เกม ตารงธาตุ - WordPress.com

Download Report

Transcript เกม ตารงธาตุ - WordPress.com

คำนำ
กิจกรรมการเรี ยนการสอน เรื่ อง ตารางธาตุและสมบัติของ
ตารางธาตุเป็ นบทเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสาหรับนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อใช้ในการเรี ยนรู ้และความเพลิดเพลิน
ผูจ้ ดั ทาหวังว่ากิจกรรมการเรี ยนการสอน เรื่ องตารางธาตุและสมบัติ
ของตารางธาตุจะมีประโยชน์ต่อท่านผูอ้ ่านไม่มากก็นอ้ ย หากมี
ข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่น้ ีดว้ ย
สำรบัญ
จุดประสงค์
4
เกม เติมควำมรู้ คู่ควำมจำ
5
บทเรียน เรื่องตำรำงธำตุ
9
เกมสี่ ตัวเลือก
80
เกมเศรษฐี
112
เกม ทำยซิใครเอ่ย?
155
แหล่งอ้ำงอิง
165
จุดประสงค์ กำรเรียนรู้
1. บอกแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ในยุคต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดธาตุเป็ น
หมวดหมู่พร้อมทั้งระบุปัญหาของการจัดได้
2. บอกจานวนหมู่ จานวนคาบ และจานวนธาตุของแต่ละคาบในตารางธาตุ
ได้
3. บอกเลขหมู่ และเลขคาบเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุได้
4. เรี ยกชื่อธาตุและเขียนสัญลักษณ์ของธาตุ เมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ
ตามระบบ IUPAC ได้
วิธีกำรเล่ นเกม
1.เมื่อเห็นโจทย์แล้ วตอบคำถำม
2เฉลยปรำกฎขึน้ มำ
จงตอบคำถำมต่ อไปนีใ้ ห้ ถูกต้ อง
1.ธาตุในตารางสามารถแบ่งออกได้เป็ นกี่แบบ กี่กลุ่มอะไรบ้าง
มี 3 กลุ่ม คือ โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
...........................................................................................
2.ธาตุชนิดใดที่มีคุณสมบัติเป็ นโลหะ แต่มีสถานะเป็ นของเหลว ณ
ปรอท
อุณหภูมิหอ้ ง.........................................................................
1
3.H มีเลขออกซิเดชันเท่ากับเท่าใด......................................
ก๊าซเฉื่อยหรื อก๊าซมีตระกูล
4.ธาตุหมู่ 8A มีชื่อเรี ยกว่า................................................
ธาตุแทรนซิชนั
5.ธาตุหมู่ B มีชื่อเรี ยกว่า...................................................
โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท
6.ธาตุหมู่ 2A มีชื่อเรี ยกว่า.................................................
7.EN (Electronegativity) คือ
ค่าที่แสดงถึงความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะของ
....................................................................................................
อะตอมของธาตุต่างๆที่รวมกันเป็ นสารประกอบ
................................................................................
2
2
4
1
s
2
s
2
p
8.แสดงการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ O........................................
9.เพราะเหตุใดธาตุ Al จึงมีค่า IE1 ต่ากว่า IE1 ของ Mg ทั้งๆ
ที่ Al เล็กกว่า
เพราะ Mg มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนที่เสถียรกว่า Al
Mg..................................................................................
10.กฎพีริออดิก เป็ นกฎการจัดเรี ยงธาตุของใคร
ดิมิทร์ อิวาโนวิช เมนเดเลเอฟ (Dimitri Ivanovich)
..........................................................................................................
Periodic Table
ตำรำงธำตุ
ตำรำงธำตุ
วิวฒ
ั นำกำรของตำรำงธำตุ
ตำรำงธำตปัจจุบัน
ธำตุ Representative
element
โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์
ธำตุทรำนซิชัน
จอห์ น นิวแลนด์ ส
ธำตุทรำนซิชันชั้นใน
แลนทำไนด์
กำรจัดเรียงอิเล็กตรอน
เมนเดเลเอฟ
จำนวนระดับพลังงำน
คำบ
เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอน
หมู่
โลหะ
อโลหะ
กึง่ โลหะ
แอคทิไนด์
การศึกษาเกี่ยวกับตารางธาตุ
ตารางธาตุ (Periodic Table) คือ ตารางที่รวบรวมธาตุ
ต่าง ๆ เข้าเป็ นหมวดหมู่ ตามสมบัติที่เหมือนๆ กัน ไว้เป็ น
พวกเดียวกัน เพื่อสะดวกในการจดจาและศึกษา โดยแบ่งธาตุ
ทั้งหมดออกเป็ นหมู่และคาบ
1780-1849 Johann Dobereiner
Ca Sr Ba (40 + 137) ÷ 2 = 88
40 88 137
Johann Dobereiner จัดเรี ยงธาตุเป็ น
หมวดหมู่ โดยนาธาตุที่มีสมบัติคล้ายกัน
มาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ
เรี ยงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก
และธาตุแต่ละหมู่มวลอะตอมที่อยูต่ รง
กลางจะเป็ นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของ
อีก 2 ธาตุ โดยประมาณ กฎนี้เรี ยกว่า
Law of Triads
1837-1898 John Newlands
John Newlands ได้จดั ธาตุตา่ ง ๆ เป็ นตารางธาตุ โดยพยายามเรี ยงลาดับตามมวล
อะตอมจากน้อยไปมากเป็ นแถวตามแนวนอน สมบัติของธาตุจะมีสมบัติคล้ายกัน
เป็ นช่วง ๆ ของธาตุที่ 8 ตารางธาตุแบบนี้มีขอ้ จากัดคือใช้ได้กบั 20 ธาตุแรก
เท่านั้น
1834-1907 Dimitri Mendeleev
Dmitri Ivanovich Mendeleev ได้เสนอการจัดตารางธาตุออกมาในลักษณะคล้าย ๆ
กัน โดยพบว่าสมบัติต่าง ๆ ของธาตุสัมพันธ์กบั มวลอะตอมของธาตุ ตาม Periodic
Law คือ “ สมบัติของธาตุเป็ นไปตามมวลอะตอมของธาตุโดยเปลี่ยนแปลงเป็ นช่วง ๆ
ตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้น”
1834-1907 Dimitri Mendeleev
ตาราง เปรี ยบเทียบสมบัติของธาตุเอคาซิ ลิคอนกับเจอร์เมเนียมที่ทานายและที่คน้ พบ
สมบัติ
เอคาซิลิคอนทานายเมื่อ
พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1871)
เจอร์ เมเนียมพบเมื่อ
พ.ศ. 2429 (ค.ศ.1886)
มวลอะตอม
สีของธาตุ
ความหนาแน่น (g/cm3)
จุดหลอมเหลว (0C )
สูตรของออกไซด์
ความหนาแน่นของออกไซด์ (g/cm3)
เมื่อผสมกับกรดไฮโดรคลอริ ก
72
เป็ นโลหะสีเทา
5.5
สูง
GeO2
4.7
ละลายได้ เล็กน้ อย
72.6
เป็ นโลหะสีเทา
5.36
958
GeO2
4.70
ไม่ละลายที่ 25 0C
1887-1915 Henry Moseley
Henry Moseley ได้จดั เรี ยงธาตุตามเลข
อะตอมจากน้อ ยไปหามาก ดัง นั้น ใน
ปั จจุบนั Periodic Law มีความหมายว่า
“สมบัติต่าง ๆ ของธาตุจะขึ้นอยู่กบั เลข
อะตอมของธาตุ น้ ัน และขึ้ นอยู่กบั การ
จัดอิเล็กตรอนของธาตุเหล่านั้น”
He was able to derive the relationship
between x-ray frequency and number
of protons
The Father of the Periodic Table?
Dmitri Mendeleev
(1834-1907)
Lothar Meyer
(1830-1895)
แนวคิดกำรจัดเรียงธำตุของ Meyer
เรี ยงตามจานวนอิเล็กตรอนวงนอก
(valence electron) และปริ มาตรของ
อะตอมซึ่ งสัมพันธ์กบั ขนาดของอะตอม
ตารางธาตุในปัจจุบนั
ชื่อเฉพำะตำมหมู่
หมู่ IA: โลหะอัลคาไล (alkali metals)
หมู่ IIA : โลหะอัลคาไลน์เอิร์ท (alkaline earth metals)
หมู่ VIA: chalcogens
หมู่ VIIA: เฮโลเจน (halogens)
หมู่ O: แก๊สมีตระกูล (noble gases)
แนวโน้ มของสมบัตติ ำมตำรำงธำตุ
ขนำดของอะตอม
-ถ้าเลขควอนตัมหลักเพิม่ ขึ้น ขนาดของออร์บิทลั จะเพิม่ ขึ้น
-ขนาดอะตอมใหญ่ข้ ึนจากบนลงล่าง (ธาตุหมู่เดียวกัน)
-ขนาดอะตอมเล็กลงจากซ้ายไปขวา
-ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดอะตอม
• เลขควอนตัมหลัก n
• แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนวงนอกสุ ด
Periodic Table
การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุ ด
s block
d block
p block
f block
4f
5f
d10
d5
d1
ns2np6
ns2np5
ns2np4
ns2np3
ns2np2
ns2np1
ns2
ns1
การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนชันนอกสุ
้
ดของธาตุ
ชือ่ ทัว่ ไปของธาตุในแต่ละหมู่ (Group)
ธาต ุที่เป็นโลหะ (Metal Elements)
ธำตุทเี่ ป็ นอโลหะ (Non-Metal Elements)
ธาตุที่เป็ นกึ่งโลหะ (Semimetal Elements)
Periodic Classification of the Elements
กำรตั้งชื่อธำตุทคี่ ้ นพบใหม่
กำรตั้งชื่อธำตุทคี่ ้ นพบใหม่
การตั้งชื่อธาตุที่คน้ พบในยุคแรกจะใช้ชื่อนักวิทยาศาสตร์ ที่คน้ พบ ธาตุบางธาตุถกู
ค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ หลายคณะ ทาให้มีชื่อเรี ยกและสัญลักษณ์ต่างกัน
กำรตั้งชื่อธำตุทคี่ ้นพบใหม่
การที่คณะนักวิทยาศาสตร์ ต่างคณะตั้งชื่อแตกต่างกัน
ทาให้เกิดความสับสน
International Union of Pure and Applied Chemistry (IUPAC) จึงได้กาหนด
ระบบการตั้งชื่อขึ้นใหม่ โดยใช้กบั ชื่อธาตุที่มีเลขอะตอมเกิน 100 ขึ้นไป ทั้งนี้ ให้ต้ งั
ชื่อธาตุโดยระบุเลขอะตอมเป็ นภาษาละติน แล้วลงท้ายด้วย -ium
ระบบการนับเลขในภาษาละตินเป็ นดังนี้
0 = nil (นิล)
2 = bi (ไบ)
4 = quad (ควอด)
6 = hex (เฮกซ์)
8 = oct (ออกตฺ )
1
3
5
7
9
=
=
=
=
=
un (อุน)
tri (ไตร)
pent (เพนท์)
sept (เซปท์)
enn (เอนน์)
กำรตั้งชื่อธำตุทคี่ ้ นพบใหม่
ตัวอย่ างที่ 1 จงอ่านชื่อตามระบบ IUPAC พร้อมทั้งเขียนสัญลักษณ์ของธาตุต่อไปนี้
1. ธาตุที่ 106 =_________________________________สัญลักษณ์___________
2. ธาตุที่ 208 =_________________________________สัญลักษณ์___________
3. ธาตุที่ 119 =_________________________________สัญลักษณ์___________
4. ธาตุที่ 135 =_________________________________สัญลักษณ์___________
5. ธาตุที่ 374 =_________________________________สัญลักษณ์___________
ตัวอย่ างที่ 2 ธาตุที่มีสัญลักษณ์ต่อไปนี้มีเลขอะตอมเท่าไร
1. Unh =________________
2. Uno =_________________
ลาดับการค้นพบธาตุ
ตัวอย่างสี ของเปลวไฟที่ได้จากการเผาสารประกอบ
Cu 2+
Sr 2+
Na+
Ba 2+
K+
Li+
สำรประกอบ
ตัวอย่ำง
สี ของเปลวไฟ
ลิเทียม
LiCl , LiNO3 , Li2CO3
สี แดง
โซเดียม
NaCl , Na2SO4 , Na2CO3
สี เหลือง
โพแทสเซี ยม
KCl , K2SO4 , KNO3
สี ม่วง
รู บิเดียม
RbCl , Rb2SO4 , RbNO3
สี แดงเข้ม
ซี เซี ยม
CsCl , Cs2SO4 , CsNO3
สี ฟ้า
แคลเซี ยม
CaCl2 , CaSO4 , Ca(NO3)2
สี แดงอิฐ
แบเรี ยม
BaCl2 , BaSO4 , Ba(NO3)2
สี เขียวแกมเหลือง
ทองแดง
CuCl2 , CuSO4 , Cu(NO3)2
สี เขียว
ตารางธาตุ
ขนำดของอะตอม
• เมื่อเลขควอนตัมหลักเพิ่มขึ้น ระยะทางจากนิวเคลียสถึง
อิเล็กตรอนชั้นนอกสุ ดจะมากขึ้น จึงส่ งผลให้รัศมีอะตอมมีค่า
มากขึ้น
• ธาตุในคาบเดียวกัน มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่มีเลขควอนตัมหลัก
เท่ากัน แต่ธาตุดา้ นขวามือจะมีประจุบวกที่นิวเคลียสเพิ่มขึ้น
ดังนั้น แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนวงนอกสุ ด
จึงเพิ่มขึ้น รัศมีอะตอมจึงลดลง
ขนำดของไอออน
ขนาดของไอออนขึ้นกับประจุบวกของนิวเคลียส จานวน
อิเล็กตรอน และออร์บิทลั ของเวเลนซ์อิเล็กตรอน
ไอออนบวกของธาตุใดๆ เป็ นการดึงเอาอิเล็กตรอนออก
จากอะตอมทาให้มีขนาดรัศมีเล็กลงกว่าอะตอมเดิม
ไอออนลบของธาตุใดๆ จะเป็ นการเพิ่มจานวนอิเล็กตรอน
ทาให้มีขนาดรัศมีเพิม่ ขึ้นจากอะตอมเดิม
ขนำดของไอออน
ไอออนที่มีประจุเท่ากัน รัศมีไอออนของหมู่เดียวกันจะเพิ่มขึ้น
จากบนลงล่าง
ไอออนที่มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน (isoelectronic
series) ถ้าประจุของนิวเคลียสเพิ่มขึ้น รัศมีของไอออนจะ
มีขนาดเล็กลง เช่น
O2- > F- > Na+ > Mg2+ > Al3+
พลังงำนไอออไนเซชัน
• พลังงานไอออไนเซชันที่หนึ่ง (I1) เป็ นพลังงานที่ตอ้ งใช้ในการดึง
อิเล็กตรอนตัวแรกออกจากอะตอมอิสระในสถานะแก๊ส
Na(g)  Na+(g) + e• พลังงานไอออไนเซชันที่สอง (I2) เป็ นพลังงานที่ตอ้ งใช้ในการดึง
อิเล็กตรอนออกจากไอออนที่มีประจุ +1 ในสถานะแก๊ส
Na+(g)  Na2+(g) + e• ค่าพลังงานไอออไนเซชันสูง แสดงว่าการดึงอิเล็กตรอนออกไปทาได้
ยาก
พลังงำนไอออไนเซชัน
พลังงานไอออไนเซชันในแต่ละธาตุ จะมีค่าสูงเพิ่มขึ้นมาก เมื่อเกี่ยวข้องกับ
การดึงอิเล็กตรอนออกจากสภาวะที่มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนคล้ายแก๊สมี
ตระกูล
พลังงำนไอออไนเซชัน
• ค่าพลังงานไอออไนเซชันในหมู่เดียวกันจะลดลงจากบนลงล่าง
เนื่องจากธาตุคาบล่างมีอิเล็กตรอนวงนอกสุ ดที่สามารถดึงออกได้ง่าย
• แนวโน้มพลังงานไอออไนเซชันที่หนึ่ง จะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวาใน
คาบเดียวกัน เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอน
เพิม่ ขึ้น ยกเว้นบางธาตุ
• ข้อยกเว้น การดึงอิเล็กตรอนจากธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนแบบบรรจุ
เต็ม และบรรจุครึ่ งออร์บิทลั
พลังงำนไอออไนเซชัน
• การจัดอิเล็กตรอนแบบบรรจุเต็มและบรรจุครึ่ ง ส่ งผลให้อะตอมมี
ความเสถียรมากกว่า เช่น
การจัดเรี ยงอิเล็คตรอนแบบ s2p3 จะเสถียรกว่าการจัดเรี ยง
แบบ s2p4
• การบรรจุเต็มจะเสถียรกว่าบรรจุครึ่ ง เช่น
การจัดเรี ยงอิเล็คตรอนแบบ s2p0 จะเสถียรกว่าการจัดเรี ยง แบบ
s1p1
พลังงำนไอออไนเซชัน
กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน
ไอออนบวก: อิเล็กตรอนที่อยูใ่ นออร์บิทลั ที่มีเลขควอนตัมสูงสุ ดจะถูก
ดึงออกไปก่อน:
Li (1s2 2s1)  Li+ (1s2)
Fe ([Ar]3d6 4s2)  Fe3+ ([Ar]3d5)
ไอออนลบ: จะเติมอิเล็กตรอนในออร์บิทลั ที่มีเลขควอนตัมสู งสุ ด:
F (1s2 2s2 2p5)  F- (1s2 2s2 2p6)
สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนจะตรงข้ามกับพลังงานไอออไนเซชัน
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน เป็ นพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมในสถานะ
แก๊สรับอิเล็กตรอนเกิดเป็ นไอออนที่มีประจุ -1 ในสภาพที่เป็ นแก๊ส:
Cl(g) + e-  Cl-(g)
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน สามารถเป็ นได้ท้ งั การคายพลังงาน (ตัวอย่าง
ข้างบน) หรื อเป็ นการดูดพลังงาน เช่น
Ar(g) + e-  Ar-(g)
สั มพรรคภำพอิเล็กตรอน
• พิจารณาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอม เพื่อที่จะสามารถ
บอกได้วา่ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนจะมีค่าบวกหรื อลบ
• เช่น การเติมอิเล็กตรอนเพิม่ ลงไปอีกใน Ar ทาให้ตอ้ งมีการ
เติมอิเล็กตรอนลงในออร์บิทลั 4s ซึ่งมีพลังงานสู งกว่าออร์
บิทลั 3p มาก พลังงานจึงมีค่าบวก
ค่ าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน
โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
โลหะ
โลหะส่ วนใหญ่เป็ นของแข็งที่อุณหภูมิหอ้ ง นาความร้อนและ
ไฟฟ้ าได้ดี ตีแผ่ให้เป็ นแผ่นหรื อดึงเป็ นเส้นได้ ออกไซด์ของโลหะ
เป็ นเบส มักมีเลขออกซิเดชันเป็ นบวกเมื่อเกิดเป็ นสารประกอบ
ธาตุหมู่เดียวกัน ความเป็ นโลหะจะลดลงจากบนลงล่าง
ธาตุคาบเดียวกัน ความเป็ นโลหะจะลดลงจากซ้ายลงไปขวา
โลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่า
โลหะส่ วนใหญ่มกั จะถูกออกซิไดซ์มากกว่าถูกรี ดิวซ์
โลหะ
เมื่อโลหะถูกออกซิ ไดส์ โลหะจะกลายเป็ นไอออนบวก
โลหะหมู่ 1A จะเกิดไอออน M+
โลหะหมู่ 2A จะเกิดไอออน M2+
ขณะที่โลหะทรานสิ ชนั สามารถมีประจุได้หลายค่า
ออกไซด์ของโลหะเป็ นออกไซด์เบส:
Metal oxide + water  metal
hydroxide
Na2O(s) + H2O(l)  2NaOH(aq)
เลขออกซิเดชันของโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
อโลหะ
เมื่ออโลหะทาปฎิกิริยาหรื อเกิดเป็ นสารประกอบกับโลหะ อโลหะจะมี
แนวโน้มเป็ นตัวให้อิเล็กตรอน:
metal + nonmetal  salt
2Al(s) + 3Br2(l)  2AlBr3(s)
ออกไซด์ของอโลหะเป็ นออกไซด์กรด:
nonmetal oxide + water  acid
P4O10(s) + H2O(l)  4H3PO4(aq)
กึง่ โลหะ
กึ่งโลหะเป็ นธาตุที่มีสมบัติอยูร่ ะหว่างโลหะและอโลหะ เช่น
ซิลิกอน เป็ นธาตุที่มีความมันวาว แต่เปราะ
ธาตุก่ ึงโลหะมีการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมสารกึ่งตัวนา
โลหะหมู่ IA (โลหะอัลคำไล)
โลหะอัลคาไล มีลกั ษณะอ่อนซึ่งตัดได้ง่าย
โลหะหมู่น้ ีมีแนวโน้มที่จะสูญเสี ย s อิเล็กตรอน
M  M+ + eความว่องไวจะเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง
เมื่อทาปฎิกิริยากับน้ าจะเกิดเป็ นสารประกอบไฮดรอกไซด์กบั แก๊ส
ไฮโดรเจน:
2M(s) + 2H2O(l)  2MOH(aq) + H2(g)
โลหะหมู่ IA
โลหะอัลคาไลเมื่อทาปฏิกิริยากับออกซิเจนสามารถเกิดเป็ นออกไซด์ชนิด
ต่างๆ เช่น:
4Li(s) + O2(g)  2Li2O(s) (ออกไซด์)
2Na(s) + O2(g)  Na2O2(s) (เปอร์ออกไซด์)
K(s) + O2(g)  KO2(s)
(ซุปเปอร์ออกไซด์)
เมื่อนาโลหะอัลคาไลไปวางในเปลวไฟ จะให้แสงที่มีสีออกมา เนื่องจาก s
อิเล็กตรอนในสถานะกระตุน้ คายพลังงานกลับคืนสถานะพื้น
โลหะหมู่ IA
Li line: 2p  2s
transition
Na line (589 nm):
3p  3s transition
K line: 4p  4s
transition
สมบัตบิ างประการของโลหะหมู่ IA
โลหะหมู่ IIA (โลหะอัลคำไลน์ เอิร์ท)
โลหะอัลคาไลน์เอิร์ท มีความแข็งและความหนาแน่นมากกว่าโลหะอัล
คาไล
โลหะหมู่น้ ีมีแนวโน้มที่จะสูญเสี ย s อิเล็กตรอน 2 ตัว:
M  M2+ + 2e-.
Mg(s) + Cl2(g)  MgCl2(s)
2Mg(s) + O2(g)  2MgO(s)
Be ไม่ทาปฏิกิริยากับน้ า Mg ทาปฏิกิริยากับไอน้ า ขณะที่ Ca ทา
ปฏิกิริยากับน้ าที่อุณหภูมิหอ้ ง:
Ca(s) + 2H2O(l)  Ca(OH)2(aq) + H2(g)
สมบัตบิ างประกำรของโลหะหมู่ IIA
ธำตุหมู่ VIA (chalcogens)
ความเป็ นโลหะจะเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง (O2 เป็ นแก๊ส Te เป็ น
กึ่งโลหะ Po เป็ นโลหะ)
ออกซิเจนนอกจากจะเกิดในรู ปของ O2 ซึ่งเสถียรดีแล้ว ยังเกิด
ในรู ปของโอโซน O3 ได้อีกด้วย
โอโซนสามารถเตรี ยมโดยผ่านประกายไฟฟ้ าเข้าไปในออกซิเจน
O2
3O2(g)  2O3(g)
H = +284.6 kJ
โอโซนมีสีน้ าเงิน กลิ่นฉุนและเป็ นพิษ
ธำตุหมู่ VIA
ออกซิเจน(O2) เป็ นตัวออกซิไดส์ที่ดี และไอออน O2- มีการ
จัดเรี ยงอิเล็กตรอนเหมือนแก๊สมีตระกูล
ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน 2- (เช่น H2O) 1- (เช่น
H2O2)
กามะถันเป็ นธาตุอีกตัวที่มีความสาคัญในหมู่น้ ี โครงสร้างที่เสถียร
ประกอบด้วยกามะถัน 8 อะตอม
เมื่อเกิดเป็ นสารประกอบ กามะถันจะเกิดเป็ นไอออนลบ S2(ซัลไฟด์)
สมบัตบิ ำงประกำรของธำตุหมู่ VIA
ธำตุหมู่ VIIA (เฮโลเจน)
เฮโลเจนจะรับอิเล็กตรอน กลายเป็ นไอออนลบ:
X2 + 2e-  2Xฟลูออรี นเป็ นธาตุที่วอ่ งไวในการเกิดปฏิกิริยา:
2F2(g) + 2H2O(l)  4HF(aq) + O2(g)
H = -758.7 kJ
เฮโลเจนทุกตัวจะเป็ นโมเลกุลคู่ X2
สมบัตบิ ำงประกำรของธำตุหมู่ VIIA
แก๊ สมีตระกูล
• ทุกตัวเป็ นอโลหะและเป็ นอะตอมเดี่ยว
• ทุกตัวมีอิเล็กตรอนใน s และ p ออร์บิทลั ที่เต็ม
• ในปี 1962 ได้มีการเตรี ยมสารประกอบของแก๊สมีตระกูล
ของซีนอนเป็ นตัวแรก: XeF2 XeF4 และ XeF6
• ปัจจุบนั ได้มีการเตรี ยมสารประกอบของแก๊สมีตระกูลมากขึ้น
เช่น KrF2 และ HArF
สมบัตบิ ำงประกำรของแก๊ สมีตระกูล
การจัดอิเล็กตรอนของธาตุทรานสิชนั
เมื่อเปรี ยบเทียบการจัดอิเล็กตรอน ในอะตอมและในไอออน เช่น Fe
ในอะตอมอิสระ
Fe
 [Ar] 4s2 3d6
เมื่อเกิดเป็ นสารประกอบ
Fe2+  [Ar] 3d6
Fe3+  [Ar] 3d5
การจัดอิเล็กตรอนของธาตุทรานสิชนั
• ในการเกิดไอออนนั้น จะเสี ยอิเล็กตรอน ใน 4s-ออร์บิทลั
ก่อน และบางกรณี จะเสี ยอิเล็กตรอน ใน 3d-ออร์บิทลั ด้วย
• อิเล็กตรอนใน 4s-ออร์บิทลั มีพลังงานสูงกว่า 3d-ออร์บิทลั
• บางธาตุตอ้ งพิจารณาการบรรจุแบบครึ่ งจะมีความเสถียรกว่า
Cr  [Ar] 3d5 4s1
Cr3+  [Ar] 3d3
1.ขนำดอะตอม
4.จุดเดือดและจุดหลอมเหลว
จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธำตุขนึ้ อยู่กบั แรงยึด
เหนี่ยวระหว่ ำงโมเลกุล
• ถ้ ำแรงระหว่ ำงโมเลกุลมีค่ำมำก จุดหลอมเหลวและจุดเดือดจะ
มีค่ำสู ง
• ถ้ ำแรงยึดเหนี่ยวระหว่ ำงโมเลกุลมีค่ำน้ อยจุดหลอมเหลวและ
จุดเดือดจะมีค่ำตำ่
แผนภาพแสดงแนวโน้ มของจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธาตุตา่ งๆ
เรามาทดสอบความรู ้ที่ได้จาก
กิจกรรมการเรี ยนการสอนเรื่ อง
ตารางธาตุและสมบัติของตาราง
ธาตุกนั นะจ๊ะ!
วิธีกำรเล่ นเกม 4 ตัวเลือก
1.
2.
3.
4.
ผู้เรียนอ่ำนคำถำม และเลือกคำเพียงคำตอบเดียวทีถ่ ูกทีส่ ุ ด
ผู้สอนคลิกคำตอบทีผ่ ู้เรียนเลือก
ถ้ ำหำกตอบถูกก็ทำต่ อในข้ อต่ อไปได้
หำกตอบผิดก็ต้องกลับไปทำข้ อเดิมใหม่
1.ตำรำงธำตุมีชื่อเรียกอีกอย่ ำงหนึ่งว่ ำ
1
Periodic table
2
Periodic tabe
3
Pernodic table
4
Peniodic tabe
เก่งมาก
เด็กๆ!
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
2.ปัจจุบันนักวิทยำศำสตร์ ค้นพบธำตุแล้ วกีธ่ ำตุ
1
มำกกว่ ำ 100 ธำตุ
2
มำกกว่ ำ 110 ธำตุ
3
มำกกว่ ำ 200 ธำตุ
4
มำกกว่ ำ 210 ธำตุ
เก่งมาก
เด็กๆ!
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
3.ตำรำงธำตุทใี่ ช้ ในปัจจุบันมีรำกฐำนมำจำกตำรำงธำตุของใคร
1
เมนเดเลเอฟ
2
เฮนรี มอสลีย์
3
จอห์ น นิวแลนด์
4
จอห์ น โบล์
เก่งมาก
เด็กๆ!
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
4. Ba เป็ นธำตุทอี่ ยู่ในหมู่ใด
1
หมู่ 1
2
หมู่ 2
3
หมู่ 3
4
หมู่ 4
เก่งมาก
เด็กๆ!
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
5.ธำตุชนิดใดจัดเป็ นโลหะแอลคำไลด์
1
Sr
2
Mg
3
Ra
4
Fr
เก่งมาก
เด็กๆ!
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
6.ธำตุชนิดใดจัดเป็ นโลหะแอลคำไลด์ เอิร์ท
1
Li
2
Na
3
Ca
4
Rb
เก่งมาก
เด็กๆ!
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
7.ธำตุหมู่ 6 มีชื่อว่ ำอย่ ำงไร
1
คำลไนเจน
2
คำลโลเจน
3
คำลโดเจน
4
คำลโจเจน
เก่งมาก
เด็กๆ!
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
8.ธำตุแฮโลเจนอยู่ในหมู่ใด
1
หมู่ 5A
2
หมู่ 7A
3
หมู่ 8A
4
หมู่ 9A
เก่งมาก
เด็กๆ!
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
9.ธำตุ He มีชื่อเรียกว่ ำอย่ ำงไร
1
ไฮโดรเจน
2
ซีนอน
3
ฮิเลียม
4
อินเดียม
เก่งมาก
เด็กๆ!
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
10.จงเรียกชื่อธำตุที่ 104 ตำมระบบ IUPAC
1
อูนนิลคลอเดียม
2
อูนนิลเพนเทียม
3
อูนนิลเฮกเซียม
4
อูนนิลเซฟเทียม
เก่งมากเด็กๆ! ไป
เล่นเกมต่อไปกันเลย
นะจ๊ะ
ลองทำดูอกี ครั้ง
ซิเด็กๆ
วิธีกำรเล่ นเกมเศรษฐีมหำสนุก
1.ผู้เล่นทั้งห้ องช่ วยกันตอบคำถำมตำมมูลค่ำทีก่ ำหนด
2.หำกตอบผิดถือว่ ำเกมยุติ
3.ข้ อคำถำมทีเ่ หลือผู้สอนเล่นผู้เรียนร่ วมกันเฉลยและ
อภิปรำยร่ วมกัน
ตัวช่ วย
50:50
2
ผูส้ อนตัดตัวช่วยให้เหลือ 2 ข้อ
ตอบได้สองครั้ง
ผูส้ อนใบ้เพิม่ เติม
คำถำมข้ อที่ 1
แนวโน้ มของขนำดอะตอมในหมู่เดียวกันจะเป็ นอย่ ำงไร
1.จะมีขนาดอะตอมใหญ่ข้ ึน เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
2.จะมีขนาดอะตอมใหญ่ข้ ึน เมื่อเลขอะตอมน้อยลง
3.จะมีขนาดอะตอมเล็กลง เมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึ้น
4.ไม่มีขอ้ ใดถูก
50:50
2
คำถำมข้ อที่ 1
แนวโน้ มของขนำดอะตอมในหมู่เดียวกันจะเป็ นอย่ ำงไร
1.จะมีขนาดอะตอมใหญ่ข้ ึน เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
3.จะมีขนาดอะตอมเล็กลง เมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึ้น
2
เงินรางวัล
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ข้ อต่ อไป..
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 0 บำท
....กลับข้ อเดิม
คำถำมข้ อที่ 2
แนวโน้ มของขนำดอะตอมในคำบเดียวกันจะเป็ นอย่ ำงไร
1.จะมีขนาดอะตอมเล็กลงจากขวาไปซ้าย
2.จะมีขนาดอะตอมเท่ากัน
3.จะมีขนาดอะตอมเล็กลงจากซ้ายไปขวา
4.ไม่มีขอ้ ใดถูก
50:50
2
คำถำมข้ อที่ 2
แนวโน้ มของขนำดอะตอมในคำบเดียวกันจะเป็ นอย่ ำงไร
3.จะมีขนาดอะตอมเล็กลงจากซ้ายไปขวา
4.ไม่มีขอ้ ใดถูก
2
เงินรางวัล
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ข้ อต่ อไป..
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 500 บำท
....กลับข้ อเดิม
คำถำมข้ อที่ 3
ไอออนหมำยถึงอะไร
1.อะตอมหรื อกลุ่มอะตอมที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบ
2.อะตอมหรื อกลุ่มอะตอมที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นกลาง
3. อะตอมหรื อกลุ่มอะตอมที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวก
4. อะตอมหรื อกลุ่มอะตอมที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกหรื อลบ
50:50
2
คำถำมข้ อที่ 3
ไอออนหมำยถึงอะไร
1.อะตอมหรื อกลุ่มอะตอมที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบ
4. อะตอมหรื อกลุ่มอะตอมที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกหรื อลบ
2
เงินรางวัล
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ข้ อต่ อไป..
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 1,000 บำท
....กลับข้ อเดิม
คำถำมข้ อที่ 4
รัศมีไอออนคือ
1.ระยะระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึ่งๆที่ดึงดูดกันอยู่
2. ระยะระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึ่งๆที่ผลักกันอยู่
3. ระยะระหว่างโปรตอนของไอออนคู่หนึ่งๆที่ดึงดูดกันอยู่
4. ระยะระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึ่งๆที่ผลักกันอยู่
50:50
2
คำถำมข้ อที่ 4
รัศมีไอออนคือ
1.ระยะระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึ่งๆที่ดึงดูดกันอยู่
3. ระยะระหว่างโปรตอนของไอออนคู่หนึ่งๆที่ดึงดูดกันอยู่
2
เงินรางวัล
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ข้ อต่ อไป..
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 5,000 บำท
....กลับข้ อเดิม
50:50
คำถำมข้ อที่ 5
เลขออกซิเดชันของ S ในสำรประกอบ H2SO4 เท่ ำกับเท่ ำใด
1.+2
3.+6
2.+4
4.+8
2
คำถำมข้ อที่ 5
เลขออกซิเดชันของ S ในสำรประกอบ H2SO4 เท่ ำกับเท่ ำใด
2.+4
3.+6
2
เงินรางวัล
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ข้ อต่ อไป..
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 10,000 บำท
....กลับข้ อเดิม
คำถำมข้ อที่ 6
จงแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ Mg
2
2
1
2
2
1. 1s 2s 2 p
2
2. 1s 2s 2 p
2
2
6
2
1
s
2
s
2
p
3
s
3.
4.1s 2 2s 2 2 p6 3s1
50:50
2
คำถำมข้ อที่ 6
จงแสดงกำรจัดเรียงอิเล็กตรอนของ Mg
2
2
6
2
1
s
2
s
2
p
3
s
3.
4. 1s 2 2s 2 2 p6 3s1
2
เงินรางวัล
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ข้ อต่ อไป..
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 25,000 บำท
....กลับข้ อเดิม
50:50
คำถำมข้ อที่ 7
ธำตุทมี่ ีค่ำ EN (Electronegativity) สู งจะมี
ควำมสำมำรถอย่ ำงไร
2
1.ดึงดูดโปรตอนได้ดี
2.ดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดี
3.ดึงดูดนิวตรอนได้ดี
4.ดึงดูดอะตอมของธาตุอื่นได้ดี
คำถำมข้ อที่ 7
ธำตุทมี่ ีค่ำ EN (Electronegativity) สู งจะมี
ควำมสำมำรถอย่ ำงไร
2.ดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดี
4.ดึงดูดอะตอมของธาตุอื่นได้ดี
2
เงินรางวัล
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ข้ อต่ อไป..
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 50,000 บำท
....กลับข้ อเดิม
คำถำมข้ อที่ 8
ธำตุชนิดใดมีขนำดของอะตอมใหญ่ ทสี่ ุ ด
1.H
2.Li
3.Ne
4.Fr
50:50
2
คำถำมข้ อที่ 8
ธำตุชนิดใดมีขนำดของอะตอมใหญ่ ทสี่ ุ ด
3.Ne
4.Fr
2
เงินรางวัล
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ข้ อต่ อไป..
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 75,000 บำท
....กลับข้ อเดิม
คำถำมข้ อที่ 9
50:50
2
ธำตุชนิดใดมีจุดเดือนสู งสุ ด
1.B
2.C
3.N
4.O
คำถำมข้ อที่ 9
2
ธำตุชนิดใดมีจุดเดือนสู งสุ ด
2.C
3.N
เงินรางวัล
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ข้ อต่ อไป..
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 100,000 บำท
....กลับข้ อเดิม
คำถำมข้ อที่ 10
ธำตุชนิดใดมีคุณสมบัตเิ ป็ นกึง่ โลหะ
1.Na
2.Al
3.P
4.Si
50:50
2
คำถำมข้ อที่ 10
ธำตุชนิดใดมีคุณสมบัตเิ ป็ นกึง่ โลหะ
3.P
4.Si
2
เงินรางวัล
ยินดีดว้ ยคุณคือ
ผูช้ นะ!
10>>>
1,000,000
9>>>
500,000
8>>>
100,000
7>>>
75,000
6>>> 50,000
5>>> 25,000
4>>> 10,000
3>>> 5,000
2>>> 1,000
1>>> 500
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
ตอบผิดค่ ะ
เกมยุตกิ ำรเล่ นเพียงเท่ ำนี้
เงินสะสมทั้งหมด 500,000 บำท
....กลับข้ อเดิม
วิธีกำรเล่ นเกม
1.ตัวแทนผู้เรียนมำยืนหน้ ำชั้นและหันหน้ ำให้ สไลด์
2.ผู้เรียนทีเ่ หลือในชั้นช่ วยกันใบ้ รูปภำพทีน่ ำเสนอบนสไลด์
00.10
00.01
00.02
00.03
00.04
00.05
00.06
00.07
00.08
00.09
00.00
00.10
00.01
00.02
00.03
00.04
00.05
00.06
00.07
00.08
00.09
00.00
00.10
00.01
00.02
00.03
00.04
00.05
00.06
00.07
00.08
00.09
00.00
00.10
00.01
00.02
00.03
00.04
00.05
00.06
00.07
00.08
00.09
00.00
แหล่งอ้างอิง
สาราญ พฤกษ์สุนทร(2544). ตำรำงธำตุ . เคมี ม.เล่ม 1 กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ พ.ศ
พัฒนา.
สภาสถาบันราชภัฏ , สานักงาน .(2545) ชุ ดกำรเรียนรู้ด้วยตนเอง ชุ ดวิชำกำรวิจัย
สมบัติของตำรำธำตุ.กรุ งเทพฯ:บริ ษทั เอส.อาร์ พริ้ นติ้ง แมส โปรดักส์ จากัด
วราพันธุ์ จินตณวิชญ์ .(2547) .ตำรำงธำตุ.ออนไลน์. เข้าถึงได้
จาก:http://www.oknation.net/blog/jirayu/2009/09/04/entry-5(วันที่สืบค้นข้อมูล: 18
พฤศจิกายน 2555)
_______. ตำรำงธำตุ . ออนไลน์. เข้าถึงได้
จาก:http://www.science.mju.ac.th/chemistry/download/n_thammakan/CH103part%20Periodic%20table.pdf (วันที่สืบค้นข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2555)
_______.ตำรำงธำตุ. ออนไลน์. เข้าถึงได้จาก :http://www.ptable.com/?lang=th
(วันที่สืบค้นข้อมูล: 20 พฤศจิกายน 2555)
ประวัตผิ ้ ูวจิ ัย
ชื่อ
วัน/เดือน/ปี เกิด
ที่อยู่
ประวัติการศึกษา
นางสาวกนกวรรณ ตามีปลูก
6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534
43 หมู่ 7 ตาบลนาครัว อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง 52150
-2546 สาเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรี ยนแม่ทะ
วิทยา ตาบลนาครัว
อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง
-2553 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา โรงเรี ยนแม่ทะวิทยา
ตาบลนาครัว
อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง
ประวัตผิ ้ ูวจิ ัย
ชื่อ
วัน/เดือน/ปี เกิด
ที่อยู่
ประวัติการศึกษา
นางสาวประภัสสร ตันกุล
2 กันยายน พ.ศ. 2534
283หมู่ 3 ตาบลหงส์หิน อาเภอจุน จังหวัดพะเยา 56150
-2546 สาเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรี ยนบ้านสัก
ทุ่ง ตาบลหงส์หิน
อาเภอจุน จังหวัดพะเยา
-2553 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา โรงเรี ยนปิ ยมิตร
วิทยา ตาบลหย่วน อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา
สวัสดีค่ะ/ครับ