Programming การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ

Download Report

Transcript Programming การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ

บทที่ 2
การเขี ย นโปรแกรม ตอนที่ 1
เนื ้อหาวันนี ้
- ภาษาคอมพิวเตอร์ คือ?
- การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คืออะไร ,รู้ จักคาศัพท์ ต่าง ๆ
- ติดตั้งโปรแกรมและเตรี ยมพร้อมเครื่ องก่อนเขียนโปรแกรม
- แนะนาภาษาจาวา และโครงสร้างของภาษา จาวา
- ตัวแปรและชนิดข้อมูล
- การเขียนคาสั่งโปรแกรมแบบเรี ยงลาดับ(Sequence) (กาหนดค่า คานวณ และแสดงผล
ข้อมูล)
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์

คอมพิ ว เตอร์ จ ะสามารถท างานได้จ ะต้อ งมี ก ารเขี ย น
โปรแกรมหรื อ ซอร์ ฟ แวร์ เพื่ อ สั่ ง ให้ ค อมพิ ว เตอร์ ท างาน
โปรแกรมต่ า ง ๆ ที่ เ ขี ย นขึ้ นมานั้ น จะต้อ งเขี ย นไปตาม
ก ฎ เ ก ณ ฑ์ ข อ ง ภ า ษ า ที่ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ข้ า ใ จ เ รี ย ก ว่ า
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น 5 ยุคคือ
1. ภาษาเครื่ อง (Machine language)
2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language)
3. ภาษาชั้นสู ง (High-level language)หรื อ ภาษารุ่ นที่ 3
(3GL:Third Generation Language)
4. ภาษาชั้นสู งมาก(Very high-level language) หรื อภาษารุ่ นที่ 4 (4GL)
5. ภาษาธรรมชาติ (Natural language) หรื อภาษารุ่ นที่ 5 (5GL)
1. ภาษาเครื่ อง (Machine language)
 เป็ นภาษาพื้นฐานที่คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจได้ แต่
ละคาสัง่ ประกอบขึ้นจากกลุ่มตัวเลข 0 และ 1 ซึ่ งเป็ น
เลขฐานสอง
ภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์รู้จกั
ใช้เลข 0,1
ต้องสัง่ งานอย่างละเอียด
2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language)
 เป็ นภาษาที่ ใ ช้ สั ญ ลั ก ษณ์ ข ้ อ ความ แทนกลุ่ ม ของตั ว
เลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่ อการเขี ยนและการจดจามากขึ้ น
การท างานของโปรแกรมจะต้ อ งท าการแปลภาษา
แอสเซมบลีให้เป็ นภาษาเครื่ อง โดยใช้ตวั แปลที่เรี ยกว่า แอ
สเซมเบลอร์ (Assembler)
ใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลข
ต้องสัง่ งานอย่างละเอียด
ต้องแปลเป็ นภาษาเครื่ องก่อน เช่น
ASSEMBLY LANGUAGE
3. ภาษาชั้นสู ง (High-level language) หรื อภาษารุ่ นที่ 3
(3GL:Third Generation Language)
 ถู ก สร้ า งขึ้ น มาเพื่ อ ให้ เ ขี ย นโปรแกรมได้ง่ า ยขึ้ น โดยมี ล ัก ษณะ
เหมือนกับภาษาอังกฤษทัว่ ไป ผูเ้ ขียนไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้เกี่ยวกับ
ฮาร์ แวร์ แต่อย่างใด ภาษานี้ จาเป็ นต้องมีตวั แปลภาษาเครื่ องเช่นกัน
เรี ยกตัวแปลนี้ ว่า คอมไพเลอร์ (compiler) หรื อ อิ นเตอร์ พรี เตอร์
(Interpreter) อย่างใดอย่างหนึ่ง
 ตัวอย่างของภาษาชั้นสู ง เช่ น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษโคบอล
ภาษเบสิ ก ภาษาฟอร์แทรน
ใช้สมการ/ประโยคง่ายๆ
ไม่ตอ้ งระบุรายละเอียดการทางาน
ต้องแปลเป็ นภาษาเครื่ องก่อน
ต้องรู ้ข้ นั ตอนในการสั่งงาน
4. ภาษาชันสู
้ งมาก (Very high-level language)
หรื อภาษารุ่นที่ 4 (4GL)
 เป็ นภาษาที่มีลกั ษณะคล้ายภาษาพูดตามปกติของมนุ ษย์
ภาษานี้จะช่วยให้การเขียนโปรแกรมเร็ วมากขึ้นกว่าภาษาใน
รุ่ นที่ 3 เนื่องจากมีเครื่ องมือที่ช่วยในการสร้างแบบฟอร์ม
หน้าจอ เพื่อจัดการกับข้อมูลรวมไปถึงการออกรายงาน เมนู
ต่าง ๆ
 ตัวอย่างของภาษาชั้นสู งมากได้แก่ informix-4GL, MAGIC
, Delphi , Power Builder ฯลฯ
5. ภาษาธรรมชาติ (Natural language)
หรื อภาษารุ่นที่ 5 (5GL)
 เป็ นภาษาที่สามารถสัง่ งานคอมพิวเตอร์ โดยใช้รูปแบบของ
ภาษามนุษย์ได้เลย คาสัง่ อยูใ่ นรู ปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว
แต่คอมพิวเตอร์จะทาการแปลให้ออกมาในรู ปที่คอมพิวเตอร์
เข้าใจได้ ภาษานี้ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบ
ผูเ้ ชียวชาญ (Expert system)
 ตัวอย่างภาษาในรุ่ นที่ 5 ได้แก่ ภาษา PROLOG เป็ นต้น
ภาษาระดับสูง (High-level Languages)
้
ภาษาสาคัญทีใ่ ชมาก
15
 FORTRAN
 COBOL
 PASCAL
C
ภาษาเก่าแก่ที่สุดเหมาะสาหรับงานวิทยาศาสตร์/วิศวกรรม
เหมาะสาหรับงานธุรกิจ
เป็ นภาษาที่มีโครงสร้างดี เหมาะสาหรับใช้สอน
ภาษาที่กาลังได้รับความนิยมสามารถสัง่ การให้ควบคุมฮาร์ดแวร์ ได้งา่ ย
 C++
 JAVA
Department of Computer Science
310322 C Programming
-การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คืออะไร ,รู้ จักคาศัพท์ ต่าง ๆ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ?
 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer programming) หรื อ
เรี ยกให้ส้ นั ลงว่า การเขียนโปรแกรม (Programming) หรื อ การ
เขียนโค้ด (coding)
 เป็ นขั้นตอนการเขียน ทดสอบ และดูแล source code ของโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ซึ่ง source code นั้นจะเขียนด้วยภาษาโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 การเขียนโปรแกรมจะได้มาซึ่ ง source code ของโปรแกรมนั้นๆ
โดยปกติแล้วจะอยูใ่ นรู ปแบบของ plain text ซึ่งไม่สามารถ
นาไปใช้งานได้ จะต้องผ่านการคอมไพล์ตวั source code นั้นให้เป็ น
ภาษาเครื่ อง (Machine Language) เสี ยก่อนจึงจะได้เป็ นโปรแกรมที่
พร้อมใช้งาน
source code
source code
 ซอร์ สโค้ ด (source code) หรื ออาจจะเรี ยกว่า ซอร์ ส หรื อ โค้ ด คือข้อความที่เป็ น
ชุดที่ถูกเขียนขึ้น และสามารถอ่านและเข้าใจได้ ใช้สาหรับภาษาโปรแกรม ในการเขียน
โปรแกรมแบบใหม่ ซอร์สโค้ดนิยมเก็บไว้ในไฟล์หลายไฟล์แยกจากกัน เพื่อให้ง่ายในการ
เรี ยกใช้ส่วนย่อยของคาสัง่ นั้น
 ถึง แม้วา่ ซอร์ สโค้ดถูกเขียนขึ้นในลักษณะที่ให้อ่านและแก้ไขได้ง่าย ซอร์ สโค้ดจะถูก
เปลี่ยนเป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการประมวลผลสาหรับคอมพิวเตอร์โดย
คอมไพเลอร์สาหรับโปรแกรมนั้น หรื อ คานวณในทันทีโดยใช้อินเตอร์พรี เตอร์เข้ามาช่วย
สร้าง/แก้ไข Source file.java
Compile ด้วย javac.exe
ผ่าน
ได้ไฟล์ .class
ไม่ผา่ น
กลับไปแก้ไข
Run โปรแกรม(ด้วย
java.exe
ภาษาเครื่ อง
(Machine Language)
ตัวแปลภาษา (Language Translator)
: Interpreter
24
 เป็ นตัวแปลภาษาประเภทที่มีข้ น
ั ตอนการทางานเพียงขั้นตอนเดียว (One
Step Process) กล่าวคือ ในการแปลความหมายเพื่อให้คอมพิวเตอร์
ทางานนั้น ตัวแปลภาษาประเภทนี้ จะทาการแปลคาสั่งทางานไปที่ละคาสั่ง แล้วก็
จะทางานทันทีถา้ คาสั่งนั้นถูกต้อง
Source Code
Input Data
เช่น ภาษา HTML
Interpreter
Output
ตัวแปลภาษา (Language Translator)
: Compiler
25
 ตัวแปลภาษาที่มีข้ น
ั ตอนในการทางาน 2 ขั้นตอน (Two Step
Process) คือ ขั้นตอนการแปลภาษาเพื่อสร้าง Executable Code
และ ขั้นตอนการรันโปรแกรมจาก Executable Code
Compile
Source Code
Link
Target Code
Executable Code
(ขั้นตอนการแปลภาษา)
Executable Code
Input Data
Processor
ขั้นตอนการรันโปรแกรม
Output
ภาษาเครื่ อง
(Machine Language)
เตรี ยมเครื่องให้ พร้ อมก่ อนเขียนโปรแกรมด้ วยจาวา
สิ่งที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม
 Java (j2se,j2ee,…)
 Development Tool
เตรียมตัวก่อนเขียนโปรแกรม
ตรวจสอบความพร้ อมของระบบ
 ระบบปฏิบตั ิการ : มีได้ท้ งั Windows 98, XP, Vista, Linux, Unix, Solaris (ในที่น้ ีผเู ้ ขียนจะ
ใช้ระบบปฏิบตั ิการ Windows XP เป็ นหลัก)
 แรม และพื้นที่วา่ งในฮาร์ ดดิสก์ : สาหรับแรมควรมีขนาดขั้นต่าตามที่ระบบปฏิบตั ิการได้
กาหนดไว้ ส่ วนพื้นที่วา่ งฮาร์ดดิสก์ก่อนติดตั้ง JDK และ EditPlus ไม่ควรต่ากว่า 500 MB
 ความสามารถในการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ต : เพื่อดาวน์โหลด JDK และ EditPlus รวมทั้ง
ทดสอบการเขียนโปรแกรม Applet ด้วย
ดาวน์ โหลด และติดตั้ง JDK
1.
2.
สามารถติดตั้ง JDK ได้จากแผ่นซี ดีได้เลย หรื อจะดาวน์โหลดจากเว็บไซต์
http://java.sun.com/javase/downloads/index.jsp
เมื่อดาวน์โหลดเสร็ จให้ดบั เบิ้ลคลิกที่ไอคอนของไฟล์ที่ดาวน์โหลดไว้
ดาวน์ โหลด และติดตั้ง JDK (ต่ อ)
3. อ่านข้อกาหนดแล้วคลิกปุ่ ม
4. คลิกที่ปุ่ม
ดาวน์ โหลด และติดตั้ง JDK (ต่ อ)
5. รอสักครู่ ชุดติดตั้งจะสอบถามให้ติดตั้งองค์ประกอบเพิ่มเติมคลิก
6. สุ ดท้ายก็คลิก
ปรับแต่ ง และทดสอบหลังติดตั้ง
1.
2.
เลือก Start > Programs > Accessories > Command Prompt
ที่หน้าจอ Command Prompt ให้ป้อนคาสั่ ง java –version เพื่อเป็ นการแสดงเวอร์ชนั
ของ JDK ที่เราเพิ่งติดตั้งไป
ปรับแต่ ง และทดสอบหลังติดตั้ง (ต่ อ)
กาหนด PATH เพือ่ เรียกใช้ โปรแกรมต่ างๆ ใน JDK
3. คลิกขวาที่ My Computer แล้วเลือก Properties
4. คลิกที่แท็บ Advanced แล้วคลิกปุ่ ม
5.
6.
ในกรอบ System variables คลิกเลือกตัวแปรระบบ Path ในรายการ คลิกปุ่ ม
พิมพ์ ต่อท้ ายค่ าที่ปรากฏในช่อง Variable Value ด้วยข้อความ ;C:\Program
Files\Java\jdk1.6.0_16\bin; แล้วคลิกปุ่ ม
การกาหนดค่ าตัวแปร CLASSPATH
7.
8.
ให้คลิกปุ่ ม
จะปรากฏหน้าต่าง New System Variable ขึ้นมา ให้เราตั้งชื่อตัวแปรระบบ และ
กาหนดค่ าของตัวแปรนั้น แล้วคลิกที่ปุ่ม
การกาหนดค่ าตัวแปร CLASSPATH (ต่ อ)
 จะเห็นว่ามีตวั แปรระบบ CLASSPATH สร้างขึ้นมาใหม่ จากนั้นคลิกปุ่ ม
ทดสอบเขียนโปรแกรม จาวา อย่างง่าย ด้ วย Notepad
1.
2.
เปิ ดโปรแกรม notepad
เขียนคาสัง่ ดังนี้
public class ชื่อไฟล์ {
public static void main (String [] args) {
System.out.println("ข้อความ")
}
}
ตัวอย่าง
ทดสอบเขียนโปรแกรม จาวา อย่างง่าย ด้ วย Notepad
3. ให้ต้ งั ชื่อไฟล์ โดยต้องให้เหมือนชื่อไฟล์ในโปรแกรมด้วย ในตัวอย่างนี้คือ
Test
**ตัวอักษรเป็ นตัวพิมพ์เล็กหรื อพิมพ์ใหญ่ตอ้ งเหมือนกันด้วย
4.โดยระบุนามสกุลเป็ น .java
5. เลือกประเภทไฟล์เป็ น all file
6 จัดเก็บไฟล์ ในตัวอย่างนี้จะ save ไฟล์ไว้ที่ C://codejava
จากขันตอน
้
3-6 จะได้ ดงั ภาพ
จากขันตอน
้
3-6 จะได้ ดงั ภาพ
7. เข้าสู่ Dos โดย
Start  Run พิมพ์ cmd แล้ว Enter
การ compile โปรแกรมและ Run โปรแกรมผ่าน Dos
8. ให้พิมพ์ cd/ เพื่อให้ไปที่ตาแหน่ง c:// (Drive C)
9. จากนั้นไปที่ตาแหน่งไฟล์ java
ที่เราเก็บไฟล์โดยพิมพ์
cd codejava
การ compile โปรแกรมและ Run โปรแกรมผ่าน Dos
10 ขั้นตอนการ compile ไฟล์ คือ
พิมพ์ javac ชื่อไฟล์.java
กรณี พบข้อผิดพลาด ให้กลับไปแก้ไข ไฟล์แล้ว save ไฟล์ จากนั้น complie
ไฟล์ อีกครั้ง
กรณี compile ผ่าน(ไม่มีขอ้ ผิดพลาด) จะได้หน้าจอดังภาพ จากนั้นก็ไปที่
ขั้นตอน Run โปรแกรม
การ compile โปรแกรมและ Run โปรแกรมผ่าน Dos
11 จากขั้นตอนถ้า compile ผ่านเราจะได้ไฟล์เพิ่มมา 1 ไฟล์ชื่อ
ชื่อไฟล์.class ในตัวอย่างนี้คือ Test.class
12. ขั้นตอน run โปรแกรมโดยจะทาการ run ไฟล์ .class ที่ได้
โดยพิมพ์ java ชื่อไฟล์
ผล run จากโปรแกรม บน Dos
13 แสดงผลจากโปรแกรมโดยในโปรแกรมนี้ให้พิมพ์ขอ้ ความว่า
Hi !There ดังภาพ
Development Tool
 Jbuilder
 Oracle JDeveloper
 Gel
 BlueJ
 Java Forte
 EditPlus
 เราจะใช้ EditPlus ฝึ กเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Edit plus
สาหรั บเขียนโปรแกรม Java
 - Borland JBuilder : ช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เหมือนกับการเขียนโปรแกรม
ประเภท Visual ภาษาอื่น ๆ (แต่ไม่ฟรี ) เป็ นผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั Borland สามารถ
Download เพื่อ
 ทดลองใช้งานได้ที่ www.borland.com
 - Sun One Studio : เป็ นผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั Sun Microsystem สามารถ Download
เพื่อทดลองใช้งานได้ที่ http://java.sun.com
 -Editplus : มีความสามารถในการรองรับภาษาเขียนโปรแกรมได้หลายภาษา สามารถ
Download เพื่อทดลองใช้งานได้ที่ www.editplus.com
สาหรั บเขียนโปรแกรม Java
 - BlueJ
: เป็ นผลิตภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยแห่ งหนึ่ งในเดนมาร์ ก เมื่อเขียน
โปรแกรม Editor ชนิดนี้จะทาการสร้าง Class Diagram ของโปรแกรมนั้น ๆ และยัง
เชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์กบั Class หรื อโปรแกรมอื่น ๆ อีกด้วย
 - NotePad : เป็ น Editor ที่มีอยูใ่ นระบบของ Windows โดยที่คุณไม่จาเป็ นต้องติดตั้ง
เพิ่ม แต่มีขอ้ เสี ยคือ ไม่สามารถแสดงหมายเลขบรรทัดของคาสั่ง (line of code) ได้
 - NetBeans : ทาให้ง่ายและสามารถลดเวลาในการเขียนโปรแกรม สามารถพัฒนา
ระบบงานได้เร็ วขึ้น เหมาะสาหรับการใช้ Swing และสร้างการโต้ตอบแบบ GUI
สามารถ Download โปรแกรมเพื่อติดตั้งใช้งานได้ที่ www.netbeans.org
 นอกจากที่กล่าวมาแล้ว ยังมี Editor อื่น ๆ อีกที่รองรับการเขียนโปรแกรมภาษา Java
ไฟล์สาคัญของจาวาที่ตอ้ งใช้
 จากโฟล์เดอร์ C:\Program Files\Java\jdk1.6.0_16\bin
 Javac.exe สาหรับคอมไพล์จาวา
 Java.exe สาหรับรันโปรแกรมจาวา
 Appletviewer.exe
สาหรับดู applet
มารู้จักซอฟแวร์ สาหรับสร้ างโปรแกรมภาษา
 ซอฟต์แวร์ ที่ใช้ชื่อว่า EditPlus
 สามารถสร้างโปรแกรมได้หลายภาษาโดยจะมีสีแยก
ประเภทของคาในแต่ละภาษาให้ ทาให้สะดวกต่อการอ่าน
โปรแกรม
 ให้ทาการสร้าง config เพื่อให้โปรแกรมเราสามารถ
คอมไพล์ไฟล์โปรแกรมจาวาและรันไฟล์โปรแกรมจาวา
ได้
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่อนนะคะ
เลือก font ที่สามารถใช้ภาษาไทยได้
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่อนนะคะ
 ทาการสร้าง config เพื่อให้โปรแกรม EditPlus สามารถคอมไพล์และรัน
โปรแกรมภาษาจาวาได้
การกาหนด Config User Tool
 Java Compile
 C:\Program Files\Java\jdk1.6.0_16\bin\Javac.exe
 Java RUN
 C:\Program Files\Java\jdk1.6.0_16\bin\Java.exe
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อน
คลิก add tool/Program แล้วเติมข้อความดังในภาพด้านล่างทั้งสอง
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อน (compiler)
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อน(run)
เมือ่ ทำทุกอย่ำงเรียบร้อยแล้วให้กดปุ่ม OK เพือ่ ทำกำรบันทึกคำสัง่ ทีเ่ รำสร้ำงึึนน ให้ EditPlus รู้จกั
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อน
คลิก add tool/Program แล้วเติมข้อความดังในภาพด้านล่างทั้งสอง
ซ้าย set compiler
ขวา set run
เริ่ มใช้ โปรแกรม EditPlus
 เปิ ดโปรแกรม EditPlus ขึ้นมา
 คลิกเมนู File/New เลือก java
 ลองพิมพ์ไฟล์ต่อไปนี้แล้วบันทึกในชื่อ HelloWorld.java
class HelloWorld
{
public static void main(String[] args)
{
System.out.println("Hello World! สวัสดี ชาวโลก");
}
}
ลองสร้ างโปรแกรมแรกกันเถอะ
เบือ้ งหลังการทางานของโปรแกรมภาษา Java
 เราเขียนโปรแกรมของภาษา Java เราจะได้ Source Code ซึ่ งเป็ นไฟล์ที่มีนามสกุลเป็ น
.java จากนั้นเรานา Source Code ไปคอมไฟล์ให้กลายเป็ นเป็ น Java Byte Code (จะเก็บอยู่
ในไฟล์ .class)
 เวลาที่ทางานจริ งในคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ใดๆ ก็ตาม Java Byte Code จะถูกคอมไพล์
อีกครั้งให้เป็ นภาษาเครื่ องเฉพาะคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์น้ นั ๆ เข้าใจ การคอมไพล์ครั้งนี้
จะใช้ Java Virtual Machine (JVM) คอมไพล์ และรัน
เบือ้ งหลังการทางานของโปรแกรมภาษา Java
Interpreter
Javac.exe
Java.exe
เบือ้ งหลังการทางานของโปรแกรมภาษา Java
compile ด้ วยการกด Ctrl + 1
หลังจาก compile เราจะได้ ไฟล์ .class(Byte Code)
run ด้ วยการกด Ctrl + 2
Output
แนะนาภาษาจาวา และโครงสร้างของภาษา จาวา
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวา
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวาแบบพื้นฐานที่สุดจะต้องประกอบไปด้วย
องค์ประกอบ 3 ส่ วนหลัก ได้แก่
ชื่อคลาส นิยมขึ้นต้นคา
1) คลาส (Class)
ด้วยตัวพิมพ์ใหญ่
เช่น
Test1,Student
ใช้เครื่ องหมาย ปี กกาเพื่อ
บอกขอบเขตของ class
ตัวอย่างการสร้ าง class ชื่อ FirstProgram
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวา
2) เมท็อด (method)
[modifier] ชนิดของข้อมูลที่จะส่ งกลับออกไป ชื่อเมธอด ([อาร์กิวเมนต์])
{
[รายละเอียดการทางานในเมธอด ]
}
 Argument
คือช่องทางสาหรับการผ่านข้อมูลเพื่อส่ งให้กบั เมธรอดใช้ใน
ในส่ วนนี้ให้รู้จกั ก่อน
การทางาน
บทท้าย ๆจะกลับมา
 สั ญลักษณ์ { และ } เป็ นเครื่ องหมายบ่งบอกขอบเขตของเมธรอด
ให้รายละเอียดเพิม่ เติม
 ถ้าไม่มีขอ้ มูลที่จะส่ งกลับก็ให้กาหนดค่าเป็ น “void”
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวา
 2.1 รู้ จักกับ method ชื่อ main
ชื่อ method นิยมขึ้นต้นคา
ด้วยตัวพิมพ์เล็ก
ใช้เครื่ องหมาย ปี กกาเพื่อบอกขอบเขตของ
method ซึ่ งจะซ้อนเข้าไปในขอบเขต
ของ class อีกชั้นหนึ่ง
ตัวอย่างการสร้ าง method main ของ class ชื่อ
FirstProgram
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวา
 3) คาสั่ ง (Statement)
คาสัง่ แต่ละคาสัง่ จะจบด้วยเครื่ องหมาย semicolon (;)
ตัวอย่างคาสัง่
จบด้วยเครื่ องหมาย ;
int x=1;
หมายถึง ประกาศตัวแปร x เป็ นชนิดข้อมูลประเภทตัวเลข และกาหนดค่า x เท่ากับ 1
ชนิดของตัวแปร คือ ชนิดตัวเลข
โปรแกรมส่ วนใหญ่ ประกอบด้ วยกิจกรรม 3 ส่ วน
1. input
2. process
3. output
คาสั่ ง แสดงผล (output)
คาสัง่ แสดงผลข้ อมูล (ทางหน้ าจอ)
ระบุตวั เลข ,ตัว
แปร ,ข้อความ
ตัวอย่าง แสดงข้ อมูล ตัวเลข 3
ระบุข้อมูลแบบ คานวณตัวเลข
ตัวอย่างแสดงข้ อมูล ข้ อความ “สวัสดี คะ”
ใช้ “ ” ในการแสดงข้อมูลทีเป็ น ข้อความ
ตัวอย่างแสดงข้ อมูล ค่าของตัวแปร
การประกาศตัวแปร x
เก็บชนิดข้อมูลตัวเลข 1
(จะเรี ยนในเรื่ อง การ
สร้างตัวแปร และชนิด
ข้อมูล)
ตัวอย่างแสดงข้ อมูล ข้ อความ และ ตัวแปร
ใช้เครื่ องหมาย +
เมื่อต้องการแสดงข้อมูล
ข้อความ และต้องการแสดง
ค่าของตัวแปร
คาสัง่ ให้ แสดงข้ อมูล บรรทัดใหม่
หมายถึง เมื่อแสดงข้อมูลในวงเล็บนี้แล้ว ให้ข้ ึนบรรทัดใหม่
ตัวอย่างการใช้ print และ println
การแสดงผล แบบต่าง ๆ
ผลจากส่วนของโปรแกรม คือ ?
02
2
02
32
032
032
05
โปรแกรมส่ วนใหญ่ ประกอบด้ วยกิจกรรม 3 ส่ วน
1. input
2. process
3. output
คาสั่ง แบบการคานวณ และ การกาหนดค่ าให้ กับตัวแปร
ตัวอย่าง การประกาศตัวแปรและกาหนดค่าให้ กบั ตัวแปร
ชนิดของตัวแปร
ในตัวอย่างนี้คือ
เป็ นชนิดจานวนเต็ม
ตัวแปร
int score=50;
กาหนดค่าให้กบั
ตัวแปร = 50
คาสั่ง แบบการคานวณ และ การกาหนดค่ าให้ กับตัวแปร
1. กฎการตั้งชื่อตัวแปร
2. ประเภทของข้อมูล
3. รู ปแบบการประกาศตัวแปร และรู ปแบบการ
กาหนดค่า
กฎการตังชื
้ ่อตัวแปร
1.ซึ่งที่ต้ งั สามารถประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ
ตัวเลข underscore(_),dollar sign($)
myCom2 
2.แต่ต้ งั ขึ้นต้นด้วยภาษาอังกฤษ _mycom2
,_ ,$ เท่านั้น (ห้
าม
ขึ้นต้นด้วยตัวเลข)
_myCom$ 
my_Com2 
2mycom 
กฎการตังชื
้ ่อ Identify
3. ชื่อที่ต้ งั เว้นวรรค หรื อ มีช่องว่างไม่ได้
my_Com2 
my com2 
กฎการตังชื
้ ่อ Identify
4. จาวาเป็ น case-sensitive เหมือนกับ C คือ
ภาษาอังกฤษตัวใหญ่ ตัวเล็กถือว่าแตกต่างกันต้อง
ระมัดระวังให้ดี ไม่เช่นนั้นจะเกิดขึ้นผิดพลาดได้
myCom, Mycom, MYCOM
กฎการตังชื
้ ่อ Identify
5. ความยาวตัวอักษรไม่ควรเกิน 65535 ตัวอักษร
6 ชื่อตัวแปรห้ามตั้งซ้ ากันภายใน method เดียวกัน
(ต่าง method ซ้ าได้)
เช่น
name name
กฎการตังชื
้ ่อ Identify
7. ต้องไม่ตรงกับคียเ์ วิร์ด (Keyword )ใดในภาษาจาวาดังต่อไปนี้
Keyword คือ ชื่อที่มีความหมายพิเศษในจาวา compilerของภาษาจาวาจะเข้าใจความหมาย
และคาสัง่ ที่จะต้องดาเนินการสาหรับ keyword แต่ละตัว
เพิ่มเติม
คาสงวน (JAVA Keywords)
คาสงวน (Keywords or Reserved Word) คือ คาที่ถูกสงวน หรื อสารองไว้โดยตัว
แปลภาษา ที่ผพู ้ ฒั นาไม่สามารถนามาใช้เป็ นชื่อตัวแปร ชื่อเมธอด หรื อชื่อคลาส เพราะคา
สงวนจะมีหน้าที่ของตนเอง ในการควบคุมโครงสร้างของโปรแกรม (Structure) เป็ นชนิด
ของข้อมูล (Data Type) หรื อคาขยายแบบของข้อมูล (Modifier) ดังนั้นตัวแปลภาษาจะ
ประกาศคาที่ถูกสงวนไว้ล่วงหน้า มิให้ผพู ้ ฒั นานาไปใช้ และเกิดความสับสนในการพัฒนา
โปรแกรม
identifier
ตัวอย่ างของ identifier ที่ ถกู ต้ อง
 MyVariable
 _MyVariable
 $data
 Sum_Score
ตัวอย่างึอง identifier ทีไ่ ม่ถูกต้อง
 My Variable
 9Pi
 @net
ตัวอย่างการตังชื
้ ่อ
x
 dayofWeek
 3dGraph
 data1
 week day
 public
 _name
ถูกต้อง
ถูกต้อง
ไม่ถูกต้อง
ถูกต้อง
ไม่ถูกต้อง
ไม่ถูกต้อง
ประเภทของตัวแปร (Data Types)
ประเภทของตัวแปร
ในตัวอย่างนี้คือ
เป็ นจานวนเต็ม
ตัวแปร
int score=50;
กาหนดค่าให้กบั
ตัวแปร = 50
ประเภทข้อมูล (Data Types)
ประเภทข้อมูลหรื อ ชนิดตัวแปร (Data Types)
1. ประเภทจานวนเต็ม (Integer) เก็บจานวนตัวเลข
2. ประเภทจานวนจริ ง,ทศนิยม (Real number) เก็บข้อมูลเลขทศนิ ยม
3. ประเภทตัวอักขระ (Character) เก็บข้อมูล ตัวอักษรเพียง 1 ตัว
4. ประเภทตรรกะ (Boolean) เก็บค่าความจริ ง จริ ง (True) และเท็จ (False)
5. ประเภทข้อมูลข้อความ (String) เก็บอักขระมากกว่า 0 ตัวขึ้นไป
ประเภทจานวนเต็ม (Integer) เก็บจานวนตัวเลข
ประเภทจานวนจริ ง (Real Number) เก็บจานวนตัวเลขที่มีจุดทศนิยม
ประเภทตัวอักขระ (character) เพียง 1 ตัว
ประเภทตัวตรรกะ (Boolean) :ค่าความจริ ง True,False
ประเภท ข้อความ (String)
รูปแบบการประกาศตัวแปร และรูปแบบการกาหนดค่า
ประเภทของตัวแปร
ในตัวอย่างนี้คือ
เป็ นจานวนเต็ม
ตัวแปร
int score=50;
กาหนดค่าให้กบั
ตัวแปร = 50
รูปแบบการประกาศตัวแปร และรูปแบบการกาหนดค่า
วิธีที่ 1
ประกาศค่าตัวแปร
กาหนดค่าให้ตวั แปร
ตัวอย่าง
ให้สร้างตัวแปรประเภทตัวเลขจานวน
เต็ม ชื่อ x แล้วกาหนดให้ x = 1
int x;
x=1;
รูปแบบการประกาศตัวแปร และรูปแบบการกาหนดค่า
วิธีที่ 2
ตัวอย่าง
ให้สร้างตัวแปรประเภทตัวเลขจานวน
เต็ม ชื่อ x แล้วกาหนดให้ x = 1
int x=1;
ตัวอย่าง คาสัง่ คานวณ แล้วเก็บลงในตัวแปร
int r=5;
double area=3.14*(r*r);
ฝึ กปฏิบตั ิ
 ให้นกั ศึกษาฝึ ก สร้างตัวแปร ประเภทต่าง ๆ และกาหนดค่าตัวแปร
 ให้นกั ศึกษา แสดงผล ตัวแปร ทางหน้าจอ
ตัวอย่าง Process (การกาหนดค่าให้ กบั ตัวแปร)
ตัวอย่าง Process (การคานวณ)
เริ่ มฝึ กเขียนโปรแกรม แบบง่าย
ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรม โจทย์ที่ 1
 ให้หาค่าเฉลี่ยของ ( 5,6 ,3 )
start
Set num1=5,num2=6,num3=3
average=(num1+num2+num3)/3
“ ค่าเฉลี่ยของ 5,6,3 คือ” average
end
ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรม โจทย์ที่ 1
 ให้หาค่าเฉลี่ยของ ( 5,6 ,3 )
ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรม โจทย์ที่ 2
 ให้แสดงข้อมูล ชื่อ “สมชาย” และนามสกุล “รักเรี ยน” โดยให้ฝึกใช้
ตัวแปรประเภทข้อความ
start
Set fname=“สมชาย” ,lname=“รักเรี ยน”
“ชื่อ :” fname “นามสกุล” lname
end
ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรม โจทย์ที่ 2
 ให้แสดงข้อมูล ชื่อ “สมชาย” และนามสกุล “รักเรี ยน”
ให้นกั ศึกษาฝึ กปฏิบตั ิเขียนโปรแกรม
ข้อ 1
 ให้หาผลรวมและค่าเฉลี่ย ของ 15,18,23,28,32
ข้อ 2
ให้หาพื้นที่สี่เหลี่ยมของ ความกว้างเท่ากับ 3 และความยาว
เท่ากับ 6
ข้อ 3
หาค่าพื้นที่วงกลม ของ รัศมีวงกลมมีค่าเท่ากับ 10 (π=3.14)
ข้ อ 4
 หาผลรวมเลข ตั้งแต่ 1 – 10
ข้อ 5
ให้แสดงข้อมูล สู ตรคูณ แม่ 2 โดยให้คอมพิวเตอร์คานวณผล
คูณให้
คอมเม็นต์ (Comment)
 วิธีที่ 1 คอมเม็นต์ สาหรับข้อความยาวไม่เกินหนึ่งบรรทัด
// ข้อความ
 วิธีที่ 2 คอมเม็นต์ สาหรับข้อความยาวหลายบรรทัด
/* ข้อความ
ข้อความ
ข้อความ
*/
คอมเม็นต์ (Comment)
 วิธีที่ 3 คอมเมนต์เพื่อสร้างเอกสารประกอบโปรแกรม โดยจะสร้างเป็ นเอกสาร HTML
เรี ยกว่า Documentation comment
/** ข้อความเอกสาร
ข้อความเอกสาร
ข้อความเอกสาร
*/
ตัวอย่าง
เพิ่มเติม
ตัวอย่าง .ให้ หา รากที่ 2 ของ 9
Note : ให้ Dos แสดงผลภาษาไทยได้
 โหลดไฟล์ courmon.ttf
 Add font ลงที่เครื่ อง
 แก้ไขข้อมูล โดย start > run >พิมพ์ regedit
 และไปที่
Hkey_local_machine\software\Microsoft\Windows
NT\Current Version\Console\True Type Font
 เลือกที่ เลข 0 เลือก modify
แก้ไข value data เป็ น Courier MonoThai แล้วคลิก Ok
 จากนั้นไปแก้ไขที่ Dos เลือก font เป็ น Courier MonoThai
เนื ้อหาครัง้ ต่อไป
 ยังอยูใ่ นเรื่ องการเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1
การรับข้อมูลทาง keyboad (input)
การดักจับข้อมูลในกรณี ระบุขอ้ มูลที่ไม่ตรงตามต้องการ (try.. Catch)
การบ้ าน
 ให้ไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเรื่ อง
 ตัวดาเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ และตัวดาเนิ นการเพื่อกาหนดค่า
เช่น + - * / %
การเรี ยงลาดับความสาคัญ
เช่น 10*5/2+100-25