บทที่ 1 :: ลงโปรแกรม , ฝึกสร้างไฟล์ใหม่ แสดงผลออกทางหน้าจอ,กำหนดค่า

Download Report

Transcript บทที่ 1 :: ลงโปรแกรม , ฝึกสร้างไฟล์ใหม่ แสดงผลออกทางหน้าจอ,กำหนดค่า

บทที่ 1: การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
(Introduction to Programming)
AJ Wathinee dung-onnam
ICT @ RERU
ชื่อวิชา การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้ าง
คำอธิบำยรำยวิชำ
แนวคิดการเขียนโปรแกรม เชิงกระบวนคาสัง่ การสร้างผังงาน โครงสร้าง
โปรแกรม การคิดเชิงตรรกะ ชนิดข้อมูล การกาหนดตัวแปร ประโยคเงื่อนไข
คาสัง่ ควบคุม การใช้แถวลาดับ และสายอักขระ การนาเข้า / การส่ งออก
ฟังก์ชนั่ การจัดการ หน่วยความจาพลวัต โปรแกรมประยุกต์ การแก้ปัญหาด้วย
การเขียนโปรแกรม
สิ่งที่คาดหวัง ว่ านักศึกษาจะได้ รับวันนี ้
1.
2.
3.
4.
5.
ติดตังโปรแกรมและเตรี
้
ยมควำมพร้ อมของเครื่ อง
สร้ ำงไฟล์แรก และแสดงผลได้
แสดงผลโปรแกรมออกทำงหน้ ำจอได้
ทดสอบสร้ ำงตัวแปร ชนิดต่ำง ๆ และแสดงผล
ทดสอบสร้ ำงตัวแปรตัวเลขและ ทดสอบคำนวณ แสดงผลออกหน้ ำจอ
1. แนวคิดการสอนเขียนโปรแกรม
 "การเขียนโปรแกรม ทุกภาษานั้นเหมือนกัน" สิ่ งที่แตกต่างกัน ของแต่ละภาษา
คือ syntax แต่สิ่งที่เหมือนกันของทุกภาษาคือ การใช้ประสบการณ์จากภาษา
หนึ่ง ไปใช้ในอีกภาษาหนึ่งได้ ด้วยการซึมซับ เรื่ องของ Structure
Programming จนเข้าใจ เพื่อควบคุมในสิ่ งที่คล้าย ๆ กันคือ input, process และ
output ซึ่งหมายความว่า ถ้าท่านเขียนโปรแกรมอะไร ในภาษาหนึ่งได้แล้ว การ
เขียนโปรแกรมแบบนั้น ในภาษาอื่นย่อมไม่ใช่เรื่ องยากอีกต่อไป เพียงแต่ตอ้ ง
ศึกษาถึง syntax หรื อ รู ปแบบการเขียนของภาษาใหม่น้ นั เพิ่มเติม
2. ความหมายของ Structure Programming
การโปรแกรมแบบมีโครงสร้ าง หรือ การโปรแกรมโครงสร้ าง
คือ การกาหนดขั้นตอนให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทางานโดยมีโครงสร้างการควบคุมพื้นฐาน 3 หลักการ
ได้แก่
 การทางานแบบตามลาดับ(Sequence)
 การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision)
ตาราหลายเล่มจะขยายความออกไปว่า Decision แยกเป็ น If,if else
และ Switch..Case
 การทาซ้ า(Loop)
ส่ วน Loop แยกเป็ น While และ Do..While ,for
2.1 การทางานแบบตามลาดับ(Sequence)

คือ การเขียนให้ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสัง่ เป็ นบรรทัด และทาทีละ
บรรทัดจากบรรทัดบนสุ ดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุ ด สมมติให้มีการทางาน
3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์ จะเขียนเป็ นผังงาน
(Flowchart) ในแบบตามลาดับได้ตามภาพ
2.2 การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision)
 คือ การเขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้
ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็ นจริ งจะกระทากระบวนการหนึ่ง และเป็ น
เท็จจะกระทาอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถา้ ซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไข
หลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็ นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผล
การเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว
2.3 การทาซา้ (Repeation or Loop)
 คือ การทากระบวนการหนึ่ งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึง
การทาซ้ าเป็ นหลักการที่ทาความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รู ปแบบแรก เพราะการ
เขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผัง
งาน(Flowchart) ผูเ้ ขียนโปรแกรมต้องจินตนาการ ถึงรู ปแบบการทางาน
และใช้คาสัง่ ควบคุมด้วยตนเอง ตัวอย่างผังงานที่นามาแสดงนี้เป็ นการแสดง
คาสัง่ ทาซ้ า(do while) ซึ่งหมายถึงการทาซ้ าในขณะที่เป็ นจริ ง และเลิกการ
ทาซ้ าเมื่อเงื่อนไขเป็ นเท็จ
รู้ จกั กับภาษา Java
 ภาษา Java นั้นได้รับการพัฒนามาจากบริ ษท
ั Sun Microsystems ซึ่งเป็ น
บริ ษทั คอมพิวเตอร์ช้ นั นาของโลก โดยถือกาเนิดภายใต้โครงการ Green
Project ในปี 1996 ซึ่งมีหวั หน้าทีมพัฒนาที่ชื่อว่า James Gosling ซึ่ง
โปรแกรมเมอร์ Java ทัว่ โลกยกย่องว่าเป็ น บิดาของ Java
เหตุใดจึงนิยมเขียนโปรแกรมด้ วยภาษา Java
 ภาษา Java นั้นมีปรัชญาการสร้างมาจากการที่ตอ้ งการทาให้เราเขียน
โปรแกรมเพียงครั้งเดียว แต่สามารถนาไปใช้งานได้ในอุปกรณ์ชนิดต่างๆ
ไม่จากัดว่าต้องเป็ นเพียงแค่คอมพิวเตอร์อย่างเดียว
เบือ้ งหลังการทางานของโปรแกรมภาษา Java
 เราเขียนโปรแกรมของภาษา Java เราจะได้ Source Code ซึ่ งเป็ นไฟล์ที่มี
นามสกุลเป็ น .java จากนั้นเรานา Source Code ไปคอมไฟล์ให้กลายเป็ น
เป็ น Java Byte Code (จะเก็บอยูใ่ นไฟล์ .class)
 เวลาที่ทางานจริ งในคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ใดๆ ก็ตาม Java Byte Code
จะถูกคอมไพล์อีกครั้งให้เป็ นภาษาเครื่ องเฉพาะคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์
นั้นๆ เข้าใจ การคอมไพล์ครั้งนี้จะใช้ Java Virtual Machine คอมไพล์ และ
รัน
รู ปแบบการเขียนโปรแกรมในภาษา Java
 Java SE
: ย่อมาจาก Java Standard Edition เป็ นรู ปแบบการเขียนโปรแกรมสาหรับ
การทางานบนคอมพิวเตอร์ทวั่ ไป ถือว่าเป็ นรู ปแบบแรกของภาษา Java
 Java EE
: ย่อมาจาก Java Enterprise Edition เป็ นรู ปแบบการเขียนโปรแกรมกับ
ระบบงานขนาดใหญ่
 Java ME : ย่อมาจาก Java Micro Edition เป็ นรู ปแบบการเขียนโปรแกรมกับอุปกรณ์
ขนาดเล็ก (คือมีหน่วยความจาน้อย) เช่น โทรศัพท์มือถือ, เซ็ตท็อปบ็อกซ์ เป็ นต้น
แพล็ตฟอร์ มของ Java
สร้าง/แก้ไข Source
file.java
Compile ด้วย javac.exe
ผ่าน
ได้ไฟล์ .class
ไม่ผา่ น
กลับไปแก้ไข
Run โปรแกรม(ด้วย
java.exe
ภาษาเครื่ อง
(Machine Language)
เตรี ยมเครื่ องให้ พร้ อมก่ อนเขียน
โปรแกรมด้ วยจาวา
สิ่งที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม
 Java
(j2se,j2ee,…)
 Development Tool
เตรียมตัวก่ อนเขียนโปรแกรม
ตรวจสอบความพร้ อมของระบบ
 ระบบปฏิบตั ิการ : มีได้ท้ งั Windows 98, XP, Vista, Linux, Unix, Solaris ,7,8
 แรม และพื้นที่วา่ งในฮาร์ ดดิสก์ : สาหรับแรมควรมีขนาดขั้นต่าตามที่
ระบบปฏิบตั ิการได้กาหนดไว้ ส่ วนพื้นที่วา่ งฮาร์ดดิสก์ก่อนติดตั้ง JDK และ
EditPlus ไม่ควรต่ากว่า 500 MB
 ความสามารถในการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ต : เพื่อดาวน์โหลด JDK และ
EditPlus รวมทั้งทดสอบการเขียนโปรแกรม Applet ด้วย
ดาวน์ โหลด และติดตั้ง JDK
1.
สามารถติดตั้ง JDK ได้จากแผ่นซีดีได้เลย หรื อจะดาวน์โหลดจากเว็บไซต์
http://java.sun.com/javase/downloads/index.jsp
2.
เมื่อดาวน์โหลดเสร็ จให้ดบั เบิ้ลคลิกที่ไอคอนของไฟล์ที่ดาวน์โหลดไว้
ดาวน์ โหลด และติดตั้ง JDK (ต่ อ)
3.
อ่านข้อกาหนดแล้วคลิกปุ่ ม
4.
คลิกที่ปุ่ม
ดาวน์ โหลด และติดตั้ง JDK (ต่ อ)
5.
รอสักครู่ ชุดติดตั้งจะสอบถามให้ติดตั้งองค์ประกอบเพิ่มเติมคลิก
6.
สุ ดท้ายก็คลิก
Development Tool
 Jbuilder
 Oracle JDeveloper
 Gel
 BlueJ
 Java Forte
 EditPlus
 เราจะใช้ EditPlus ฝึ กเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Edit plus
สาหรับเขียนโปรแกรม Java
 - Borland
JBuilder : ช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เหมือนกับการเขียน
โปรแกรมประเภท Visual ภาษาอื่น ๆ (แต่ไม่ฟรี ) เป็ นผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั
Borland สามารถ Download เพื่อ
 ทดลองใช้งานได้ที่ www.borland.com
 - Sun One Studio : เป็ นผลิตภัณฑ์ของบริ ษท
ั Sun Microsystem สามารถ
Download เพื่อทดลองใช้งานได้ที่ http://java.sun.com
 -Editplus : มีความสามารถในการรองรับภาษาเขียนโปรแกรมได้หลายภาษา
สามารถ Download เพื่อทดลองใช้งานได้ที่ www.editplus.com
สาหรับเขียนโปรแกรม Java




- BlueJ : เป็ นผลิตภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในเดนมาร์ก เมื่อเขียนโปรแกรม Editor
ชนิดนี้จะทาการสร้าง Class Diagram ของโปรแกรมนั้น ๆ และยังเชื่อมโยงให้เห็น
ความสัมพันธ์กบั Class หรื อโปรแกรมอื่น ๆ อีกด้วย
- NotePad : เป็ น Editor ที่มีอยูใ่ นระบบของ Windows โดยที่คุณไม่จาเป็ นต้องติดตั้งเพิม่ แต่
มีขอ้ เสี ยคือ ไม่สามารถแสดงหมายเลขบรรทัดของคาสัง่ (line of code) ได้
- NetBeans : ทาให้ง่ายและสามารถลดเวลาในการเขียนโปรแกรม สามารถพัฒนาระบบงาน
ได้เร็ วขึ้น เหมาะสาหรับการใช้ Swing และสร้างการโต้ตอบแบบ GUI สามารถ Download
โปรแกรมเพื่อติดตั้งใช้งานได้ที่ www.netbeans.org
นอกจากที่กล่าวมาแล้ว ยังมี Editor อื่น ๆ อีกที่รองรับการเขียนโปรแกรมภาษา Java
ไฟล์ สาคัญของจาวาที่ต้องใช้
จากโฟล์เดอร์ C:\Program Files\Java\jdk1.6.0_16\bin
Javac.exe สาหรับคอมไพล์จาวา
Java.exe สาหรับรันโปรแกรมจาวา
Appletviewer.exe
สาหรับดู applet
มารู้จักซอฟแวร์ สาหรับสร้ างโปรแกรมภาษา
 ซอฟต์แวร์ ที่ใช้ชื่อว่า EditPlus
 สามารถสร้างโปรแกรมได้หลายภาษาโดยจะมีสีแยกประเภท
ของคาในแต่ละภาษาให้ ทาให้สะดวกต่อการอ่านโปรแกรม
 ให้ทาการสร้าง config เพื่อให้โปรแกรมเราสามารถคอมไพล์
ไฟล์โปรแกรมจาวาและรันไฟล์โปรแกรมจาวาได้
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อนนะคะ
เลือก font ที่สามารถใช้ภาษาไทยได้
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อนนะคะ
 ทาการสร้าง config เพื่อให้โปรแกรม EditPlus สามารถคอมไพล์และรัน
โปรแกรมภาษาจาวาได้
การกาหนด Config User Tool
Java Compile
 C:\Program Files\Java\jdk1.6.0_16\bin\Javac.exe
Java RUN
 C:\Program Files\Java\jdk1.6.0_16\bin\Java.exe
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อน
คลิก add tool/Program แล้วเติมข้อความดังในภาพด้านล่างทั้งสอง
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อน (compiler)
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อน(run)
เมือ่ ทำทุกอย่ำงเรียบร้อยแล้วให้กดปุ่ม OK เพือ่ ทำกำรบันทึกคำสัง่ ทีเ่ รำสร้ำงึึนน ให้ EditPlus รู้จกั
สร้ าง config ใน EditPlus กันก่ อน
คลิก add tool/Program แล้วเติมข้อความดังในภาพด้านล่างทั้งสอง
ซ้าย set compiler
ขวา set run
เริ่มใช้ โปรแกรม EditPlus
 เปิ ดโปรแกรม EditPlus ขึ้นมา
 คลิกเมนู File/New เลือก java
 ลองพิมพ์ไฟล์ต่อไปนี้ แล้วบันทึกในชื่อ HelloWorld.java
class HelloWorld
{
public static void main(String[] args)
{
System.out.println("Hello World! สวัสดี ชาวโลก");
}
}
ลองสร้ างโปรแกรมแรกกันเถอะ
เบือ้ งหลังการทางานของโปรแกรมภาษา Java
 เราเขียนโปรแกรมของภาษา Java เราจะได้ Source Code ซึ่ งเป็ นไฟล์ที่มี
นามสกุลเป็ น .java จากนั้นเรานา Source Code ไปคอมไฟล์ให้กลายเป็ นเป็ น
Java Byte Code (จะเก็บอยูใ่ นไฟล์ .class)
 เวลาที่ทางานจริ งในคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ใดๆ ก็ตาม Java Byte Code
จะถูกคอมไพล์อีกครั้งให้เป็ นภาษาเครื่ องเฉพาะคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์
นั้นๆ เข้าใจ การคอมไพล์ครั้งนี้จะใช้ Java Virtual Machine (JVM)
คอมไพล์ และรัน
เบือ้ งหลังการทางานของโปรแกรมภาษา JavaInterpreter
Javac.exe
Java.exe
เบือ้ งหลังการทางานของโปรแกรมภาษา Java
compile ด้ วยการกด Ctrl + 1
หลังจาก compile เราจะได้ ไฟล์ .class(Byte Code)
run ด้ วยการกด Ctrl + 2
Output
แนะนาภาษาจาวา และโครงสร้างของภาษา จาวา
องค์ ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวา
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวาแบบพื้นฐานที่สุดจะต้องประกอบไป
ด้วยองค์ประกอบ 3 ส่ วนหลัก ได้แก่
ชื่อคลาส นิ ยมขึ้นต้นคา
1) คลาส (Class)
ด้วยตัวพิมพ์ใหญ่
เช่น
Test1,Student
ใช้เครื่ องหมาย ปี กกาเพื่อ
บอกขอบเขตของ class
ตัวอย่ างการสร้ าง class ชื่อ FirstProgram
องค์ ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวา
2) เมท็อด (method)
[modifier] ชนิ ดของข้อมูลที่จะส่งกลับออกไป ชื่อเมธอด ([อาร์กวิ เมนต์])
{
[รายละเอียดการทางานในเมธอด ]
}
Argument คือช่องทางสาหรับการผ่านข้อมูลเพื่อส่ งให้กบั เมธรอดใช้ในการทางาน
 สั ญลักษณ์ { และ } เป็ นเครื่ องหมายบ่งบอกขอบเขตของเมธรอด
 ถ้าไม่มีขอ้ มูลที่จะส่ งกลับก็ให้กาหนดค่าเป็ น “void”

ในส่วนนี้ให้รูจ้ กั ก่อน
บทท้าย ๆจะกลับมาให้
รายละเอียดเพิ่มเติม
องค์ ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวา

2.1 รู้ จักกับ method ชื่อ main
ชื่อ method นิ ยมขึ้นต้นคา
ด้วยตัวพิมพ์เล็ก
ใช้เครื่ องหมาย ปี กกาเพื่อบอกขอบเขตของ
method ซึ่งจะซ้อนเข้าไปในขอบเขต
ของ class อีกชัน้ หนึ่ ง
ตัวอย่ างการสร้ าง method main ของ class ชื่อ
FirstProgram
องค์ ประกอบของโปรแกรมภาษาจาวา

3) คาสั่ ง (Statement)
คาสัง่ แต่ละคาสัง่ จะจบด้วยเครื่ องหมาย semicolon (;)
ตัวอย่างคาสัง่
จบด้วยเครื่ องหมาย ;
int x=1;
หมายถึง ประกาศตัวแปร x เป็ นชนิดข้อมูลประเภทตัวเลข และกาหนดค่า x เท่ากับ 1
ชนิ ดของตัวแปร คือ ชนิ ดตัวเลข
โปรแกรมส่ วนใหญ่ ประกอบด้ วยกิจกรรม 3 ส่ วน
1. input
2. process
3. output
คาสั่ ง แสดงผล (output)
คาสั่ง แสดงผลข้ อมูล (ทางหน้ าจอ)
ระบุตวั เลข ,ตัวแปร
,ข้อความ
ตัวอย่ าง แสดงข้ อมูล ตัวเลข 3
ระบุข้อมูลแบบ คานวณตัวเลข
ตัวอย่ างแสดงข้ อมูล ข้ อความ “สวัสดี คะ”
ใช้ “ ” ในการแสดงข้อมูลทีเป็ น ข้อความ
คาสั่ง ให้ แสดงข้ อมูล บรรทัดใหม่
หมายถึง เมื่อแสดงข้อมูลในวงเล็บนี้แล้ว ให้ข้ ึนบรรทัดใหม่
ตัวอย่ างการใช้ print และ println
การแสดงผล แบบต่ าง ๆ
ผลจากส่ วนของโปรแกรม คือ ?
02
2
02
32
032
032
05
พิมพ์ ผลบวก ลบ คูณ หาร ของเลข 2 จานวน
แบบฝึ กหัดสาหรับสอนการเขียนโปรแกรมเบือ้ งต้ น
1.พิมพ์ รหัสนักศึกษำ
2.พิมพ์ ชื่อตนเอง
3.พิมพ์ ตัวเลข จำกตัวแปร
4.พิมพ์ ชื่อ และสกุล คนละบรรทัด
5.พิมพ์ รหัส ชื่อ และสกุล คนละบรรทัด
6.พิมพ์ ผลบวก ของเลข 2 จำนวน
โปรแกรมส่ วนใหญ่ ประกอบด้ วยกิจกรรม 3 ส่ วน
1. input
2. process
3. output
คาสั่ง แบบการคานวณ และ การกาหนดค่ า
ให้ กับตัวแปร
ตัวอย่ าง การประกาศตัวแปรและกาหนดค่ าให้ กับตัวแปร
ชนิ ดของตัวแปร
ในตัวอย่างนี้คือ
เป็ นชนิ ดจานวนเต็ม
int score=50;
ตัวแปร
กาหนดค่าให้กบั
ตัวแปร = 50
ตัวอย่ างแสดงข้ อมูล ค่ าของตัวแปร
การประกาศตัวแปร x
เก็บชนิ ดข้อมูลตัวเลข 1
(จะเรียนในเรื่ อง การ
สร้างตัวแปร และชนิ ด
ข้อมูล)
ตัวอย่ างแสดงข้ อมูล ข้ อความ และ ตัวแปร
ใช้เครื่ องหมาย +
เมื่อต้องการแสดงข้อมูล
ข้อความ และต้องการแสดง
ค่าของตัวแปร
คาสั่ง แบบการคานวณ และ การกาหนดค่ าให้ กับตัวแปร
1.
2.
3.
กฎการตั้งชื่อตัวแปร
ประเภทของข้อมูล
รู ปแบบการประกาศตัวแปร และรู ปแบบการ
กาหนดค่า
กฎการตัง้ ชื่อตัวแปร
1.ซึ่งที่ต้ งั สามารถประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ
ตัวเลข underscore(_),dollar sign($) myCom2 
2.แต่ต้ งั ขึ้นต้นด้วยภาษาอังกฤษ ,_ ,$ เท่านั้น (ห้ามขึ้นต้น
_mycom2 
ด้วยตัวเลข)
_myCom$ 
my_Com2 
2mycom 
กฎการตัง้ ชื่อ Identify
3. ชื่อที่ต้ งั เว้นวรรค หรื อ มีช่องว่างไม่ได้
my_Com2 
my com2 
กฎการตัง้ ชื่อ Identify
4. จาวาเป็ น case-sensitive เหมือนกับ C คือ
ภาษาอังกฤษตัวใหญ่ ตัวเล็กถือว่าแตกต่างกันต้อง
ระมัดระวังให้ดี ไม่เช่นนั้นจะเกิดขึ้นผิดพลาดได้
myCom, Mycom, MYCOM
กฎการตัง้ ชื่อ Identify
5. ความยาวตัวอักษรไม่ควรเกิน 65535 ตัวอักษร
6 ชื่อตัวแปรห้ามตั้งซ้ ากันภายใน method เดียวกัน(ต่าง method ซ้ าได้)
เช่น
name name
กฎการตัง้ ชื่อ Identify
7. ต้องไม่ตรงกับคียเ์ วิร์ด (Keyword )ใดในภาษาจาวาดังต่อไปนี้
Keyword คือ ชื่อที่มีความหมายพิเศษในจาวา compilerของภาษาจาวาจะเข้าใจความหมายและคาสั่งที่จะต้องดาเนินการสาหรับ keyword
แต่ละตัว
เพิ่มเติม
คาสงวน (JAVA Keywords)
คาสงวน (Keywords or Reserved Word) คือ คาที่ถูกสงวน หรื อสารองไว้
โดยตัวแปลภาษา ที่ผพู ้ ฒั นาไม่สามารถนามาใช้เป็ นชื่อตัวแปร ชื่อเมธอด
หรื อชื่อคลาส เพราะคาสงวนจะมีหน้าที่ของตนเอง ในการควบคุม
โครงสร้างของโปรแกรม (Structure) เป็ นชนิดของข้อมูล (Data Type) หรื อ
คาขยายแบบของข้อมูล (Modifier) ดังนั้นตัวแปลภาษาจะประกาศคาที่ถูก
สงวนไว้ล่วงหน้า มิให้ผพู ้ ฒั นานาไปใช้ และเกิดความสับสนในการพัฒนา
โปรแกรม
identifier
ตัวอย่ างของ identifier ที่ถกู ต้ อง
 MyVariable
 _MyVariable
 $data
 Sum_Score
ตัวอย่างึอง identifier ทีไ่ ม่ถูกต้อง
 My Variable
 9Pi
 @net
ตัวอย่ างการตัง้ ชื่อ
x
 dayofWeek
 3dGraph
 data1
 week
 public
 _name
day
ถูกต้อง
ถูกต้อง
ไม่ถูกต้อง
ถูกต้อง
ไม่ถูกต้อง
ไม่ถูกต้อง
ประเภทของตัวแปร (Data Types)
ประเภทของตัวแปร
ในตัวอย่างนี้คือ
เป็ นจานวนเต็ม
int score=50;
ตัวแปร
กาหนดค่าให้กบั
ตัวแปร = 50
ประเภทข้ อมูล (Data Types)
ประเภทข้อมูลหรื อ ชนิดตัวแปร (Data Types)
1.
ประเภทจานวนเต็ม (Integer) เก็บจานวนตัวเลข
2.
ประเภทจานวนจริ ง,ทศนิยม (Real number) เก็บข้อมูลเลขทศนิยม
3.
ประเภทตัวอักขระ (Character) เก็บข้อมูล ตัวอักษรเพียง 1 ตัว
4.
ประเภทตรรกะ (Boolean) เก็บค่าความจริ ง จริ ง (True) และเท็จ (False)
5.
ประเภทข้อมูลข้อความ (String) เก็บอักขระมากกว่า 0 ตัวขึ้นไป
ประเภทจานวนเต็ม (Integer) เก็บจานวนตัวเลข
ประเภทจานวนจริง (Real Number) เก็บจานวนตัวเลขทีม่ ีจุดทศนิยม
ประเภทตัวอักขระ (character) เพียง 1 ตัว
ประเภทตัวตรรกะ (Boolean) :ค่ าความจริง True,False
ประเภท ข้ อความ (String)
รูปแบบการประกาศตัวแปร และรูปแบบการกาหนดค่ า
ประเภทของตัวแปร
ในตัวอย่างนี้คือ
เป็ นจานวนเต็ม
int score=50;
ตัวแปร
กาหนดค่าให้กบั
ตัวแปร = 50
รูปแบบการประกาศตัวแปร และรูปแบบการกาหนดค่ า
วิธที ่ ี 1
ประกาศค่าตัวแปร
กาหนดค่าให้ตวั แปร
ตัวอย่าง
ให้สร้างตัวแปรประเภทตัวเลขจานวนเต็ม
ชื่อ x แล้วกาหนดให้ x = 1
int x;
x=1;
รูปแบบการประกาศตัวแปร และรูปแบบการกาหนดค่ า
วิธที ่ ี 2
ตัวอย่าง
ให้สร้างตัวแปรประเภทตัวเลขจานวนเต็ม
ชื่อ x แล้วกาหนดให้ x = 1
int x=1;
ตัวอย่ าง คาสั่ งคานวณ แล้ วเก็บลงในตัวแปร
int r=5;
double area=3.14*(r*r);
ฝึ กปฏิบัติ
 ให้นกั ศึกษาฝึ ก สร้างตัวแปร ประเภทต่าง ๆ และกาหนดค่าตัวแปร
 ให้นกั ศึกษา แสดงผล
ตัวแปร ทางหน้าจอ
ตัวอย่ าง Process (การกาหนดค่ าให้ กับตัวแปร)
ตัวอย่ าง Process (การคานวณ)
เริ่มฝึ กเขียนโปรแกรม แบบง่ าย
ตัวอย่ าง การเขียนโปรแกรม โจทย์ ท่ ี 1
 ให้หาค่าเฉลี่ยของ ( 5,6 ,3 ) แล้วแสดงผลลัพธ์ทางหน้าจอ
start
Set num1=5,num2=6,num3=3,sum=0
sum=num1+num2+num3
average=sum/3
“ ค่าเฉลี่ยของ 5,6,3 คือ” average
end
ตัวอย่ าง การเขียนโปรแกรม โจทย์ ท่ ี 1
 ให้หาค่าเฉลี่ยของ
( 5,6 ,3 )
4.66666667
ตัวอย่ าง การเขียนโปรแกรม โจทย์ ท่ ี 2
 ให้แสดงข้อมูล ชื่อ “สมชาย” และนามสกุล “รักเรี ยน” โดยให้ฝึกใช้
start
ตัวแปรประเภทข้อความ
Set fname=“สมชาย” ,lname=“รักเรียน”
“ชื่อ :” fname “นามสกุล” lname
end
ตัวอย่ าง การเขียนโปรแกรม โจทย์ ท่ ี 2
 ให้แสดงข้อมูล ชื่อ “สมชาย” และนามสกุล “รักเรี ยน”
คอมเม็นต์ (Comment)

วิธีที่ 1 คอมเม็นต์ สาหรับข้อความยาวไม่เกินหนึ่งบรรทัด
// ข้อความ

วิธีที่ 2 คอมเม็นต์ สาหรับข้อความยาวหลายบรรทัด
/* ข้อความ
ข้อความ
ข้อความ
*/
คอมเม็นต์ (Comment)
 วิธีที่ 3 คอมเมนต์เพื่อสร้างเอกสารประกอบโปรแกรม โดยจะสร้างเป็ น
เอกสาร HTML เรี ยกว่า Documentation comment
/** ข้อความเอกสาร
ข้อความเอกสาร
ข้อความเอกสาร
*/
ตัวอย่ าง
ให้นกั ศึกษาฝึ กปฏิบตั ิเขียนโปรแกรม
ข้ อ 1

ให้หาผลรวมและค่าเฉลี่ย ของ 15,18,23,28,32
ข้ อ 2
ให้หาพื้นที่สี่เหลี่ยมของ ความกว้างเท่ากับ 3 และความยาว
เท่ากับ 6
ข้ อ 3
หาค่าพื้นที่วงกลม ของ รัศมีวงกลมมีค่าเท่ากับ 10 (π=3.14)
ข้ อ 4
 หาผลรวมเลข ตั้งแต่ 1 – 10
ข้ อ 5
ให้แสดงข้อมูล สู ตรคูณ แม่ 2 โดยให้คอมพิวเตอร์คานวณผล
คูณให้
Note : ให้ Dos แสดงผลภาษาไทยได้
โหลดไฟล์ courmon.ttf
 Add font ลงที่เครื่ อง
 แก้ไขข้อมูล โดย start > run >พิมพ์ regedit
 และไปที่

Hkey_local_machine\software\Microsoft\Windows NT\Current Version\Console\True Type Font
 เลือกที่ เลข 0 เลือก modify
แก้ไข value data เป็ น Courier MonoThai แล้วคลิก Ok
 จากนั้นไปแก้ไขที่ Dos เลือก font เป็ น Courier Mono Thai