PPT_ethesis&akaravisut200357

Download Report

Transcript PPT_ethesis&akaravisut200357

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
20 มีนาคม 2557
มาตรการและเครื่องมือที่จุฬาฯ นามาใช้
ในการป้องกันการลักลอกผลงานวิชาการ
จุฬาฯ 100 ปี
ต้องไม่มี Plagiarism
3
ต้นสาย-ปลายทางของวิทยานิพนธ์
ทาการทดลอง
เก็บข้อมูล
วิเคราะห์ผล
ตรวจสอบ
เขียน
วิทยานิพนธ์
Plagiarism
ห้องสมุด
CUIR
บัณฑิตวิทยาลัย
4
ประเด็นปั ญหาในการทาวิทยานิพนธ์
การลักลอกผลงานทางวิชาการ
การจ้างทาวิทยานิพนธ์
5
ดีกว่า
7
3 มาตรการ
ป้องกันการลักลอกผลงานวิชาการ
8
1. มาตรการสร้างจิ ตสานึก
 แจกเอกสารแนะนาและอบรมนิสิตเกีย่ วกับ
“Plagiarism” ตลอดจนมาตรการการตรวจสอบ
 เปิ ดรายวิชา “จริยธรรมการวิจยั ” เป็ นรายวิชาเรียน
ออนไลน์ ทีน่ ิสิตทุกคนต้องลงทะเบียนและสอบผ่าน
 อบรมอาจารย์ทีป
่ รึกษาวิทยานิพนธ์
9
เอกสารแนะนาและอบรมนิสิตเกีย่ วกับ
“Plagiarism”
10
จัดโครงการอบรม
“การปฏิบตั ิหน้าทีอ่ าจารย์ทีป่ รึกษา
วิทยานิพนธ์”
ครั้งที่ 1 : พ.ค. 2556 / 108 คน
ครั้งที่ 2 : ต.ค. 2556 / 48 คน
ครั้งที่ 3 : ม.ค. 2557
11
เปิ ดรายวิชา “จริยธรรมการวิจยั ”
เนื้ อหารายวิชาจริยธรรมการวิจยั ใน
ระบบ Blackboard มีท้ งั หมด 8 บทเรียน ดังนี้
บทนา
บทที่ 1 การวิจยั และจริยธรรมการวิจยั
บทที่ 2 การได้มาซึ่งข้อมูลและการจัดการข้อมูล
บทที่ 3 การเป็ นเจ้าของงานประพันธ์และการ
ตีพมิ พ์
บทที่ 4 การประพฤติผิดทางการวิจยั
บทที่ 5 การใช้สตั ว์ทดลองในการวิจยั
บทที่ 6 พีเ่ ลี้ ยงในงานวิจยั และงานวิจยั ร่วม
บทที่ 7 ภาวะส่วนตัว การถือเป็ นความเฉพาะ
และผลประโยชน์ขดั กัน
บทที่ 8 กระบวนการตรวจสอบจริยธรรมการ
วิจยั ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12
2. มาตรการป้องปราม
 กาหนดให้นิสิตส่งแบบรายงานความก้าวหน้าและ
แผนการทาวิทยานิพนธ์ทุกภาคการศึกษา
 กาหนดให้นิสิตเขียนวิทยานิพนธ์ดว้ ย
โปรแกรม “CU E-THESIS”
13
การกาหนดให้นิสิตเขียนวิทยานิพนธ์ดว้ ย
โปรแกรม “CU E-THESIS”
14
เขียน
วิทยานิพนธ์
ปั ญหา - การเขียนวิทยานิพนธ์

รูปแบบการเขียน (Format) ผิดเพี้ ยน จากรุ่นพีส่ ู่ร่นุ น้อง
 หน้าแรก/หน้าลายเซ็ นกรรมการ/สารบัญ มักผิดบ่อย
 เอกสารอ้างอิงไม่ถูกต้องสมบู รณ์
 อาจารย์ทีป
่ รึกษาพบปั ญหาเมือ่ สายเกินไป
 Digital File ของวิทยานิพนธ์ทีส
่ ่งให้หอ้ งสมุด
มีหลากหลาย version ยุ่งยากในการสร้าง Metadata
15
การทดลอง
เก็บข้อมูล
วิเคราะห์ผล
E-THESIS กลไกทีส่ าคัญ
และประโยชน์ทีห่ ลากหลาย
16
e-Thesis
อบรมการใช้งาน CU E-THESIS
เริ่มใช้ ระบบจริง
ครั้งที่ 1 อบรม 2 วัน
วันละ 2 รอบ = 4 รอบ
(9-10 ก.ค. 56)
ก่อนเริ่มใช้ ระบบ
ครั้งที่ 2
อบรม ½ วัน
(28 พ.ย. 56)
27
ขั้นตอนการส่งวิทยานิพนธ์
28
3. มาตรการติดตาม/ตรวจสอบ
 โปรแกรม Turnitin
 โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์
29
ตรวจสอบ
Plagiarism
ปั ญหา - การตรวจสอบการลักลอกผลงาน
• โปรแกรม Turnitin ไม่เหมาะสมในการตรวจสอบ
วิทยานิพนธ์ทีเ่ ขียนเป็ นภาษาไทย
• ค่าใช้จ่ายสูง (ประมาณ 960,000 บาท/ปี )
• ค่อนข้างยุ่งยากในการใช้งาน
30
อักขราวิสทุ ธ์ ิ
การเชื่อมโยงของระบบ
วิทยานิพนธ์
34
ข้อดี E-THESIS + อักขราวิสุทธิ์
นิสิต





มี template สาหรับการเตรียมวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้อง
ส่งงานอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านระบบ
ระบบป้องกันข้อมูลสูญหาย/ได้รบั ความเสียหาย
ข้อมูลพื้ นฐานถูกต้อง ครบถ้วนและทันสมัย
ขั้นตอนการนัดสอบวิทยานิพนธ์และส่งวิทยานิพนธ์
ฉบับสมบูรณ์กระชับขึ้ น
 ป้องกัน Plagiarism โดยไม่เจตนา
35
ข้อดี E-THESIS + อักขราวิสุทธิ์
อาจารย์

หมดภาระในการตรวจสอบรูปแบบการพิมพ์วิทยานิพนธ์
และข้อมูลพื้ นฐาน

ตามงานนิสิตผ่านระบบ และร่วมตรวจสอบ Plagiarism
อย่างใกล้ชิด

ทราบที่มาของข้อมูล/ป้องกันการจ้างทาวิทยานิพนธ์
36
ข้อดี E-THESIS + อักขราวิสุทธิ์
หน่วยงาน

ประหยัดเวลาและทรัพยากรในการตรวจสอบรูปแบบการ
พิมพ์วิทยานิพนธ์ และข้อมูลพื้ นฐาน

ส่งต่อ/แบ่งปั นข้อมูล และนาข้อมูลไปใช้ได้ทนั ที

ความเสีย่ งของการมีวิทยานิพนธ์ทีเ่ ข้าข่าย Plagiarism
ลดลง

มีขอ้ มูลในการบริหารจัดการวิทยานิพนธ์ตลอดเวลา
37
การดาเนินการ
เริ่มใช้งานจริง CU-eThesis
ภาคการศึกษาต้น ปี การศึกษา 2556
วิทยานิพนธ์ ประมาณ 700-800 เล่ม
38
ฐานข้อมูลของอักขราวิสุทธิ์
•
•
•
•
•
•
•
วิทยานิพนธ์ (จุฬาฯ)
สารนิพนธ์ (จุฬาฯ)
วารสาร (จุฬาฯ)
รายงานวิจยั (CUIR)
CU e-Book (จุฬาฯ)
Wikipedia
ฐานข้อมูลอื่นๆ
8,500  10,000 + 2,500 เล่ม/ปี
2,000 รายการ/ปี (ปี 2557)
20+ วารสาร (ปี 2557)
1,000 รายการ (ปี 2557)
100 รายการ (ปี 2557)
39
สิง่ ที่ตอ้ งดาเนินการต่อไป
• กาหนดให้สารนิพนธ์ตอ้ งใช้ E-THESIS และ อักขราวิสุทธิ์
• ปรับปรุงพัฒนาโปรแกรมทั้งสองให้ดีขึ้น
• ขยายฐานข้อมูล
• เปิ ดโอกาสให้มหาวิทยาลัยอื่นใช้ได้ดว้ ย
40
TIME FRAME
ภาคต้น 2556
• จุฬาฯ ใช้ ท้งั มหาวิทยาลัย
• เพิ่มฐานข้ อมูลวิทยานิพนธ์เป็ น 15,000 รายการ
มกราคม-มีนาคม • เพิ่มฐานข้ อมูลวารสารของจุฬาฯ
• เพิ่มฐานข้ อมูล CU e-Book
2557
• เพิ่มฐานข้ อมูล Wikipedia และอื่นๆ
ภาคต้น 2557
• ตรวจสอบสารนิพนธ์ของจุฬาฯ ทั้งหมด
ภาคต้น 2557
• พร้ อมให้ มหาวิทยาลัยอื่นใช้ โปรแกรมและ
ฐานข้ อมูลของจุฬาฯ
41
ขอขอบคุณทีมงานพัฒนา
โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์
• ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
- รองศาสตราจารย์ ดร.วิวฒ
ั น์ วัฒนาวุฒิ
- ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติรตั น์ รัตนามหัทธนะ
- ดร.วิชญ์ เนียรนาทตระกูล
- นายไพโรจน์ ลีลาภัทรกิจ
• ศูนย์วิจยั การประมวลผลภาษาและวัจนะ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
-รองศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล
42
ขอขอบคุณทีมงานพัฒนา CU E-THESIS
บริษทั แฟคเกอร์ จากัด
•
•
•
•
•
•
นายธีรยุทธ โกสินทร์
นายวรพล ว่องวณิชพันธุ ์
นายพรเทพ ปฏิพงศ์วฒ
ั นา
นายวรินทร์ พรใบหยก
นายพงษ์พฒ
ั น์ เป้าเพชร์
นางสาวนันทนัช ตั้งปั ญจศิล
43
บรรยากาศงานแถลงข่าว
26 สิงหาคม 2556
44
ข่าวทีไ่ ด้รบั การเผยแพร่ผ่านสือ่ ต่างๆ อาทิ
45
ให้สมั ภาษณ์ทางสถานีโทรทัศน์
รายการ “ข่าว 5 หน้า 1” ช่อง 5
รายการ “คุยโขมงข่าวเช้า”
ช่อง 9
46
หน่วยงานทีส่ นใจและศึกษาดูงาน
ม.ศิลปากร
19 ก.ค. และ
15 ต.ค. 56
ปี
2556 ม.แม่โจ้
13 ธ.ค. 56
มรภ.เลย
23 ก.ย. 56
ม.อีสเทิรน์
เอเชีย
30 ส.ค. 56
ม.มหิดล
มรภ.
อุดรธานี
20 ธ.ค. 56
ม.นเรศวร
ปี 28 ม.ค. 57
2557 สถาบันบัณฑิต
มหาวิทยาลัย
รามคาแหง
พัฒนาบริหาร
ศาสตร์
25 ก.พ. 57
19 ธ.ค. 56
47
ขอขอบพระคุณทุกท่าน
48