เซอร์โคเนียม - dewschemistry

Download Report

Transcript เซอร์โคเนียม - dewschemistry

เซอร์
โคเนี
ยม
สัญลักษณ์
เลขอะตอม
Zr
40 เป็ นธาตุที่ 2
ของหมู่ IV B ใน
ตารางธาตุ
จัดเป็ นโลหะ
6.506 g/cc ที่ 20 °c
ความ
หนาแน่ น
+2, +3, +4
เลข
ออกซิเดชัน
สามั
ญ
เซอร์โคเนี ยมพบอยู่ในรูปของแร่
ลั
ก
ษณะ
มี
ส
ี
ข
าวเทาคล้
า
ย
เซอร์คอน (ZrSiO4) เกิดตามแหล่งแร่ดีบกุ
ไทเทเนี
ย
ม
ทนต่อการกัดกร่อนมาก จัดเป็ นธาตุที่
เซอร์โคเนี ยมในรูปของออกไซด์
ค้นพบโดย N.H. Klaproth ในปี ค.ศ. 1
ขณะที่ทาการศึกษาแร่ zircon ซึ่งเป็ นซิ
ลิเกตของเซอร์โคเนี ยม (ZrSiO4) ในรูป
ของพลอย (gemstone)
จากซี ลอน
พลอย zircon มีชื่อมาจากภาษาอาหรับ
แร่เซอร์คอน (zircon) หรือเพทาย สูตร
เคมี ZrSiO4 มี ZrO2 67.2% และ SiO2 32.8% มีรปู
ผลึกระบบเททราโกนาล ลักษณะเป็ น
แท่งยาวมียอดแหลมปิดหัวและท้าย แข็ง
วาวแบบเพชร ใสไม่มีสี หรืออาจมีสี
น้าตาล เทา เขียว แดง ผงละเอียดไม่มีสี
ปกติจะแสดงคุณสมบัติโปร่งแสงแต่
แร่เซอร์คอน เป็ นแร่รองในหินอัคนี
แทรกซอนแทบทุกชนิด โดยเฉพาะชนิด
กรด เช่น หินแกรนิต แกรโนไดโอไรต์ ไซอี
ไนต์ พบมากในหินเนฟิลีนไซอิไนต์ เซอร์
คอนเป็ นแร่ซิลิเกตตัวแรกที่ตกผลึกจาก
หินหนื ดที่เย็นตัว นอกจากนี้ ยงั อาจพบได้
ใน หินไนส์ ชีสต์ หรือพบเป็ นเมล็ดกลม ๆ
หรือผลึกเล็กๆ ตามลาธารและชายฝัง่
1. นาหางแร่ดีบุกที่ ได้จากการ
ท าเหมื อ งแร่ ดี บุ ก ซึ่ ง มี
เซอร์คอนอยู่
ไปถลุงที่ 800-1000 °c โดยใช้
คาร์ บ อนเป็ นตั ว รี ดิ วส์
จะได้โลหะ
เซอร์โคเนี ยมที่ไม่บริสทุ ธ์ ิ
ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ ดังสมการ
ZrCl4 (s) + 6Mg(l)
2MgCl2(s)
3. แยก Mg
Zr(s) +
และ MgCl2 โดยเผา
ในภาวะที่ เป็ นสุญญากาศ
ที่ 900 °c
4. และนาโลหะเซอร์โคเนี ยม
ทาได้โดยนาแร่เซอร์คอน
มาหลอมรวมกับ Na2O ได้
โซเดี ย มเซอร์โ คเนี ยมซิ ลิ
เกต (Na2ZrSiO3)
2. น ามาท าปฏิ กิ ริ ย ากับ น้ า
ร้อนเพื่อแยก Na2SiO3 ซึ่งเป็ น
สารปนเปื้ อนออกแล้ ว จึ ง
น าไปท าปฏิ กิ ริ ย ากับ H2So4
ไ ด้ ส า ร ป ร ะ ก อ บ
1.
1.
โลหะเซอร์โคเนี ยมบริสทุ ธ์ ิ มีสีเทาเงิน อ่อน
และเหนี ยว มีจดุ หลอมเหลว 1852 °c
- ใช้ทาโลหะผสมเพื่อหุ้มแท่งเชื้อเพลิง
ยูเรเนี ยม
- ใช้เป็ นโลหะในโครงสร้างแกนเตาสาหรับ
เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ซึ่งใช้ในรูปของโลหะ
เจือ เรียกว่า zircaloy ซึ่งมีหลายชนิด เช่น Zircaloy
2.
เซอร์โคเนี ยมออกไซด์ (ZrO2) มีลกั ษณะ
เป็ นผงสีขาว มีจดุ หลอมเหลว 2700 °c มี
ความแข็งมาก
- ใช้เป็ นผงขัดและวัสดุทนไฟ
- ใช้เป็ นองค์ประกอบของแก้วและ
เซรามิกส์ที่ทนกรดและเบส
- ใช้ทาสีและสารเพิ่มความทึบ
4.
ประโยชน์ อื่นๆ
- เซอร์โคเนี ยมไฮดรอกซีคลอไรด์ใช้
เป็ นยาระงับกลิ่นกาย
- ใช้เป็ นชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ไอ
พ่นและจรวด
- ทาฉนวนกันไฟฟ้ าแรงสูง
- เพทาย หรือ เซอร์โคเนี ยมซิลิเกต
ใช้เป็ นเครื่องประดับ
แต่ในการถลุงแร่บางชนิดจะมีกากแร่ที่เป็ น
สารพิษเกิดขึน้ ด้วย เช่น
- กากแคดเมียม (Cd) ซึ่งเป็ นโลหะ
ทรานซิสชันสี
่ ขาว-ฟ้ าเป็ นธาตุมีพิษ
เซอร์โคเนี ยม.[ออนไลน].เข
์ าถึ
้ งไดจาก
้
:
http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem3/Zr.htm.
(วันทีค
่ นข
้ อมู
้ ล : 6 ธันวาคม 2553).
เซอร์โคเนี ยม.[ออนไลน].เข
์ าถึ
้ งไดจาก
้
:
http://202.44.68.33/node/12580.
(วันทีค
่ นข
้ อมู
้ ล : 6 ธันวาคม 2553).
เซอร์โคเนี ยม.[ออนไลน].เข
์ าถึ
้ งได้
จาก:https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=69090.
1.นางสาวชนิสรา
เมฆหมอก เลขที่ 29
2.นางสาวประภาพร วิคบาเพิง เลขที่ 37
3.นางสาวรัตนาภรณ์ สุวรรณภาค เลขที่
42
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่
5/4