2. การอภิปราย เรื่อง " อาเซียนศึกษา" โดย รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

Download Report

Transcript 2. การอภิปราย เรื่อง " อาเซียนศึกษา" โดย รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

“ห้ องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการ
รวบรวม จัดเก็บและให้ บริ การทรัพยากร
สารสนเทศเฉพาะทางด้ านอาเซียนศึกษา”
รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สวุ รรณ
วิทยาลัยนานาชาติปรี ดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อาเซียนศึกษาทาอะไร
ศึกษา วิจยั และนาเสนอความรู้
ต่างๆเกี่ยวกับภูมิภาคอาเซียน
โดยดูจาก
1. องค์ประกอบของรัฐชาติ
(การเมือง)

2. และเหนือรัฐชาติ คือทางภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์ วัฒนธรรม
ศาสนา เศรษฐกิจการผลิต
แบบแรก ในกรอบทางการเมืองและสถาบัน
ห้ องสมุดรวบรวมเอกสาร ชันต้
้ น
และชันรอง
้
ของสถาบันทาง
การเมืองที่เป็ นหลักในการ
กาหนดนโยบายและการปฏิบตั ิ
นโยบาย
 เช่น นโยบายรัฐบาล พรรค
การเมือง สภาอุตสาหกรรม
องค์กรเกษตรกรรม องค์พฒ
ั นา
เอกชนทังหลาย
้
 กรอบเวลาเอาจากปั จจุบน
ั
ค่อยๆย้ อนหลังไปสูจ่ ดุ เริ่ มแรก

รายงานผลการปฏิบตั ิงาน

การนานโยบายไปปฏิบตั ิ ดูการ
ทางานของกระทรวง ไปถึง
หน่วยงานหลักๆในประเด็น
นโยบายนันๆ
้ ผลของการ
ปฏิบตั ิงาน เอกสารได้ แก่
รายงานประจาปี ของกระทรวง
กรมกองต่างๆ สถิติตวั เลขต่างๆ
รัฐ
กระทรวง
จังหวัด
แบบที่สอง ไม่ผกู ติดกับหน่วยทางการเมืองที่เป็ น
สถาบัน

หัวข้ อและเนื ้อเรื่ องอาจกระจัดกระจาย
และกรอบเวลาอาจยาวมาก ห้ องสมุด
อาจกาหนดหัวข้ อและกรอบเวลาจาก
ความเหมาะสมของตนเอง เช่น
ห้ องสมุดในภาคใต้ อาจมุง่ ไปทาง
ภูมิศาสตร์ ของภาคพื ้นทะเล มาเลย์เซีย
อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และบรู ไน
ท้ องถิ่นมีความสนใจและศักยภาพใน
ประเด็นอะไรไหม ในมหาวิทยาลัย
คณะ ภาควิชาไปถึงคณาจารย์วา่ มี
ความสนใจ ความถนัด ความสามารถ
ในเรื่ องอะไร ก็อาจเริ่ มจากเรื่ อง
เหล่านัน้ แล้ วค่อยไปขยายต่อยอดไป
ยังเรื่ องอื่นๆต่อไป
ประสบการณ์ในการใช้ ห้องสมุดเอเชียสาหรับการ
ค้ นคว้ าและวิจยั

อ่านหนังสือพิมพ์ เอกสาร หนังสือใน
สมัยก่อน เป็ นการค้ นจากเอกสาร
ชันต้
้ น เป็ นฐานของห้ องสมุดวิจยั ที่
ต้ องมี การรวบรวมเอกสาร ห้ องสมุด
อาศัยการแนะนาและช่วยเก็บจาก
นักวิชาการ อาจารย์ในคณะและ
ภาควิชาที่ไปลงพื ้นที่ สามารถนามา
บอกได้ วา่ อะไรอยูท่ ี่ไหน หามาได้
อย่างไร

ประการต่อมาคือการค้ นและอ่าน
จากหลักฐานชันรองทั
้
งหลาย
้
คือ
หนังสือ บันทึกความทรงจา แปล ไป
ถึงวิทยานิพนธ์ ที่มีคนศึกษาเรื่ อง
เหล่านันไว้
้ ก่อนแล้ ว ให้ ได้ มากและ
ครบถ้ วนที่สดุ เป็ นงานที่ใช้ เวลา
อุตสาหะ แต่จะเกิดผลในที่สดุ
การเก็บสะสมข้ อมูล

ประวัติจอห์น เอโคล์ และเดวิด วัยอาจ กับการทาห้ องสมุดเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ที่คอร์ แนล
การทาให้ แหล่งสารสนเทศท้ องถิ่นเป็ นแหล่งเรี ยนรู้
ระดับชาติ

จัดกิจกรรมการวิจยั ค้ นคว้ า เชิญหรื อให้ ทนุ แก่นกั วิจยั ที่ต่างๆมานัง่ ทางานใน
ท้ องที่ เช่น ห้ องสมุดนิวยอร์ ก ห้ องสมุดคองเกรส ห้ องสมุดแห่งชาติแคนเบอ
รา เป็ นต้ น
กิจกรรม: วิจยั ศึกษา ค้ นคว้ า อภิปราย

ติดต่อให้ นกั ศึกษา นักวิจยั จาก
ภูมิภาคมาทางานเกี่ยวกับ
เอกสารหรื อชุดเอกสารของ
ประเทศนันๆ
้ เช่นเรื่ องอินโดนีเซีย
อิสลาม ให้ นส.จากอินโดหรื อ
มาเลย์เซียมาทาเป็ นต้ น
Collection
 Archives
 Manuscripts
 Papers………….

บุคลากร:

การส่งเสริมบุคลากรและ
มาตรฐานการดาเนินงานของ
สมาชิก ผ่านการทางานและ
เรี ยนรู้ร่วมกับนักวิจยั ภายนอก อีก
ด้ านคือ แลกเปลี่ยนกับห้ องสมุด
อื่นๆ