเข้ ำกันกับสำรอื่นในลิปสติกที่น้อยตำมไปด้ วย
นำ้ มันสังเครำะห์
• น ้ำมันที่จดั อยูใ่ นประเภทนี ้ได้ แก่ กลุม
่ แอลกอฮอล์ เช่น isocetyl และ
isostearyl alcohol และกลุม่ eaters เช่น
capric/caprylic triglyceride และ octyl
hydroxystearate กำรเปิ ดตัวใช้ silicone fluids ในกำร
ผลิตเครื่ องสำอำง เช่น dimethicone, organosilicone
oils เช่น phenyl trimethicone และ
perfluoropolyethers เช่น Fomblin (Ausimont
Montedison) ได้ เปิ ดแง่มมุ ใหม่ๆ ต่อวิธีกำรผสมสูตรลิปสติกที่ให้
ลิปสติกอยูต่ วั ได้ ดีพร้ อมทังมี
้ สีสนั สวยงำมน่ำใช้
Oils
• Oils are used to wet the pigments and
give slip to the stick
• Usually Castor Oil is used
• Silicone may be added for smother slip
Oils :Vegetable oils
• ในยุคแรกๆ จะใช้ นำ้ มันมะกอก นำ้ มันงำ
• มีกลิ่นหืนและเป็ นตัวทำละลำยที่ไม่ ดี
• ปั จจุบันใช้ น้อย
Oils :Mineral oils
• มีกำรใช้ มำกอยู่ช่วงหนึ่ง เพรำะไม่ เหม็นหืน
• เป็ นตัวทำละลำยสีท่ แ
ี ย่ ท่ สี ุด
• เมื่อทำบนริ มฝี ปำก สีจะหลุดง่ ำย
• ใช้ ปริ มำณน้ อยในสูตรเพื่อเสริ มควำมมันของแท่ ง
Oils : Castor Oil
• เป็ น vegetable oil ที่มี viscosity สูงที่สดุ
• เป็ นตัวทำละลำยใน bromo acid ที่ดี
• เป็ น oil ที่ถกู ใช้ มำกที่สดุ ตัวหนึง่
• เป็ นส่วนประกอบที่สำคัญในกำรทำลิปสติกในปั จจุบนั
• ด้ วยค่ำ viscosity ที่สงู สำมำรถยึดเหนี่ยวไม่ให้ สีลอกหรื อหลุดออกง่ำย
• ข้ อเสีย คือ ควำมเหนียวจำก viscosity ที่สงู ทำให้ กำรผสมเข้ ำกับ
dry pigment ยำก
• ทำให้ เกิดควำมรู้สกึ และเสียดสีเวลำทำ
กำรพัฒนำ Castor Oil เพื่อใช้ ในลิปสติก
• เป็ นตัวทำละลำยที่ดี
• Viscosity ต่ำกว่ำเดิม หรื อมี viscosity ที่ต่ำใน
อุณหภูมิที่ใช้ งำน
• กลิ่นอ่อนลงและมี stability ที่ดีขึ ้น
• ใช้ งำนได้ ดียิ่งขึ ้น
Oils : Wheat Germ Oil
• มีกำรนำมำใช้ ในลิปสติก
• ต้ องป้องกันกำรหืน เพรำะมีสว่ นประกอบของ
Polyunsaturates สูง
Oils : Solvent Oil
• ช่วงหนึง่ เคยนิยมใช้ มำก เพื่อให้ สี Bromo acid และ
Halogenated fluorescein ติดทนบนริมฝี ปำก
• นิยมใช้ ใน “ High-stain lipstick”
• ใช้ กบ
ั สีน ้ำเงินอ่อนอมแดง
• *** ผู้หญิงมักเติมลิปสติกบ่อยๆ ระหว่ำงวัน เมื่อลิปสติกหลุดออกจะ
เหลือแต่ครำบสีน ้ำเงินอมแดงทำริมฝี ปำกดูดำคล ้ำ
• Solvent oil เมื่อผสมกับ Bromo acid ใช้ ปริ มำณสูงๆ จะ
ทำให้ สีติดทน แต่กลิน่ จะแรงต้ องแต่งกลิน่ ด้ วยน ้ำหอมเพื่อกลบกลิน่
• อำจเกิดกำรแพ้ ได้
Esters : Butyl Stearate
• ใช้ มำกเป็ นส่วนผสมในลิปสติก
• เป็ นตัวทำละลำย bromo acid ที่ดี แต่น้อยกว่ำ castor oil
• Butyl Stearate ทำให้ bromo acid และ pigment
เปี ยกได้ รวดเร็วกว่ำ castor oil
• ช่วยกำรกระจำยตัวของสี
• ช่วยลดควำมข้ นของ phase oil ลดควำมเหนียวเวลำลำกลิปสติกบน
ริมฝี ปำก
• Butyl Stearate เกรดบริ สทุ ธิ์ จะไม่มีกลิน
่ และไม่ทำให้ เกิดกลิ่นหืน
Esters : IPM, IPP
• Isopropyl myristate (IPM) และ Isopropyl
palmitate(IPP)
• มีกำรใช้ กนั อย่ำงแพร่ หลำย
• มีคณ
ุ สมบัติคล้ ำยกับ butyl stearate
• ใช้ ปริ มำณน้ อยในสูตร ทนอุณหภูมิสงู
• มีแนวโน้ มกำรเกิดเหงื่อ (sweat) น้ อยกว่ำ butyl
staerate
Esters : Diethyul sebacate และ
Diisopropyl adipate
• ใช้ ทวั่ ไปในลิปสติก
• มีคณ
ุ สมบัติคล้ ำยกับ butyl staerate
Ester : ตัวอื่นๆ
Oleyl alcohol :
• ใช้ ในสัดส่วนที่สงู ในลิปสติก ทำให้ มีคณ
ุ สมบัติดีขึ ้น
A Hexadecyl alcohol : (เป็ นส่วนผสมของ
branches chain C16 alcohols)
• เป็ น branched structure ทำให้ กำรสูญเสียควำมชุ่ม
ชื่นจำกผิวน้ อยกว่ำ straight chain oils
ตำรำงศึกษำกำรใช้ solvent เป็ นตัวทำละลำย bromo acid
Solvent
Butyl stearate
Castor oil
Oleyl alcohol
Dietyl sebacate
Diisopropyl adipate
Etyl acetyl ricinoleate
Propylene glycol
Polyethylene glycol 1500
Bromo
acid
dissolved
(%)
0.6
0.5-1.0
1.0
1.3
1.3
1.4
1.6
4.0
Solvent
Hexylene glycol
Benzyl alcohol
Phenyethyl alcohol
Polyethylene glycol 400
Polyethylene glycol 4000
Tetrahydrofurfuryl
alcohol
Butylene glycol
Carbitol
Bromo
acid
dissolved
(%)
5.0
6.0
8.0
10.0
12.0
18.0
18.0
20.0
ข้ อจำกัดของกำรเลือกใช้ Solvent
1. Carbitol : ให้ ใช้ สงู สุด 5 % ในเครื่ องสำอำง เพรำะมีควำมเป็ นพิษหำกใช้ ปริ มำณสูง และมีรสขม
2. Butylene glycol and Hexylene glycol : รสไม่เป็ นที่ยอมรับ
3. Polyethylene glycol : สำมำรถดูดน ้ำไว้ ที่ตวั จึงเป็ นกำรเพิ่มเหงื่อในลิปสติก หำกใช้
4.
5.
6.
7.
ปริ มำณสูง
Tetrahydrofurfuryl alcohol and acetate : กลิ่นไม่เป็ นที่ยอมรับ ระเหยง่ำย
Benzyl alcohol : กลิ่นใช้ ได้ ซึง่ มีผลอย่ำงมำกเมื่อใช้ บนริ มฝี ปำก
Phenylethyl alcohol : จะมีกลิ่น rose wsater ค่อนข้ ำงแรง ต้ องใช้ ร่วมกับ oil ตัว
อื่น
Propylene glycol : ค่ำกำรละลำย bromo acid ไม่สงู แต่นิยมใช้ ในสูตรที่ต้องกำรให้
ลิปสติกติดทนบนริ มฝี ปำก มีรสหวำนมีควำมเป็ นพิษต่ำ แต่สำมำรถดูดน ้ำไว้ กบั ตัว ถ้ ำจะนำมำผสมกับ
oil หรื อ waxs จะต้ องมี solvent ตัวอื่นช่วย เช่น Oleyl alcohol และ Propylene
glycol monoester จึงจะสำมำรถทำให้ Propylene glycol เข้ ำกับสำรอื่นได้
Fatty Materials
• ปั จจุบนั ใช้ น้อยในลิปสติกยุคใหม่ๆ
1. Cocoa butter : เคยเป็ นสำรในอุดมคติของกำรทำลิปสติก เพรำะมีจดุ
หลอมเหลวที่อณ
ุ หภูมิใกล้ เคียงกับอุณหภูมิของร่ำงกำย mp < 37 C และใช้
ง่ำย แต่พบว่ำมันทำให้ เกิดกำร Bloom หรื อกำรทำให้ ผิวของลิปสติกไม่เรี ยบ
จึงไม่คอ่ ยนำมำใช้ แล้ วในปั จจุบนั
2. Hydrogenated vegetable oils : ที่ใช้ ในอำหำร มีควำมคงตัวต่อ
ปฏิกิริยำ oxidation และให้ เนื ้อที่ดี
3. Petrolatum : มีควำมคงตัวสูง ให้ ควำมมันวำว แต่ใช้ ในปริ มำณน้ อยใน
สูตร
4. Lanolin : มีคณ
ุ สมบัติที่ดี นิยมใช้ ช่วยกำรกระจำยตัวของสี ใช้ ในสัดส่วนที่สงู
ในสูตร 5-7% ช่วยให้ ควำมเงำและควำมชุ่มชื ้นกับริมฝี ปำก มีกำรพัฒนำเพื่อ
ช่วยให้ กลิ่นไม่เปลี่ยนแปลง
Fatty Materials
5. Modified Lanolin : เป็ นส่วนหนึง่ ของ lanolin เช่น lanolin oil
, lanolin wax ใช้ เป็ นส่วนประกอบหนึง่ ของสูตร
6. Glyceryl monostearate (non-emulsifying) : ช่วยให้
เนื ้อร่วมกับสำรอื่นๆ ในสูตร เป็ นตัวทำละลำยที่ดี
7. Acetoglycerides : ให้ เนื ้อที่มีควำมแตกต่ำงจำกไขมันตัวอื่นๆ
8. Lecithin : ใช้ ในสัดส่วนน้ อยๆ เพื่อปรับควำมเรี ยบผิวของลิปสติก ให้ ควำม
ชุ่มชื ้น ใช้ ง่ำย
9. Branched-chain hydrocarbons, alcohols, esters :
ใช้ ในลิปสติกและสำหรับกำรเตรี ยม make-up ตัวอื่นๆ เพรำะจะจับตัวบนผิว
น้ อย ยอมให้ น ้ำผ่ำนอกจำกผิวมำกกว่ำไขมันพวก straight-chain
Pigments
• From the list of approved pigments for
mucosis
• Either mineral or lacquers of organic
pigments
• Mica or pearlized pigments
• Mixed in the oil, they are grounded through
a mill to a fine texture
Certified color
• Color Index Number (CI.No.)
1. FD&C
2. D&C
3. External D&C
Lipstick
1, 2 only
Colorants
• สำระสำคัญของลิปสติกคือสี เฉดสีที่ระบำยบนริ มฝี ปำก ระดับของเนื ้อ
ลิปสติกที่จะปกปิ ด และสัมผัสของเนื ้อลิปสติกล้ วนแต่เป็ นหน้ ำที่ที่
เกี่ยวพันกันในกำรผสม colorants ที่จะใช้ ตำมที่ได้ กล่ำวมำแล้ วว่ำ
stains หรื อ “bromo acids” เป็ นส่วนสำคัญของลิปสติก
ในช่วงเกินกว่ำครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 แต่ได้ รับควำมนิยมน้ อยลง
ในช่วงที่ผำ่ นมำ รำยงำนเรื่ อง photosensitizationinduced cheilitis (ริมฝี ปำกอักเสบ)
Pearlescent Pigments
• ประกำยและควำมสวยงำมของลิปสติกสมัยใหม่ต้องถือว่ำมำจำก
pearlescent pigments หรื อไข่มกุ นัน่ เอง เม็ดสีจะถูกสร้ ำงขึ ้น
ระหว่ำงรอยแยกของตัวสำรไข่มกุ ตำมกฎฟิ สิกส์เรื่ องกำรสะท้ อนและหักเห
ของแสงมำกกว่ำกำรดูดซับแสง เมื่อแสงส่องผ่ำนทะลุชนเลเยอร์
ั้
โปร่งใสแต่
ละชันก็
้ จะเกิดกำรสะท้ อนแสงขึ ้นด้ วยแสงจำนวนหนึง่ ที่สง่ ผ่ำนลึกเข้ ำไปใต้
ชันแมทริ
้
กซ์ กำรสะท้ อนแสงจำก”กระจก”เล็กๆ มำกมำยเหล่ำนี ้สะสมกัน
มำกขึ ้นจนเกิดเป็ นปรำกฏกำรณ์ pearlescent
• สำรอินทรี ย์ทวั่ ไปที่มีอยูใ่ นไข่มกุ คือ guanine ซึง่ ก็คือเบส purine ที่
ให้ แสงสะท้ อนกับเกล็ดปลำและสัมผัสมันเงำของผิวหนังสัตว์ครึ่ งบกครึ่งน ้ำ
และสัตว์เลื ้อยคลำน ปกติแล้ วผลกระทบทำงกำรค้ ำลิปสติกของ
guanine ถูกจำกัดด้ วยต้ นกำเนิดทำงธรรมชำติ ในทุกวันนี ้จึงมีสำร
สังเครำะห์ที่เข้ ำมำทดแทนนัน่ คือ pearl bismuth
oxychloride
สีจำกธรรมชำติ
• สีจำกธรรมชำติ เช่น คำร์ มีน และสำรอนินทรี ย์ เช่น iron oxides
ถูกนำมำใช้ ผสมใน pearl laminate เพื่อให้ ควำมเกิดสีที่ดชู ่มุ ฉ่ำ
มำกกว่ำที่จะได้ จำกกำรผสมไข่มกุ กับ colorants ในลิปสติกเท่ำนัน้
ตัวอย่ำงของ pigmented pearls ดังกล่ำว ได้ แก่ Cellini
pigments จำกบริษัท Englehard Corp. และบริษัท
Colorona pigments จำก EMI Industries, Inc.
• ระดับและคุณลักษณะที่สำมำรถมองเห็นได้ ด้วยตำของ
pearlescent pigments ที่ใช้ จะกำหนดผลในกำรมองเห็นสี
บนแท่งลิปสติกและสีเมื่อใช้ บนผิวหนังแล้ ว เมื่อใช้ ควำมเข้ มข้ นต่ำ (ca.
ต่ำกว่ำ 2%) จะให้ ควำมเงำวำวและและควำมมีชีวิตชีวำให้ กบั กำร
กระจำยสีที่มีเบสออกไซด์ ขณะที่ควำมเข้ มข้ นสูงจะแสดงผลกำร
เปลี่ยนแปลงของสีที่โดดเด่นให้ กบั แท่งลิปสติก และ/หรื อเพิ่ม
ประสิทธิภำพกำรจัดรูปทรงให้ กบั ลิปสติกที่จดั รูปทรงยำกไม่เช่นนันก็
้ จะ
เปลี่ยนลักษณะภำยนอกของลิปสติก
Filler
• Colorants ของลิปสติก ได้ แก่ lakes, metal oxide, pearls
ต่ำงมี concomitant ability ที่จะเปลี่ยนกำรผสมผสำนทำงโครงสร้ ำงของ
แท่งลิปสติก ในขณะเดียวกัน colorants แต่ละชนิดก็มีควำมสำมำรถในกำร
ดูดซับน ้ำมันจำกเบสลิปสติกและ/หรื อจำกพื ้นผิวของริมฝี ปำกที่ต่ำงกัน เนื่องจำก
ควำมเข้ มข้ นทังหมดของพิ
้
กเมนท์สำมำรถแปรเปลี่ยนไปได้ มำกในชุดลิปสติกที่มีเฉด
สีเดียวกัน ดังนันจึ
้ งจำเป็ นต้ องมีกลไก counterbalancing เพื่อให้ แน่ใจได้
ว่ำโครงสร้ ำงของลิปสติกและสัมผัสจะคงที่ โดยกำรใช้ fillers ที่ไม่มีปฏิกิริยำและ
ไร้ สี ปกติแล้ วจะใช้ ฟิลเลอร์ ในระดับต่ำ (1-2 %) จนถึงระดับพอประมำณ (1012 %) ฟิ ลเลอร์ อำจมีรูปร่ำงคล้ ำย plate เช่น ไมก้ ำ ทอล์ก หรื อเซเรไซท์ หรื อ
อำจมีทรงกลมเช่นเดียวกับ ซิลิก้ำ ไนลอน หรื อ polymethyl
methacrylate (PMMA) หรื อไม่มีรูปร่ำงที่แน่นอนเช่นเดียวกับอะลูมินำ
หรื อแบเรี ยมซัลเฟต
Additive
1. สำรกันแดดจำกสำรอินทรี ย์ เช่น methyl p-methoxycinnarnate และ
2.
3.
4.
5.
ตระกูล benzophenone ของตัวดูดซึมรังสีอลุ ตร้ ำไวโอเล็ต
สำรกันแดดจำกสำรอนินทรี ย์ เช่น non-pigmentary, micronized
titanium dioxide และ zinc oxide
สำร antioxidants เช่น BHT และ alpha-tocopherol and its
esters
สำรกันบูด เช่น methyl and/or propyl phydroxybenzoate
Chelating agents เช่น EDTA and its alaki and alaki
earth metal salts
Additive
6. รสและน ้ำหอม (Flavor and Perfume)
7. อำจมีสำรเพิ่มเติมที่มีคณ
ุ สมบัติ physicochemical เฉพำะ
เช่น polymeric film formers และสำรที่มีผลทำง
กำรแพทย์ตอ่ ผิวหนัง เช่น มอยส์เจอร์ ไรเซอร์ รวมอยูด่ ้ วยเพื่อ
comfort ประสิทธิภำพและอำยุกำรใช้ งำนตำมที่กล่ำวอ้ ำงไว้ ต้ อง
ศึกษำระเบียบข้ อบังคับเฉพำะและข้ อเขียนเรื่ องควำมปลอดภัยที่
เกี่ยวข้ องกับสำรปรุงแต่งแต่ละชนิดเนื่องจำกเกี่ยวข้ องกับกำรใช้ สำร
เหล่ำนันบนริ
้ มฝี ปำก
Preservatives
• While the lipstick is anhydrous,
molds may grow on the surface:
need to preserve. Usually with
parabens
• Propylparaben 0.1%
Fragrance
• Must comply with IFRA guidelines for
mucosis
• Used 2-4 %
• Avoid to use methyl heptine
carbonate, benzylidene acetone (can
cause allergy) and bergamot
(photosensitizing), geranium, patchouli
and petigrain oil
Suggested Perfume
• Rose alcohol and ester
• Aniseed
• Cinnamon
กลิ่นที่ต้องระวังเรื่องกำรแพ้
• Lemon, Orange, Tangerine, Ylang Ylang, Clove,
Geranium, Sandawood can cause allergy
(ไม่เกิดกับทุกคน)
• ถ้ ำต้ องกำร claim hyproallergynic ต้ องหลีกเลี่ยงกำรใช้ perfume
กลุม่ นี ้
Note
1. สำรกันแดดที่เติมลงในลิปสติกต้ องเป็ น oil suluble เพื่อไม่ให้ เกิด
sweating และยังมีควำมคงตัวที่ดี)
2. กลุม
่ Lanolin จะดูดน ้ำเอำไว้ ทำให้ ไม่เกิดปั ญหำ sweating
3. กำรเลือกสำร ต้ องดูคณ
ุ สมบัติวำ่ อำจทำให้ เกิด sweating หรื อไม่
หรื อสำรตัวใดช่วยแก้ ไขปั ญหำ sweating ได้
4. กำรเลือกใช้ กลิน่ ต้ องกลบกลิน่ oil ได้ และผ่ำนกำรทดสอบ Oral
toxicity
ลักษณะของลิปสติกที่ดี
1. Vigorous and smearpoof coloring effect
2. Shiny but not greasy
3. Nonsweating and nonblooming
4. Good thixotropic so as to deposit color with minimum
5.
6.
7.
8.
pressure
Retention of form and consistency up to 55 ๐, and
usability at low temperatures without crumbling or
embrittlement
Stable to moisture, light, and oxidation
Nonirritant and nontoxic
Neutral in odor and taste
กระบวนกำรผลิตและกำรบรรจุ
กระบวนกำรผลิตลิปสติกนันแปรเปลี
้
่ยนไปบ้ ำงตำมประเภทของสูตรผสม
ขันตอนที
้
่เกี่ยวข้ องได้ แก่ กำรผสมเปี ยก กำรบดเปี ยก กำรตี กำรทำให้ เย็น
กำรหล่อ กำรผ่ำนเปลวไฟ (Flame )และบำงครัง้ ก็มี กำรเอำ
ฟองอำกำศออก (deaeration)
สำมำรถแบ่งกระบวนกำรผลิตออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี ้
1. กำรเตรี ยมสี
2. กำรผลิตเนื ้อสำร
3. กำรหล่อและบรรจุ
กำรเตรี ยมสี
• ไม่นำผงสีแบบแห้ งมำผสมลงในลิปสติกเนื่องจำกเป็ นกำรยำกที่สีจะกระจำยตัวอย่ำง
เป็ นระเบียบ
• ในขันตอนแรกสี
้
จะถูกนำมำบดในส่วนผสมที่มี castor oil เป็ นต้ น ปกติแล้ วสีจะ
ถูกกวนให้ เปี ยกมำก่อนโดยมีน ้ำหนักของน ้ำมันจะเป็ นสองเท่ำของปริมำณสี ส่วนผสม
จึงเข้ ำกัน
• จะต้ องนำสีไปกวนใน castor oil และทิ ้งให้ อยูต่ วั เป็ นเวลำหลำยชัว่ โมง
• จำกนันส่
้ วนผสมทังหมดจะถู
้
กส่งผ่ำน a triple roller mill, colloid mill,
ball mill, bead mill หรื อ sand mill เพื่อบดสีให้ เป็ นเนื ้อเดียวกับ
castor oil ขันตอนนี
้
้จะถูกทำซ ้ำไปมำจนสีกระจำยตัวทัว่ ถึงเท่ำกันและเกิดเป็ นสีที่
สมบูรณ์
• อำจตรวจสอบกำรกระจำยสีหลังจำกแต่ละสีผำ่ น Hegman gauge
กำรเตรี ยมสี
• กำรเตรี ยมสีอีกวิธีหนึง่ คือกำรเตียมสีให้ เปี ยกในอัตรำส่วนของสีกบ
ั
castor oil เท่ำกับ 1 ต่อ 3 ในถังผสมและใช้ เครื่ องผสม high
shear อีกครัง้ จำกนันจะต้
้ องตรวจกำรจับตัวเป็ นก้ อนของสีด้วย
Herman gauge อย่ำงไรก็ตำมต้ องระวังกำรใช้ เครื่ องผสม
high shear ไม่ให้ มีฟองอำกำศมำกเกิน
• สำหรับส่วนผสมที่ไม่มี castor oil สำมำรถกระจำยสีได้ ด้วยกำรบด
กับสำรน ้ำมันชนิดอื่นเช่นเดียวกัน วิธีกำรบดสีด้วย triple roller
mill หรื อ bead mill เพรำะเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ ง่ำยและให้ ผลลัพธ์
ของสีอินทรี ย์ที่สมบูรณ์
a triple roller mill
Production Scale
Lab Scale
colloid mill
ball mill
bead mill
Bead Mills reduce particles to submicron sizes.
Zirconia beads
Hegman gauge
กำรผลิตเนือ้ สำร (Processing)
1. ผสมส่วนแวกซ์เบสด้ วยกำรผสมแวกซ์และน ้ำมันหลำยชนิด รวมถึง สำรกันบูดและ
2.
3.
4.
5.
6.
7.
antioxidants ด้ วยกำรให้ ควำมร้ อน
ผสมในภำชนะเคลือบสแตนเลสจนใสและเป็ นเนื ้อเดียวกัน จะต้ องให้ ควำมร้ อนแวกซ์ใน
อุณหภูมิที่สงู กว่ำจุดหลอมเหลวสูงสุดของแวกซ์นนประมำณ
ั้
2-3 องศำเซลเซียส
ไม่ควรใช้ เครื่ องผสม high shear เพรำะอำกำศจะได้ ไม่เข้ ำไปในส่วนผสม
เติมส่วนผสมสีที่เตรี ยมไว้ ลงในแวกซ์ที่หลอมเหลวและน ้ำมัน และยังต้ องกวนส่วนผสมและ
รักษำอุณหภูมิให้ คงที่ต่อไป ล้ ำงน ้ำมันที่เหลือผ่ำนอุปกรณ์กระจำยสีและเติมลงในส่วนผสม
ผสมจนเข้ ำกันและกวนเบำๆ เพื่อเอำอำกำศออก ( de-aerated )
นำเนื ้อสำรที่ได้ ผ่ำนตัวกรองตะแกรง(sieve) 250 mesh ให้ แน่ใจได้ ว่ำไม่มีสง่ิ
ปลอมปนใดๆ
สำมำรถผสมมุกในเนื ้อสำรได้ ด้วยกำรกวนเบำๆ
หลังจำกได้ สีที่ต้องกำรแล้ วจึงค่อยเติมน ้ำหอมลงไป ไม่เกิน 70 C
กำรผลิตเนือ้ สำร (Processing)
• โดยทัว่ ไปแล้ วควรจะผสมเนื ้อสำรในภำชนะที่มีที่กวนเพื่อไม่ให้ สี
ตกตะกอนและจับตัวอยูด่ ้ ำนล่ำง ควรใช้ แรงดันไอน ้ำต่ำเพื่อให้
ควำมร้ อนสม่ำเสมอและเกิดกำรหลอมเหลวที่ระดับเท่ำกัน ภำชนะ
ที่ใช้ กวนสำรมักจะมีอปุ กรณ์ที่ใช้ ระบบ de-aeration ติดอยู่
ด้ วย
กำรหล่ อและบรรจุ
สำมำรถหล่อลิปสติกได้ ตำมขันตอนต่
้
อไปนี ้
1. ใช้ มือหล่อในแม่พิมพ์ขนำด 72-100 หลุม
2. ใช้ มือ กึ่งอัตโนมัติ หล่อในแม่พิมพ์ขนำด 18 หลุม
3. ใช้ ตวั เติมแบบหมุนอัตโนมัติลงในแม่พิมพ์หลุมเดียว
4. ใช้ ระบบฉีดแม่พิมพ์อตั โนมัติ
5. direct filling ไปยังแม่พิมพ์พลำสติกอัตโนมัติ
• ขันตอนที
้
่ใช้ ระบบอัตโนมัติสว่ นใหญ่จะควบคุมด้ วยคอมพิวเตอร์ และมี
ระบบปรับเปลี่ยนกำรควบคุมปั จจัยในกำรผลิตทังหมด
้
Moulding
• กำรหล่อลิปสติก แบบใช้ แม่พิมพ์แบบถอดแยกได้
• หลอมเนื ้อสำรในระดับอุณหภูมิ 80 องศำเซลเซียสในภำชนะขนำดเล็กที่มีอป
ุ กรณ์กวน
และมีก๊อกเล็กๆ อยูด่ ้ ำนล่ำง
• ปล่อยให้ เนื ้อสำรไหลออกจำกก๊ อกลงในแม่พิมพ์ที่ถกู ทำให้ ร้อนและหล่อลื่นไว้ ก่อนแล้ ว
ด้ วย mineral oil or Isopropyl myristate อำจจะอุน่ mould ที่
อุณหภูมิ 40 C
• บรรจุให้ เต็มแม่พิมพ์เผื่อสำหรับกำรหดตัวเมื่อเนื ้อสำรเย็นลง
• นำแม่พิมพ์ไปวำงบนโต๊ ะที่เย็นหรื อตู้แช่แข็งขนำดใหญ่เพื่อให้ แข็งตัว
• เมื่อแข็งตัวดีแล้ วจึงนำพิมพ์ออกจำกที่เย็นและปำดผิวหน้ ำให้ เรี ยบร้ อย สำมำรถนำส่วนนี ้
ไปหลอมใหม่ได้
Moulding
• นำลิปสติกออกจำกแม่พิมพ์ จะนำไปบรรจุในแท่งลิปสติกเลยหรื อจะเก็บไว้ รอกำร
บรรจุตอ่ ไปก็ได้
• เมื่อใส่ลงในแท่งแล้ วก็จะตกแต่งผิวหน้ ำให้ เรี ยบร้ อยและนำไปผ่ำนเปลวไฟเพื่อให้
เกิดควำมวำว ขันตอนนี
้
้สำมำรถทำได้ ด้วยมือโดยนำแท่งลิปสติกไปผ่ำนเปลวไฟ
หรื อใช้ สำยพำนลำเลียงลิปสติกผ่ำนเปลวไฟหรื อลมร้ อน (หลังเอำลิปสติกออกจำก
แม่พิมพ์ควรทิ ้งไว้ ประมำณ 1 สัปดำห์ จึงค่อยนำมำผ่ำนเปลวไฟ)
• วิธีหล่อด้ วยแม่พิมพ์แยกจำเป็ นต้ องใช้ ช่ำงที่ชำนำญเพื่อให้ ได้ ผลผลิตตรงตำม
เป้ำหมำยซึง่ จะให้ ผลตอบแทนที่ค้ มุ ค่ำ ถึงกระนันก็
้ ตำม อัตรำกำรผลิตด้ วยวิธี
ดังกล่ำวก็ไม่สำมำรถเทียบได้ กบั กระบวนกำรผลิตจำกโรงงำน
วิธีหล่ อแบบ Rotomold
1. หลอมเนื ้อสำรลิปสติกด้ วยควำมร้ อนที่อณ
ุ หภูมิของจุด
หลอมเหลวสูงสุดของแวกซ์ที่มีในส่วนผสมนัน้
2. เทเนื ้อสำรที่หลอมเหลวในอัตรำคงที่ลงในแม่พิมพ์หลุม
3. นำไปแช่เย็นตำมอุณหภูมิที่กำหนดจนเนื ้อสำรส่วนบนของ
พิมพ์แข็งตัว ปำดส่วนเกินทิ ้ง แช่แม่พิมพ์ตอ่ ในอุณหภูมิที่
เหมำะสมสำหรับกำรแกะพิมพ์ออกแล้ วจึงนำแท่งลิปสติกออก
จำกพิมพ์ ระบบหล่อแต่ละระบบต่ำงใช้ กำรควบคุมที่ต่ำงกัน
วิธี Weckerle WO90 Rotary Lipstick Filling System
• จอคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ควบคุมระบบสำมำรถมองเห็นได้
• ใช้ อณ
ุ หภูมิเตรี ยมกำรหล่อที่ 30 องศำเซลเซียส
• ใช้ อณ
ุ หภูมิสำหรับแช่เย็นที่ 20 องศำเซลเซียสต่อนำที
• วิธี rotomolding นี ้ จะใช้ อณ
ุ หภูมิรักษำตัวจ่ำยสำรที่ 75-85 องศำเซลเซียส
• ตัวจ่ำยมี 2 หัวฉีดที่จะฉีดสำรลงในสำยพำนหมุนที่บรรจุแม่พิมพ์มำเป็ นคู่
• สำยพำนหมุนวิ่งผ่ำนห้ องอุน่ เตรี ยมสำหรับกำรบรรจุลงแท่ง
• ผ่ำนห้ องเย็นทันทีที่บรรจุลงแท่ง
• ผ่ำนห้ องแช่แข็งก่อนที่จะแกะลิปสติกออกจำกพิมพ์
• ในกำรบรรจุสำรลงแท่งนันหั
้ วฉีดจะต้ องมีอปุ กรณ์ทำควำมร้ อน 2 ตัว
เพื่อให้ เนื ้อสำรงแข็งตัวจำกด้ ำนล่ำงโดยที่ด้ำนบนยังคงหลอมเหลวอยู่
วิธีนี ้จะป้องกันไม่ให้ เกิดกำรหดตัวและกำรเปลี่ยนรูปของสำรระหว่ำงอยู่ในแท่ง
• สุดท้ ำยแล้ วหลุมพิมพ์จะเรี ยงตัวอยู่ด้ำนล่ำงจำนที่มีเบ้ ำ 2 เบ้ ำซี่งมีไว้ ใส่เคสลิปสติก
• สำยพำนลิปสติกจะวิ่งผ่ำนเปลวไฟ กลไกจะจะหยุดลง
• ฝำจะถูกนำมำประกอบเข้ ำด้ วยกัน
Weckerle invests in lipsticks
• Weckerle Cosmetics, which can claim a double digit growth rate this
year again, carry on its investment policy in the lipstick segment. The
company has just equipped its Lipstick Competence Center in
Peissenberg, Germany, with a state-of-the-art lipstick filling machine, for
a total amount of 1.5 million Euros.
• This new machine (MM360), which has been developed by the R&D
Team of Weckerle Machines, features a multimoulding system and has
started production at the end of November 2009.
• According to Weckerle, the main advantages of the MM360 are its
speed, flexibility, modularity and quick format change.Weckerle
Cosmetics acquired the machine including a multi-dosing system,
assembly and filling line. The rotary table carries 360 interchangeable
moulds, able to support four different mould technologies: push-out,
blow-out, soft and center core moulds. The output is around 6000
pieces per hour.
• Weckerle Cosmetics will produce its innovative Multi-Colour lipstick with
a new filling technique on this machine.
Lipstick Equipment
Lipstick moulds
Lipstick Process Equipment
Lipstick Containers
อ้ ำงอิง
Presentation : Color Cosmetics By Alain KHAIAT, Ph. D.
Cosmetic Science and Technology, second edition, volumn 1, page
371-375.
3. Chemico Inter Corporation Co., Ltd.
4. เอกสำรประกอบกำรบรรยำย เภสัชกร ดร. พิศำล จันทฤทธิรัศมี
5. เอกสำรประกอบกำรบรรยำย รศ. พิมพร ลีลำพรพิสิฐ
6. อรัญญำ มโนสร้ อย, เครื่ องสำอำง เล่มที่ 2. พิมพ์ครัง้ ที่ 1.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอ.เอส.พริ น้ ติ ้ง
เฮ้ ำส์.2533.2000 เล่ม
7. http://www.indo-nippon.net/di-ethyl-phthalate.html 9/1/11
8. http://advisor.anamai.moph.go.th/252/25204.html 9/1/11
9. http://www.dowcorning.com/applications/search/content/default.aspx?
Ne=4294965469+4294960341&N=4294965298+4294960276&bhcp=1
9/1/11
10. http://www.incosmeticsasia.com/ExhibitorLibrary/284/xentech_brochure_1.pdf
9/1/11
11. http://www.premiumbeautynews.com/Weckerle-invests-inlipsticks,1485 15/1/11
1.
2.