การเจียระไนแบบโค้งมนหลังเต่าหลังเบี้ย (Cabochon cut)
Download
Report
Transcript การเจียระไนแบบโค้งมนหลังเต่าหลังเบี้ย (Cabochon cut)
สื่ อการเรียนการสอนอุตสาหกรรมแร่
เรื่อง แร่ รัตนชาติ
วิชาเคมี 5 ว 30225
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2557
โรงเรียนเชียงของวิทยาคม
หิ น แร่ หรื อ สารอินทรี ยท์ ี่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เมื่อได้รับการเจียระไน
ตกแต่งแล้ว มีความสวยงามดึงดูดใจและมีความทนทานพอที่จะใช้เป็ น
เครื่ องประดับ ตกแต่ง พกพาได้
ทัวร์ มาลีน
ควอตซ์ ตาเสือ
เพทาย
หยก
เบริล (มรกต)
คอรั นดัม (ทับทิม)
• แหล่งแร่ แบบสะสมตัวแบบหินตะกอนหรือแหล่ งสะสมแบบลานแร่
• สายแร่ เพกมาไทต์ ซึ่งมักเป็ นแหล่งแร่ ทใี่ ห้ ผลึกแร่ หรือผลึกรัตนชาติทมี่ ี
ขนาดใหญ่
• หินแปรซึ่งมักเป็ นรัตนชาติที่ค่อนข้ างหายาก เช่ น หยก ทับทิม
แหล่ งทีพ่ บพลอยในประเทศไทยทีจ่ ังหวัดจันทบุรี ตราด และกาญจนบุรี
ส่ วนเพชรพบทีล่ านแร่ ดบี ุกทีจ่ ังหวัดภูเก็ตและพังงาแต่ มปี ริมาณน้ อยคุณภาพต่ามาก
แร่
สู ตรทางเคมี
เพชร
คอรันดัม
โทแปส
ควอร์ ตซ์
อะปาไทต์
ฟลูออไรต์
แคลไซต์
ยิปซัม
ทัลด์
C
Al2O3
KCl
SiO2
Ca5 (PO4) 3 (F,Cl,OH)
CaF2 (Calcium Fluoride)
(CaCO3)
CaSO4·2H2O) CaSO4.H2O)
(Mg3Si4O10(OH)2)
ไพลิน
บุษราคัม
1.แร่ คอรันดัม มีสีที่ต่างกันประกอบด้วยธาตุอะลูมิเนียม และออกซิเจนเหมือนกัน เช่น แร่
คอรันดัมสี น้ าเงิน เรี ยกว่า ไพลิน สี แดง เรี ยกว่า ทับทิม และสี เหลือง เรี ยกว่า บุษราคัม
2.แร่ ควอตซ์ มีสีที่ต่างกัน ประกอบด้วยธาตุซิลิกอนและออกซิเจนเหมือนกัน เช่น ควอตซ์
สี ม่วง เรี ยกว่า แอเมทิสต์ และสี เหลือง เรี ยกว่า ซีทริ น
แอเมทิสต์
ซีทริน
คือ ความสามารถของรัตนชาติในการต้านทานต่อการขูดขีด ขัดสี สึ กกร่ อนบน
ผิวหน้าเรี ยบ และความแข็งเป็ นคุณสมบัติที่สาคัญต่อการคงทน
คือ คุณสมบัติของแร่ รัตนชาติที่สามารถต้านทานต่อการแตกหัก แตกร้าว กระเทาะ
แหว่งได้ เป็ นคุณสมบัติที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่มีผลต่ความคงทนถาวรของแร่ รัตนชาติ
ความเหนียวของแร่ รัตนชาติเป็ นผลมาจากโครงสร้างของเนื้อแร่ หรื อผลึกแร่ มคี วามเกาะ
เกี่ยวกันแน่น
ปั จจัยที่ทาให้ค่าความเหนียวของรัตนชาติลดลดง คือ แนวแตกเรี ยบ(cleavage) การ
แตกแบบขนาน (parting) และรอยแตก(fracture)
เป็ นรู ปร่ างภายนอกของรัตนชาติชนิดต่างๆ ที่มองเห็นได้มกั จะเกิดเป็ นผลึกและมี
การเติบโตขยายออกเป็ นรู ปร่ างเห็นเด่นชัดเฉพาะตัว เช่น โกเมน พบเป็ นลักษณะรู ปแบบ
กลมคล้ายลูกตะกร้อ เพชรและสปิ เนล พบในลักษณะแบบแปดหน้ารู ปพีระมิด แร่ ควอตซ์
พบในลักษณะแบบหกเหลี่ยม
สปิ เนล
โกเมน
ควอตซ์
สี ต่างๆ ของแร่ รัตนชาติชนิดต่างๆ เป็ นผลเนื่องจากลักษณะธรรมชาติของแสงกับแร่
รัตนชาติ และมีกระบวนการหลายอย่างก่อให้เกิดสี ได้แก่
• องค์ประกอบส่ วนใหญ่ทางเคมีและทางกายภาพของแร่ รัตนชาติ
• มลทินทางเคมีภายนอกอื่นๆ เข้าไปในเนื้อ (พบเป็ นส่ วนมาก)
• การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในแร่ รัตนชาติ
ทัวร์ มาลีน
คือ ระดับความเร็ วของแสงที่ลดลงเมื่อผ่านเข้าไปในแร่ รัตนชาติเปรี ยบเทียบกับ
ความเร็ วของแสงในอากาศ จะทาให้เกิดการหักเหของแสงขึ้นซึ่งแล้วแต่คุณสมบัติของ
ผลึก แร่ รัตนชาติ บางชนิดจะแสดงค่าดัชนีหกั เหแสงเพียงค่าเดียว เช่น เพชร สปิ เนล
โกเมน ซึ่งบางตัวจะแสดงดัชนีหกั เหแสง 2 หรื อ 3 ค่า เช่น ไพลิน ทับทิม มรกต
คือ แสงสีขาวที่สอ่ งผ่านเข้ าไปในแร่รัตนชาติจะเกิดการหักเห และแบ่งแยก
ออกเป็ นลาแสงหลากหลายสีตามมุมที่แตกต่างกันของการหักเหแล้ วสะท้ อนออกมา
ให้ เห็นเป็ นสีต่างๆ เช่นเดียวกับการเกิดรุ้งกินน ้า ซึง่ สามารถเห็นคุณสมบัตินี ้ได้ ง่ายใน
แร่รัตนชาติที่มีความโปร่งใส ไม่มีสี ซึง่ แร่ รัตนชาติแต่ละชนิดก็จะแสดงคุณสมบัตินี ้
แตกต่างกัน
โทแพช
สปิ เนล
เพชร
ส่ วนสาคัญของรู ปร่ าง แร่ รัตนชาติที่เจียระไนแบบหน้าเหลี่ยม จะมีส่วนประกอบสาคัญ 5
ส่ วน คือ
1.บริ เวณส่ วนหน้าหรื อส่ วนบน (Crown)
2.บริ เวณส่ วนฐานหรื อส่ วนล่าง (Pavilion)
3.บริ เวณปลายส่ วนฐานหรื อส่ วนล่าง (Culet)
4.บริ เวณขอบ (Girdle) ซึ่งเป็ นพื้นที่แคบโดยเป็ นรอยต่อระหว่างส่ วนหน้าและส่ วนฐานของ
รัตนชาติ
5.ส่ วนหน้าเหลี่ยมต่างๆ ของแร่ รัตนชาติ (Facets)
การเจียระไนแบบนี้มีรูปร่ างตรงกันข้ามกับการเจียระไนแบบหน้าเหลี่ยม โดยจะมี
พื้นผิวโค้งมนบริ เวณส่ วนหน้าของรัตนชาติ หรื อส่ วนฐานด้วย รู ปร่ างโดยทัว่ ไปมักจะ
เป็ นรู ปไข่ กลม หยดน้ า
ส่ วนสาคัญของรู ปร่ าง
1.บริ เวณส่ วนหน้า
2.บริ เวณส่ วนขอบ
3.บริ เวณส่ วนฐาน
1.มีประโยชน์ในการนามาเจียรนัยเพื่อทาเป็ นเครื่ องประดับ
2.นามาใช้ในงานอุตสาหกรรม
แบบฝึ กหัด
จงเติมเครื่องหมาย หรือ หน้ าข้ อความดังต่ อไปนี้
1……….. เพชรประกอบด้วยผลึกของธาตุคาร์ บอนมีโครงสร้างเป็ นร่ างตาข่าย
2……….. เพชรเป็ นแร่ ที่มีความแข็งที่สุด ไม่นาไฟฟ้ า แต่นาความร้อนได้ดีที่สุด และ
ดีกว่าทองแดง
3…………แร่ รัตนชาติ เป็ น “โลหะ” ที่มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย
4…………สารอินทรี ย ์ คือ รัตนชาติหรื ออัญมณี ที่ได้มาจากสิ่ งมีชีวิต เช่นอาพัน ไข่มุก
หิ นปะการัง
5…………สารอนินทรี ย ์ คือ รัตนชาติ หรื ออัญมณี ที่ได้มาจากแร่ ธาตุที่อยูใ่ ต้ผิวโลก เช่น
ทับทิม ไพลิน
6…………รัตนชาติ หรื ออัญมณี คือ “แร่ และสารประกอบอนินทรี ยท์ ี่นามาใช้เป็ น
เครื่ องประดับ”
7………… คอรันดัมมีส่วนประกอบหลักเป็ น อะลูมิเนียมออกไซด์
8………… ไข่มุกเกิดจากสิ่ งมีชีวิตพวกหอยมุกหรื อหอยจอบ และจัดเป็ นแร่ รัตน
ชาติ เพราะมีความสวยงามและหายาก
9………… ทับทิม มีส่วนประกอบหลักเป็ น อะลูมิเนียมออกไซด์ มีความแข็ง
มากกว่าเพชร
10……….. การย้อมเคลือบสี คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิดทาให้พลอย
มีสีสันสวยงาม
11..……… การสังเคราะห์เพชรโดยอัดแกรไฟต์ภายใต้ความดัน 50,000-100,000
บรรยากาศที่อุณหภูมิ 1000 องศา
12……….. การเจียระไนอัญมณี คือการทาให้แสงหักเหสะท้อนกลับไปมาในผลึก
แล้วสะท้อนกลับมาด้านหลัง
13………… อัญมณี ต่างชนิดกัน ถ้ามีความแข็งเท่ากัน จะมีค่าความถ่วงจาาเพาะ
เท่ากัน
14………… หลักการเจียระไนอัญมณี คือการให้แสงตกกระทบถูกสะท้อนออกมา
มากที่สุด
15………… เพชรแท้ กับเพชรเทียมมีค่าความถ่วงจาเพาะต่างกัน แต่ดชั นีหกั เห
ของแสงเท่ากัน
เฉลย
จงเติมเครื่องหมาย หรือ หน้ าข้ อความดังต่ อไปนี ้
1… ….. เพชรประกอบด้ วยผลึกของธาตุคาร์ บอนมีโครงสร้ างเป็ นร่างตาข่าย
2… ….. เพชรเป็ นแร่ที่มีความแข็งที่สดุ ไม่นาไฟฟ้า แต่นาความร้ อนได้ ดีที่สดุ และ
ดีกว่าทองแดง
3… ……แร่ รัตนชาติ เป็ น “โลหะ” ที่มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย
4… ……สารอินทรี ย์ คือ รัตนชาติหรื ออัญมณีที่ได้ มาจากสิ่งมีชีวิต เช่นอาพัน
ไข่มกุ หินปะการัง
5… ……สารอนินทรี ย์ คือ รัตนชาติ หรื ออัญมณีที่ได้ มาจากแร่ธาตุที่อยูใ่ ต้ ผิวโลก
เช่น ทับทิม ไพลิน
6… ……รัตนชาติ หรื ออัญมณี คือ “แร่และสารประกอบอนินทรี ย์ที่นามาใช้ เป็ น
เครื่ องประดับ”
7… …… คอรันดัมมีสว่ นประกอบหลักเป็ น อะลูมิเนียมออกไซด์
8… …… ไข่มุกเกิดจากสิ่ งมีชีวิตพวกหอยมุกหรื อหอยจอบ และจัดเป็ นแร่ รัตน
ชาติ เพราะมีความสวยงามและหายาก
9… …… ทับทิม มีส่วนประกอบหลักเป็ น อะลูมิเนียมออกไซด์ มีความแข็ง
มากกว่าเพชร
10… ….. การย้อมเคลือบสี คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิดทาให้
พลอยมีสีสันสวยงาม
11… …… การสังเคราะห์เพชรโดยอัดแกรไฟต์ภายใต้ความดัน 50,000-100,000
บรรยากาศที่อุณหภูมิ 1000 องศา
12… ….. การเจียระไนอัญมณี คือการทาให้แสงหักเหสะท้อนกลับไปมาในผลึก
แล้วสะท้อนกลับมาด้านหลัง
13… …… อัญมณี ต่างชนิดกัน ถ้ามีความแข็งเท่ากัน จะมีค่าความถ่วงจาาเพาะ
เท่ากัน
14… …… หลักการเจียระไนอัญมณี คือการให้แสงตกกระทบถูกสะท้อน
ออกมามากที่สุด
15… …… เพชรแท้ กับเพชรเทียมมีค่าความถ่วงจาเพาะต่างกัน แต่ดชั นีหกั เห
ของแสงเท่ากัน
http://writer.dek-d.com/i_jungz/story/viewlongc.php?id=244855&chapter=1
http://www.geminlove.com/th/category/catalog/อัญมณี /เพทาย-zircon
http://www.ketsirintr.wordpress.com
http://www.kr.ac.th/ebook/petcharat/b3.html
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=free4u&month=11
http://www.phayuwittaya.blogspot.com/2011/09/blog-post.html
http://www.dpim.go.th/laws/article?catid=120&articleid=171
http://www.writer.dek-d.com/tatiza/story/view.php?id=777377
http://www.dmr.go.th/more_news.php?cid=101&filename=index
https://www.facebook.com/pages/...แร่ รัตนชาติ/656669344394957
จัดทาโดย
1.นาย ปิ ยะราช โรมพันธ์ เลขที่ 3
2.นาย สุ ทธิรัตน์ ไชยราช เลขที่ 8
3.น.ส. จุฑามาส อุ่นใน เลขที่ 15
4.น.ส. ปาริฉัตร สุ ปินะ เลขที่ 18
5.น.ส. ปิ ยะมาศ ปิ งวงค์ เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/2
เสนอ
ครู แสงหล้ า คาหมั้น
วิชาเคมี ว 30225
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2557
โรงเรียนเชียงของวิทยาคม