การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการ GUI

Download Report

Transcript การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการ GUI

การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบตั ิการ GUI
รหัส 2201-2412
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1
ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI
ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI
1.
2.
3.
4.
ความเป็ นมาของ Visual Basic
จุดเด่นของ Visual Basic
ความหมายของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
การติดตั้ง Visual Basic
ความเป็ นมาของ Visual Basic
ภาษาเบสิ ค (BASIC) สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1963 โดย Horn
Keneny และ Thomus Kurtz ที่วิทยาลัย Dartmouth มีจุดมุ่งหมายในการ
พัฒนาภาษาเบสิ คขึ้น เพื่อใช้สอนหลักการเขียนโปรแกรมเท่านั้น ต่อมาได้
พัฒนาขึ้นใหม่ให้ชื่อว่า “วิชวลเบสิ ค” (Visual Basic) โดยเริ่ มต้นจาก
Visual Basic 1.0 และได้มีการพัฒนามาเป็ นลาดับทั้งจากบริ ษทั
ไมโครซอฟต์ซ่ ึ งเป็ นผูใ้ ห้กาเนิ ด และบริ ษทั ผูผ้ ลิตซอฟต์แวร์ ต่างๆทัว่ โลก
จนกระทัง่ เป็ น Visual Basic 6.0 ดังเช่นในปั จจุบนั
จุดเด่นของ Visual Basic
คือ ความเรี ยบง่ายในการพัฒนาโปรแกรมเนื่ องจากถูกออกแบบ
มาให้สะดวกและง่ายต่อการใช้งานของนักเขียนโปรแกรมสมัยใหม่ ทาให้
ประหยัดเวลาในการพัฒนาโปรแกรมลงมากเมื่ อเที ยบกับโปรแกรมอื่ นๆ
ความหมายของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
(Object Oriented Programming :OOP) คือ การเขียน
โปรแกรมโดยอาศัยเครื่ องมือพิเศษ ซึ่ งเรี ยกว่า คอนโทรล (Control) เข้ามา
ช่วยในการพัฒนาโปรแกรม โดยหลักการทางานที่สาคัญคือการกาหนด
คุณสมบัติให้กบั คอนโทรลได้โดยตรง เช่น กาหนดขนาดของตัวอักษร สี
ตัวอักษร สี พ้ืนหลัง เป็ นต้น ทาให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ วในการ
พัฒนาโปรแกรม
การติดตั้ง Visual Basic
การติดตั้งโปรแกรมวิชวลเบสิ ค ปั จจุบนั ทางบริ ษทั ไมโครซอฟต์
ได้จดั ไว้เป็ นส่ วนหนึ่ งของชุดโปรแกรม Microsoft Visual Studio 98
ประกอบไปด้วยโปรแกรม Visual C++, Visual J++, Visual FoxPro,
Visual Interdev, Visual Basic 6.0 เป็ นต้น ดังนั้นในการติดตั้งโปรแกรม
อาจเลือกติดตั้งเฉพาะโปรแกรม Visual Basic 6.0 เพียงอย่างเดียวก็ได้ โดย
จะต้องเตรี ยมพร้อมในด้านความต้องการของระบบ (System Requirement)
ดังนี้
ด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ฮาร์ ดแวร์
CPU
ฮาร์ ดดิสก์
ข้ อกาหนดขัน้ ต่า
คาแนะนา
Pentium 166 MHz ขึ ้นไป
CPU ยิ่งเร็วเท่าไหร่ก็ยิ่งดี
Standard Edition :
ประหยัด 48 MB เต็มที่ 80 MB
แนะนาให้ ติดตั ้งด้ วย Enterprise
Edition
Professional Edition :
ประหยัด 48 MB เต็มที่ 80 MB
Enterprise Edition :
ประหยัด 128 MB เต็มที่ 147 MB
RAM
ควรจะมี 32 MB ขึ้นไป
CD-ROM
ต้ องมี และเป็ นซีดีรอม 2x ขึ ้นไป
Sound Card
ไม่จาเป็ น
ควรจะเป็ น 64 MB ขึ ้นไป
กรณีที่ต้องสร้ างโปรแกรมที่เกี่ยวกับ
มัลติมีเดียอาจจาเป็ นต้ องใช้ งาน
ด้านซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์ แวร์
ระบบปฏิบตั ิการ
ระบบจัดการฐานข้ อมูล
เว็บเซิร์ฟเวอร์
ข้ อกาหนดขัน้ ต่า
คาแนะนา
Windows 95/ 98/ ME / XP ทุกรุ่น /
Windwos 7
ไม่จาเป็ นต้ องมีก็ได้
Windows XP จะเหมาะสมกว่า
หากต้ องการเขียนโปรแกรมเกี่ยวกับ
อินเตอร์ เน็ตก็จาเป็ นต้ องมี
สาหรับทดสอบควรใช้ PWS 4.0
สาหรับใช้ งานจริงควรใช้ IIS 4.0
สามารถใช้ งานร่วมกับ RDBMS
ได้ แทบทุกแบบ เช่น Access,
SQL Server, Oracle เป็ นต้ น
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 2
ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual Basic 6.0
การเข้าสู่โปรแกรม Visual Basic 6.0
1.คลิกเมนู Start > Program >Microsoft Visual Studio 6.0 > Visual Basic 6.0
การเริ่ มต้นกับ Visual Basic 6.0
การเริ่ มต้นกับ Visual Basic 6.0
การเริ่ มต้นกับ Visual Basic 6.0
ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม Visual Basic 6.0
Toolbar
Project
Explorer
Window
Properties
Window
Toolbox
Form
Form
Layout
Window
ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม
ชื่อส่ วนประกอบ
ความหมาย/หน้ าที่
Form
เป็ นส่วนที่ใช้ ในการพัฒนาโปรแกรม
Toolbar
เป็ นส่วนของเครื่ องมือต่างๆที่ใช้ ร่วมกับการพัฒนาโปรแกรม
Toolbox
เป็ นส่วนของเครื่ องมือต่างๆที่ใช้ วาดลงไปบน Form
Project Explorer
Window
เป็ นส่วนที่ใช้ สาหรับกาหนดคุณสมบัติของเครื่ องมือต่างๆที่ใช้
สาหรับพัฒนาโปรแกรม เช่น เครื่ องมือจาก Toolbox
เป็ นส่วนที่ใช้ สาหรับกาหนดคุณสมบัติของ Form และเครื่ องมือ
ต่างๆที่เลือกใช้ งานจาก Toolbox โดยทัว่ ไปเรี ยกว่า “วัตถุ”
(Object)
Form Layout Window ใช้ สาหรับกาหนดตาแหน่งของ Form ต่างๆที่จะแสดงผลบน
จอภาพ
Properties Window
Toolbar
1
2
3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
15 16 17 18 19 20 21 22 23
หน้าที่การทางานของไอคอนแต่ละตัวบน Toolbar
ที่
ชื่อเรี ยก
หน้ าที่การทางาน
1
Add Standard EXEProject
ใช้ สาหรับสร้ าง Project ใหม่ ในกรณีที่เปิ ด Project ไว้ มากกว่าหนึ่ง
Project สามารถเลือกสลับไปมาได้ ที่เมนู Window
2
Add Form
ใช้ ในการเพิ่มฟอร์ มใหม่ให้ กบั Project
3
Menu Editor
ใช้ สาหรับเรี ยก Menu Editor ขึ ้นมา เพื่อใช้ สร้ างเมนูต่างๆ
4
Open Project
ใช้ สาหรับเปิ ด Project ที่มีอยู่แล้ ว
5
Save Project
ใช้ สาหรับบันทึก Project ที่เปิ ดอยู่ในขณะนั ้น
6
Cut
ใช้ สาหรับลบหรื อย้ ายคาสัง่ หรื อวัตถุที่ต้องการ
7
Copy
ใช้ สาหรับคัดลอกคาสัง่ หรื อวัตถุที่ต้องการ
8
Past
ใช้ สาหรับวางคาสัง่ หรื อวัตถุที่ได้ จากการ “Cut” / “Copy”
9
Find
ใช้ สาหรับค้ นหาคาใน Editor
10
Undo Typing
ใช้ สาหรับยกเลิกคาสัง่ ที่อยูใ่ น Editor
หน้าที่การทางานของไอคอนแต่ละตัวบน Toolbar
11 Redo Typing
ใช้ สาหรับทาซ ้าตามคาสัง่ ที่อยู่ใน Editor
12 Start
ใช้ สาหรับแสดง Project ที่พฒ
ั นาขึ ้นมาผ่านทางจอภาพ
13 Break
ใช้ สาหรับหยุดการทางานของ Project ไว้ ชวั่ คราว
14 End
ใช้ สาหรับหยุดการทางานของ Project
15 Project Explorer
ใช้ สาหรับแสดงองค์ประกอบของ Project ว่าประกอบไปด้ วยฟอร์ ม หรื อโมดุล
อะไรบ้ าง
16 Properties
Window
ใช้ สาหรับกาหนดคุณสมบัติของฟอร์ ม หรื อวัตถุที่วาดบนฟอร์ ม
17 Form Layout
Window
ใช้ สาหรับแสดงตาแหน่งของฟอร์ มที่แสดงบนจอภาพ
18 Object Browser
ใช้ แสดงถึง Class หรื อสมาชิกของแต่ละ Class
19 Toolbox
ใช้ สาหรับเลือกเครื่ องมือ Toolbox ขึ ้นมาบนจอภาพ
20 Data View
Window
ใช้ สาหรับแสดงข้ อมูลเกี่ยวกับฐานข้ อมูลที่ใช้ กบั โปรแกรม
หน้าที่การทางานของไอคอนแต่ละตัวบน Toolbar
21 Visual Component
Manager
22 ตาแหน่งของฟอร์ ม
23 ขนาดของฟอร์ ม
ใช้ สาหรับแสดงองค์ประกอบต่างๆของ Component ที่
นามาใช้ ในการพัฒนาโปรแกรม
ใช้ บอกตาแหน่งในแกน X และแกน Y ของฟอร์ ม
ใช้ บอกขนาดของฟอร์ ม ตามแนวแกน X และแกน Y
การวาดคอนโทรลลงบนฟอร์ม
Project Explorer
Properties Window
Alphabetic
Categorized
Form Layout Window
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ขั้นตอนการออกแบบ
ขั้นตอนการสร้างฟอร์ม หรื อหน้าจอโปรแกรม
ขั้นตอนการกาหนดคุณสมบัติ
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการคอมไพล์และการรันโปรแกรม
ขั้นตอนการบันทึกและการจัดเก็บไฟล์
ข้อจากัดของโปรแกรมวิชวลเบสิ ก
1. แต่ละโปรเจ็คสามารถกาหนดค่าแทนชื่อข้อมูลต่างๆได้รวม
32,000 คา และจะต้องเป็ นคาที่ไม่ซ้ ากับคาสงวน
(Reserved Word)
2. กาหนดชื่อขงอตัวแปร (Variable) ได้ไม่เกิน 255 ตัวอักษร
3. กาหนดชื่อ Form, Controls, Modules และ Class ได้ไม่
เกิน 40 ตัวอักษร
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3
ฟอร์ม (Form)
ฟอร์ม
คือ ส่ วนที่ใช้แสดงผล
ห น้ า จ อ ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม ที่
ต้องการพัฒนาขึ้นมา โดยใน
หนึ่ง Project สามารถสร้าง
ฟอร์มได้หลายฟอร์ม
คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ Form
คุณสมบัติ
Backcolor
BorderStyle
ความหมาย
การกาหนดสีพื ้นหลังให้ กบั ฟอร์ ม
การกาหนดลักษณะของฟอร์ ม
Caption
Font
Picture
WindowState
การกาหนดชื่อของฟอร์ ม
การกาหนดรูปแบบตัวอักษรที่จะใช้ บนฟอร์ ม
การกาหนดพื ้นหลังของฟอร์ มด้ วยรูปภาพ
การกาหนดขนาดของฟอร์ มในขณะที่แสดงผล
วิธีกำหนดคุณสมบัตใิ ห้ กบั ฟอร์ ม หรือคอนโทรล (Control)
1.
2.
3.
คลิกเมาส์ซา้ ยบริ เวณฟอร์ม หรื อคอนโทรลที่
ต้องการกาหนดคุณสมบัติ (สังเกตคอนโทรล
ที่ใช้เมาส์คลิกจะมีจุดสี่ เหลี่ยมล้อมรอบ)
คลิกเมาส์เลือกกาหนดคุณสมบัติของฟอร์ม
หรื อคอนโทรลที่หน้าต่าง Properties
Window
เลือกกาหนดค่าตามคุณสมบัติที่ตอ้ งการ
กำรใช้ รูปภำพกำหนดเป็ นพืน้ หลังของฟอร์ ม
กำร Run และเลิกงำน Project
การ Run
คลิกเมาส์ไอคอน
หรื อคลิกเมนู Run > Start
หรื อกดปุ่ ม F5
การยกเลิกการ Run
คลิกเมาส์ไอคอน
หรื อคลิกเมนู Run > End
กำรเลือก Run Form ที่ต้องกำร
กำรปรับแต่ งขนำดของฟอร์ ม
กำรเพิม่ ฟอร์ ม (Form )
1.คลิกเมาส์เลือกเมนู Project > Add Form
2. คลิกเมาส์ปุ่มคาสั่ง Open เพื่อเปิ ดฟอร์ม
กำรบันทึก Form และ Project
1. คลิกเมาส์ที่เมนู File > Save Project
2. คลิกปุ่ ม Save ฟอร์มแต่ละฟอร์ม
การลบฟอร์ม
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4
แถบอักษร (Label)
กำรสร้ ำง Label บน Form
1. คลิกเมาส์เลือก Control Label จาก ToolBox 2. คลิกเมาส์ซา้ ยค้างไว้แล้วลากจากมุมบนซ้ายลงมายังมุมล่างขวา
กำรเคลือ่ นย้ ำย Label บน Form
1. คลิกเมาส์ซา้ ยค้างไว้ที่ Label แล้วลากเมาส์ไปวางตรงตาแหน่งที่ตอ้ งการ
กำรเคลือ่ นย้ ำย Label บน Form
2. หรื อคลิกเมาส์ซา้ ยลากคลุมทุก Label ที่ตอ้ งการเคลื่อนย้าย หรื อกดปุ่ ม Ctrl + A
การกาหนดคุณสมบัติของ Label
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 5
กรอบข้อความ
กรอบข้ อควำม (TextBox)
คือ Control ที่ใช้สาหรับเพิ่มเติมหรื อแก้ไขข้อความที่อยูภ่ ายในได้
คุณสมบัติ (Properties) ทีส่ ำคัญของ TextBox
คุณสมบัติ
ความหมาย
Text
กาหนดข้ อความให้ กบั Textbox ในขณะที่แสดงผลบนจอภาพ ถ้ าไม่ต้องการให้ ลบคาว่า Text
จากคุณสมบัตินี ้ออก
Locked
ใช้ กาหนดว่าในขณะที่ Run Project จะยอมให้ แก้ ไขข้ อความใน TextBox ได้ หรื อไม่
- True ไม่สามารถแก้ ไขข้ อความใน TextBox ได้
- False สามารถแก้ ไขข้ อความใน TextBox ได้
Multiline
ใช้ กาหนดว่า ถ้ าข้ อความมีความยาวเกินกว่า 1 บรรทัด จะยอมให้ ขึ ้นบรรทัดใหม่หรื อไม่
- True สามารถแสดงข้ อความหลายบรรทัดได้
- False ไม่สามารถแสดงข้ อความหลายบรรทัดได้
คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ TextBox
MaxLength
ScrollBar
PasswordChar
ใช้ กาหนดจานวนพยัญชนะสูงสุดที่สามารถพิมพ์ได้ ใน
TextBox โดยกาหนดเป็ นเลขจานวนเต็มบวกที่มากกว่า
0
ใช้ กาหนดให้ มี Scroll Bar ในกรณีที่ข้อความยาวเกินกว่า
ขนาดของ TextBox
ใช้ กาหนดรูปแบบของตัวอักษรที่ต้องการแสดงบน TextBox
โดยจะอยู่ในรูปของเครื่ องหมายพิเศษ เช่น * หรื อ @
หรื อ # เป็ นต้ น
คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ TextBox
Font
กาหนดรูปแบบฟอนต์ของข้ อความที่แสดงบน TextBox
ForeColor
BackColor
TabIndex
กาหนดสีของตัวอักษรบน TextBox
กาหนดสีพื ้นหลังของ TextBox
กาหนดลาดับตาแหน่งของ TextBox กรณีกดปุ่ ม Tab บนคีย์บอร์ ด
ปกติจะเริ่ มจากค่า 0, 1, 2, … ตามลาดับ
ToolTipText
กาหนดข้ อความแสดง เมื่อเลื่อนเมาส์ผ่าน Textbox ในขณะที่ Run
กำรสร้ ำง TextBox บน Form
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 6
ตัวเลือก (OptionButton, CheckBox)
ตัวเลือกที่เลือกได้ เพียงตัวเดียว (OptionButton)
คือ Control ที่ใช้สาหรับเป็ นตัวเลือกให้ผใู้ ช้งานสามารถเลือกตอบได้โดยการใช้
เมาส์คลิกหน้าตัวเลือกที่ตอ้ งการ
คุณสมบัติ
คุณสมบัติ
ความหมาย
Caption
กาหนดข้ อความของตัวเลือกที่ต้องการให้ กบั OptionButton
Alignment
กาหนดให้ ข้อความอยู่ด้านซ้ ายหรื อขวาของ OptionButton
Value
เป็ นค่าที่ได้ จากการคลิกเพื่อเลือก (True) หรื อไม่เลือก (False)
Style
กาหนดให้ การแสดงข้ อความเป็ นแบบมาตรฐานหรื อกราฟิ ก
Picture
กาหนดรูปภาพให้ กบั ตัวเลือกนัน้ โดยต้ องกาหนด Style =
Graphical
กำรสร้ ำง OptionButton บน Form
กำรจัดกลุ่มให้ กบั ตัวเลือก โดยใช้ Frame
คุณสมบัติ
Caption
ความหมาย
กาหนดข้ อความที่อยู่มมุ บนซ้ ายของ Frame
ตัวเลือกที่เลือกได้ มำกกว่ ำ 1 ตัว (CheckBox)
คุณสมบัติของ CheckBox
คุณสมบัติ
Caption
Alignment
Value
Style
Picture
ความหมาย
กาหนดข้ อความของตัวเลือกที่ต้องการให้ กบั CheckBox
กาหนดให้ ข้อความอยู่ด้านซ้ ายหรื อขวาของ CheckBox
เป็ นค่าที่ได้ จากการคลิกเพื่อเลือก (True) หรื อไม่เลือก (False)
หรื อไม่อนุญาตให้ เลือก (Grayed)
กาหนดให้ การแสดงข้ อความเป็ นแบบมาตรฐานหรื อกราฟิ ก
กาหนดรูปภาพให้ กบั ตัวเลือกนันโดยต้
้
องกาหนด Style =
Graphical
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 7
รายการข้อมูล (ListBox, ComboBox)
รำยกำรข้ อมูล (ListBox)
คือ Control ที่สามารถกาหนดรายการข้อมูลพร้อมให้
เลื อ กจากตั ว เลื อ กที่ อ ยู่ ภ ายใน ซึ่ งมี ล ั ก ษณะคล้ า ยกั บ
OptionButton แต่จะมีทางเลือกไม่จากัด เนื่ องจากสามารถ
เพิ่มเติมรายการข้อมูลได้ และสามารถเลือกได้มากกว่า 1
ตัวเลือก
คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ ListBox
ความหมาย
คุณสมบัติ
ListCount
จานวนข้ อมูลที่มีอยู่ในรายการ
ListIndex
ลาดับที่ของข้ อมูลในรายการที่ถกู เลือก โดยจะคืนค่า Index กลับมาให้ เป็ น
ตัวเลข ข้ อมูลรายการแรกจะมีคา่ Index = 0 และถ้ าไม่มี ข้ อมูลใดๆ
เลยใน ListBox ค่า Index = -1
List
Sorted
Columns
Style
MultiSelect
ใช้ สาหรับกาหนดรายการข้ อมูลให้ กบั ListBox
การเรี ยงลาดับรายการข้ อมูลใน ListBox
การกาหนดจานวนคอลัมน์ของ ListBox ในการแสดงรายการข้ อมูล โดย
คอลัมน์ที่ 2 จะปรากฏขึ ้นเมื่อคอลัมน์แรกแสดงรายการข้ อมูลไม่หมด
การแสดงผลข้ อมูลแบบ Standard หรื อแบบ CheckBox
กาหนดให้ สามารถเลือกรายการข้ อมูลได้ มากกว่า 1 รายการ
กำรสร้ ำง ListBox บน Form
การเพิ่มข้อมูลใน ListBox
ที่ Properties List ให้คลิก
เมาส์ที่ปุ่มลูกศรด้านข้าง ซึ่งจะ
ปรากฏเครื่ องหมายเคอร์เซอร์
พิมพ์รายการข้อมูลที่ตอ้ งการ
กาหนดใน ListBox เสร็จแล้ว
กดปุ่ ม Enter
กรณี ตอ้ งการเพิ่มรายการ
ข้อมูลใน ListBox ให้ทาซ้ า
รำยกำรข้ อมูลชนิดพิเศษ (ComboBox)
คือ Control ที่รวมเอาความสามารถของ TextBox
และ ComboBox ไว้ดว้ ยกัน กล่าวคือ นอกจากจะคลิกเลือก
รายการที่มีอยูแ่ ล้ว ยังสามารถเลือกโดยการพิมพ์ร ายการ
ข้อมูลใหม่ที่ตอ้ งการก็ได้
คุณสมบัติของคอนโทรล ComboBox
ความหมาย
คุณสมบัติ
ListCount
จานวนข้ อมูลที่มีอยู่ในรายการ
ListIndex
ลาดับที่ของข้ อมูลในรายการที่ถกู เลือก โดยจะคืนค่า Index กลับมาให้ เป็ น
ตัวเลข ข้ อมูลรายการแรกจะมีคา่ Index = 0 และถ้ าไม่มี ข้ อมูลใดๆ
เลยใน ComboBox ค่า Index = -1
List
Sorted
ใช้ สาหรับกาหนดรายการข้ อมูลให้ กบั ComboBox
การเรี ยงลาดับรายการข้ อมูลใน ComboBox
-
Style
-
ComboDropDown ให้ เลือกข้ อมูลจากรายการที่มีอยู่ หรื อพิมพ์ชื่อ
ข้ อมูลก็ได้
ComboSimple ให้ เลือกข้ อมูลโดยวิธีการพิมพ์เท่านั ้น
ComboDropDownList ให้ เลือกข้ อมูลจากรายการที่มีอยู่เท่านั ้น
กำรสร้ ำง ComboBox บน Form
วิธีที่ 1
คลิกเมาส์ที่ Control ComboBox จาก Toolbox แล้วเลื่อน
เมาส์มาคลิกวาด ComboBox ลงบนพื้นที่วา่ งของฟอร์ม
วิธีที่ 2
ดับเบิ้ลคลิกเมาส์ที่ Control ComboBox บน Toolbox จะ
ปรากฏ ComboBox บนฟอร์ม
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 8
การใช้รูปภาพด้วย (Image และ PictureBox)
กำรใช้ รูปภำพด้ วย Image
คือ Control ที่ใช้อ่านไฟล์รูปภาพมาแสดงบนฟอร์ม โดยไฟล์รูปภาพที่
สามารถใช้งานร่ วมกับ Control Image ได้แก่ไฟล์ที่มีนามสกุล BMP, ICO, WMF, GIF,
และ JPG เป็ นต้น
คุณสมบัติ
Picture
Stretch
ความหมาย
ใช้ กาหนดรูปภาพให้ กบั Control Image
ใช้ กาหนดให้ ภาพมีขนาดย่อ/ขยายโดยอัตโนมัติ (True/False)
กำรสร้ ำง Image บน Form
การสร้าง Image บน Form มี 2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1
คลิกเมาส์ที่ Control Image จาก Toolbox
แล้วเลื่อนเมาส์มาคลิกวาด Image ลงบนพื้นที่วา่ งของ
ฟอร์ม
วิธีที่ 2
ดับเบิ้ลคลิกเมาส์ที่ Control Image บน
Toolbox จะปรากฏ Image บนฟอร์ม
กำรใช้ รูปภำพด้ วย PictureBox
คือ Control ที่ใช้อ่านไฟล์รูปภาพมาแสดงบนฟอร์ม โดยไฟล์รูปภาพที่สามารถใช้งานร่ วมกับ
Control Image ได้แก่ไฟล์ที่มีนามสกุล BMP, ICO, WMF, GIF, และ JPG เป็ นต้น โดยขั้นตอนการ
ทางานจะเหมือนกับการใช้ Control Image ทุกประการ แต่จะมีขอ้ แตกต่างกัน ดังนี้
1.
2.
3.
4.
Control Image ไม่สามารถใช้งานร่ วมกับ Control ที่ใช้ในการวาดรู ปอื่นๆ ได้ เช่น Control Line
หรื อ Control Shape เป็ นต้น
Control Image สามารถใช้งานในลักษณะของปุ่ มที่มีรูปภาพได้ ส่วน Control PictureBox ทาไม่ได้
Control Image จะปรับขนาดของภาพที่เลือกมาแสดงผลให้เหมาะสมกับขนาดของ Image ที่เตรี ยม
ไว้โดยอัตโนมัติ ส่วน Control PictureBox จะต้องกาหนด Properties AutoSize ให้เป็ น True จึง
จะทาได้
Control Image สามารถย่อ/ขยายขนาดของรู ปภาพได้ โดยกาหนด Properties Stretch ให้มีค่าเป็ น
True ส่วน Control PictureBox ไม่สามารถทาได้
คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ PictureBox
ความหมาย
คุณสมบัติ
Picture
ใช้ กาหนดรูปภาพให้ กบั Control PictureBox
AutoSize
ใช้ กาหนดขนาดของให้ เหมาะสมกับขนาดของ Control PictureBox
การสร้าง PictureBox บน Form มี 2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1
คลิกเมาส์ที่ Control PictureBox จาก Toolbox แล้ว
เลื่อนเมาส์มาคลิกวาด PictureBox ลงบนพื้นที่วา่ งของฟอร์ม
วิธีที่ 2
ดับเบิ้ลคลิกเมาส์ที่ Control PictureBox บน Toolbox จะ
ปรากฏ PictureBox บนฟอร์ม
กำรใช้ Control Shape
คือ Control ที่ใช้สาหรับวาดภาพทาง
เรขาคณิ ต เช่น รู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า รู ปวงกลม รู ปวงรี
เป็ นต้น
คุณสมบัติ (Properties) ที่สำคัญของ Shape
คุณสมบัติ
BackColor
ความหมาย
ใช้ กาหนดสีพื ้นหลังของ Control Shape แต่ต้องกาหนด BackStyle = Opaque
BackStyle
ใช้ กาหนดรูปแบบพื ้นหลังของ Control Shape ให้ โปร่งใส หรื อมีสี
BorderColor
ใช้ กาหนดสีของเส้ นขอบ
BorderStyle
ใช้ กาหนดรูปแบบเส้ นขอบที่ต้องการ เช่น เส้ นปะ เส้ นทึบ เป็ นต้ น
BorderWidth
ใช้ กาหนดความหนาของเส้ น โดยระบุเป็ นเลขจานวนเต็ม เช่น 1, 2, 3, …
Shape
ใช้ กาหนดรูปแบบของ
- Rectangle
- Square
- Oval
- Circle
- Rounded Rectangle
- Rounded Square
Control Shape ที่ต้องการ ได้ แก่
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ า
รูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส
รูปวงรี
รูปวงกลม
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ าที่มีมมุ มน
รูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสที่มีมมุ มน
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 9
ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
กำรเริ่มต้ นเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมใน Visual Basic สามารถทาได้ในขณะที่ยงั ไม่
Run โปรแกรม โดยแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ
1.
2.
การเขียนโปรแกรมให้กบั ฟอร์ ม (Form)ให้ดบั เบิ้ลคลิก
บริ เวณพื้นที่วา่ งของฟอร์ ม
การเขียนโปรแกรมให้กบั วัตถุ (Object) หรื อ คอนโทรล
(Control) ที่อยูบ่ นฟอร์ ม ให้ดบั เบิ้ลคลิกที่วตั ถุ หรื อ
คอนโทรลที่ตอ้ งการเขียนโปรแกรม
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมให้กบั วัตถุ
การสลับไปมาระหว่างหน้าต่าง Editor กับฟอร์ ม สามารถคลิกปุ่ ม View
Code หรื อปุ่ ม View Object สลับไปมาเพื่อเรี ยกใช้งานตามที่ตอ้ งการได้
องค์ ประกอบของโปรแกรม
เหตุกำรณ์ (Event)
คือ สิ่ งที่เกิดขึ้นในช่วงขณะเวลาใดเวลาหนึ่ งบนโปรแกรม อัน
เนื่ องมาจากการสั่งงานของผูใ้ ช้ (User)
เพื่อตอบสนองการทางานของ
โปรแกรม เช่น เหตุการณ์เลื่อนเมาส์ผา่ นปุ่ มคาสั่ง เหตุการณ์การกดปุ่ มใดๆ
บนคียบ์ อร์ ด หรื อเหตุการณ์กดปุ่ มเมาส์ เป็ นต้น ซึ่ งเหตุการณ์เหล่านี้ เมื่อ
เกิดขึ้นแล้วโปรแกรมจะสั่งให้ทางานอะไร
ดังนั้น ในการเขียนโปรแกรมให้กบั ฟอร์ มหรื อวัตถุใดๆที่อยูบ่ นฟอร์ มก็
ต้องคานึ งถึงเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นกับวัตถุหรื อฟอร์ มนั้นๆด้วยเช่นกัน โดย
ฟอร์ ม หรื อวัตถุ ชิ้นหนึ่ งๆสามารถกาหนดเหตุ การณ์ เพื่ อเขี ย นโปรแกรมได้
มากกว่า 1 เหตุการณ์
โปรแกรมย่ อย (Procedure) ใน Visual Basic
Private Sub Object-Name_Object-Event(Parameter)
End Sub
-
Private Sub
Object-Name
Object-Event
Parameter
End Sub
คือ คาเฉพาะที่บอกให้ทราบว่าเป็ นโปรแกรมย่อย (Procedure)
คือ ชื่อของวัตถุหรื อคอนโทรลที่ถกู เลือกให้เขียนโปรแกรม
คือ เหตุการณ์ที่ผเู ้ ขียนโปรแกรมกาหนดให้กบั โปรแกรมย่อยนั้น
คือ ค่าต่างๆที่จะส่ งมาให้กบั โปรแกรมย่อยนั้นได้ใช้งาน ซึ่ งจะมีหรื อไม่กไ็ ด้
คือ ส่ วนที่ใช้บอกถึงจุดสิ้ นสุ ดหรื อจบการทางานของโปรแกรมย่อย
สาหรับกติกาโดยทัว่ ไปที่ใช้ในการกาหนดชื่อของ Object-Name มีดงั นี้
1.
2.
3.
4.
5.
พยัญชนะตัวแรกควรเป็ นตัวอักษร A - Z หรื อ a – z
พยัญชนะตัวที่สองจะเป็ นตัวอักษร หรื อตัวเลข 0 – 9 ก็ได้
ห้ามใช้สัญลักษณ์พิเศษ เช่น + - * / @ # % & ฯลฯ มาใช้ในการ
กาหนดชื่อ
ห้ามเว้นช่องว่างระหว่างชื่อ เช่น cmd 100 ให้เปลี่ยนเป็ น cmd_100
แทน
ชื่อที่ใช้ควรสั้นกะทัดรัดและสื่ อความหมาย
วิธีกาหนดชื่อย่อของคอนโทรล
lb
txt
cmd
frm
แทนชื่อย่อของ Labal
เช่น lbName, lbAddress, lbAge
แทนชื่อย่อของ TextBox เช่น txtName, txtAddress, txtAge
แทนชื่อย่อของ Command Button
เช่น cmdAdd, cmdDelete, cmdClose
แทนชื่อย่อของ Form
เช่น frmCustomer, frmGoods, frmSales
กำรใช้ ภำษำไทยใน Editor
1. คลิกเมนู Tool > Option… จะ
ปรากฏหน้าต่าง Option
2. คลิกแท็บ Editor Format แล้ว
เลือกรู ปแบบของตัวอักษรที่ตอ้ งการ
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 10
การเขียนโปรแกรมให้กบั คอนโทรล
รู ปแบบกำรเขียนโปรแกรมให้ กบั คอนโทรล
Object-name.Method [Defined-Value]
Object-name คือ ชื่อของวัตถุหรื อคอนโทรลที่ตอ้ งการอ้างถึง
Method
คือ ชื่อของเมธอดที่ตอ้ งการกาหนดคุณสมบัติให้กบั วัตถุ
Defined-Value คือ ค่าที่ตอ้ งการกาหนดให้กบั วัตถุ ซึ่ งบางเมธอดอาจจะมีหรื อไม่กไ็ ด้
กำรเขียนโปรแกรมให้ กบั ฟอร์ ม (Form)
ชื่ออีเวนต์
ความหมาย
Initialize
จะเกิดขึ ้นเมื่อฟอร์ มถูกโหลดเข้ ามาในหน่วยความจา
Load
จะเกิดขึ ้นเมื่อฟอร์ มถูกเรี ยกขึ ้นมาใช้ งาน ซึง่ เกิดขึ ้นหลังจาก Initialize
Resize
จะเกิดขึ ้นเมื่อฟอร์ มถูกปรับขนาดให้ เปลี่ยนไป
QueryUnload จะเกิดขึ ้นเมื่อฟอร์ มถูกปิ ด
Unload
จะเกิดขึ ้นเมื่อฟอร์ มถูกยกเลิกการใช้ งาน ซึง่ เกิดขึ ้นหลังจาก QueryUnload
ชื่อเมธอด
ความหมาย
Show
เป็ นเมธอดที่ใช้ เรี ยกฟอร์ มขึ ้นมาแสดงผล
Hide
เป็ นเมธอดที่สงั่ ให้ ซอ่ นฟอร์ มที่กาลังแสดงผล (ยังไม่จบการทางาน)
Unload
เป็ นเมธอดที่สงั่ จบการทางานของฟอร์ ม และคืนหน่วยความจาให้ กบั ระบบ
CenterMe
เป็ นเมธอดที่สงั่ ให้ ฟอร์ มแสดงผลอยู่ตรงกลางจอภาพพอดี
Print
เป็ นเมธอดที่สงั่ ให้ พมิ พ์หน้ าตาของฟอร์ ม
Event ที่สาคัญของ
CommandButton, OptionButton, CheckBox, ListBox
ชื่ออีเวนต์
Click
ความหมาย
จะเกิดขึ ้นเมื่อคอนโทรลนั ้นถูกคลิกเลือกให้ ทางานหรื อคลิกเลือกข้ อมูล
Private Sub Form_Load()
Form1.Caption = "ทดสอบกำรทำงำนของโปรแกรม"
End Sub
Private Sub Command1_Click()
'คำสั่ งเพือ่ เปิ ดฟอร์ ม 2
Form2.Show
End Sub
กำรเขียนโปรแกรมให้ กบั TextBox
ชื่ออีเวนต์
ความหมาย
Chance
จะเกิดขึ ้นเมื่อข้ อมูลใน TextBox มีการเปลี่ยนแปลงหรื อแก้ ไข
GotFocus
จะเกิดขึ ้นเมื่อเริ่ มรับข้ อมูลใน TextBox
LostFocus
จะเกิดขึ ้นเมื่อป้อนข้ อมูลใน TextBox เรี ยบร้ อยแล้ ว
KeyPress
จะเกิดขึ ้นเมื่อกดปุ่ มใดๆบนคีย์บอร์ ด
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมให้กบั TextBox
Private Sub Form_Activate()
Text1.SetFocus
End Sub
Private Sub Text1_Change()
Form2.Caption = "ทดสอบ Text1 Chance"
End Sub
Private Sub Text2_GotFocus()
Form2.Caption = "ทดสอบ Text2 GotFocus"
End Sub
Private Sub Text3_LostFocus()
Form2.Caption = "ทดสอบ Text3 LostFocus"
End Sub
กำรเขียนโปรแกรมให้ กบั OptionButton
Event ที่สาคัญของ OptionButon คือ Event Click ซึ่ งเกิดจากการใช้เมาส์คลิกเลือกที่
OptionButton โดยถ้า OptionButton ใดถูกคลิกเลือกจะมีค่า Value เท่ากับ True โดยอัตโนมัติ
Private Sub Option1_Click()
Text1.Text = "สวัสดี..คุณคนเก่ง"
End Sub
Private Sub Option2_Click()
Text1.Text = "คุณทาได้ ..นะ"
End Sub
Private Sub Option3_Click()
Text1.Text = "บอกแล้ วว่า...ง่าย"
End Sub
กำรเขียนโปรแกรมให้ กบั ComboBox และ ListBox
ชื่อเมธอด
ความหมาย
AddItem
เป็ นเมธอดที่ใช้ เพิ่มข้ อมูลให้ กบั ComboBox และ ListBox
RemoveItem
เป็ นเมธอดที่ใช้ ลบข้ อมูลออกจาก ListBox
List
เป็ นเมธอดที่ใช้ สาหรับอ้ างถึงตาแหน่งของข้ อมูลใน ListBox
Selected
เป็ นเมธอดที่ใช้ แสดงว่าข้ อมูลใดที่ถกู เลือกใน ListBox
ListCount
เป็ นเมธอดที่ใช้ แสดงจานวนข้ อมูลใน ListBox
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมให้กบั ComboBox
Private Sub Form_Load()
Combo1.AddItem "ผมทำได้ ."
Combo1.AddItem "ลองอีกครั้ง"
Combo1.AddItem "สำเร็จ"
End Sub
Private Sub Combo1_Click()
Text1.Text = Combo1.Text
End Sub
Private Sub Command1_Click()
List1.AddItem Text1.Text
End Sub
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 11
ชนิดของข้อมูลและการประกาศตัวแปร
ชนิดของข้อมูล
ชนิดข้ อมูล
คุณสมบัติ
เนือ้ ที่ (ไบต์ )
Byte
ใช้ เก็บเลขจานวนเต็มระหว่าง 0 - 255
1
Boolean
ใช้ เก็บค่าทางตรรก คือ จริ ง (True) หรื อ เท็จ (False)
2
Integer
ใช้ เก็บเลขจานวนเต็มระหว่าง -32,768 ถึง 32,767
2
Long
ใช้ เก็บเลขจานวนเต็มระหว่าง -2,147,483,648 ถึง 2,147,438,687
4
Single
ใช้ เก็บเลขจานวนจริ งระหว่าง -3.402823E+38 ถึง -1.401298E+45
(ค่าลบ) และ 1.401298E-45 ถึง 3.402823E+38 (ค่าบวก)
4
Double
ใช้ เก็บเลขจานวนจริ งระหว่าง -1.797693134862315D+308 ถึง
-4.94066D-324 (ค่าลบ) และ +4.94066D-324
ถึง 1.797693134862315D+308 (ค่าบวก)
8
ชนิดของข้อมูล
Currency
ใช้ เก็บค่าที่เป็ นจานวนเงินระหว่าง -922,337,203,685,477.5808
ถึง 922,337,203,685,477.5807
ใช้ เก็บข้ อมูลที่เป็ นวันที่ตงแต่
ั ้ 1 มกราคม ค.ศ. 100 ถึง
31 ธันวาคม ค.ศ. 9999
8
Object
ใช้ เก็บข้ อมูลที่อ้างถึงออบเจ็กต์ ซึง่ เป็ นแอดเดรสของออบเจ็กต์
4
String
ใช้ เก็บข้ อความที่เรี ยงต่อกัน มีค่าสูงสุดถึง 65,535 ตัวอักษร
64 KB
Variant
ใช้ เก็บค่าของข้ อมูลชนิดใดก็ได้ จากที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น
Date
8
16
ข้อมูลแบ่งได้เป็ น 4 กลุ่มใหญ่ คือ
1.
กลุ่มข้อมูลประเภทตัวเลข (Numeric) คือ ข้อมูลที่เป็ นตัวเลขโดยแบ่งออกเป็ น
ตัวเลขจานวนเต็ม ได้แก่ Byte > Integer > Long และเลขจานวนจริ งซึ่งสามารถ
เก็บค่าของตัวเลขที่มีทศนิยม ได้แก่ Single > Double > Currency
2.
กลุ่มข้อมูลประเภทข้ อควำม (Character) คือ ข้อมูลที่เป็ นข้อความหรื อมี
พยัญชนะอื่นๆผสมเรี ยงต่อกันเป็ นข้อความ ได้แก่ String
3.
กลุ่มข้อมูลประเภทวันที่ (Date) คือ ข้อมูลที่เป็ นวัน/เดือน/ปี ได้แก่ Date
4.
กลุ่มข้อมูลประเภทออบเจ็กต์ (Object) คือ ข้อมูลที่ใช้เก็บแอดเดรสเพื่ออ้างถึง
ออบเจ็กต์เหล่านั้น ได้แก่ Object
ตัวแปร (Variable)
คื อ ชื่ อ ที่ ส มมติ ข้ ึ นเพื่ อ ใช้ จ องพื้ น ที่ ก ารใช้ ง านในหน่ ว ยความจ าของเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ในการจัดเก็บ ข้อมูล โดยขนาดของตัวแปรจะขึ้ นอยู่กบั ชนิ ดของข้อมูลที่
กาหนดให้วา่ มีขนาดมากน้อยเพียงไร
Name
Age
Score
หลักกำรตั้งชื่อตัวแปร





พยัญชนะตัวแรกของชื่อจะต้องเป็ นตัวอักษร A-Z หรื อ a – z เท่านั้น
พยัญชนะตัวที่สองอาจจะเป็ นตัวเลข 0 – 9 หรื อตัวอักษร A – Z หรื อ a – z ก็ได้
พยัญชนะตัวสุ ดท้ายอาจจะเป็ นเครื่ องหมายที่ใช้แสดงถึงประเภทของตัวแปร ได้แก่ %, &,
$, #, !, @ หรื ออาจไม่มีเครื่ องหมายใดๆก็ได้ ในกรณี ที่ประกาศตัวแปรด้วยคาสั่ง Dim
ชื่อของตัวแปรต้องไม่ซ้ ากับคาสงวน (Reserved Word)
พยัญชนะที่ใช้ในการตั้งชื่อไม่ควรยาวเกินกว่า 40 ตัวอักษร
คำสงวน (Reserved Word)
คือ คาที่สงวนไว้ใช้ภายในโปรแกรมเท่านั้น โดยส่ วนใหญ่มกั จะเป็ นคาสั่ง
ต่างๆ ทั้งนี้เพื่อป้ องกันความสับสนระหว่างคาสั่งกับตัวแปรที่นาไปใช้งาน เพราะหากตั้ง
ชื่อซ้ ากัน โปรแกรมจะไม่สามารถแยกได้วา่ ชื่อนี้คือคาสั่งหรื อตัวแปร และอาจทาให้เกิด
ความสับสนในระหว่างการทางานของโปรแกรมได้ ดังนั้นจึงห้ามกาหนดชื่อของตัวแปร
ซ้ ากับคาสงวน
ตำรำงแสดงควำมหมำยของสั ญลักษณ์ ที่ต่อท้ ำยชื่อของตัวแปร
สัญลักษณ์
ความหมาย
ตัวอย่ าง
$
แทนชนิดข้ อมูลแบบ String
Name$
%
แทนชนิดข้ อมูลแบบ Integer
Score%
&
แทนชนิดข้ อมูลแบบ Long
Salary&
!
แทนชนิดข้ อมูลแบบ Single
Vat!
#
แทนชนิดข้ อมูลแบบ Double
Tax#
@
แทนชนิดข้ อมูลแบบ Currency
Money@
กำรประกำศตัวแปร (Variable Declaration) แบ่ งเป็ น 2 แบบ คือ
1. การกาหนดประเภทของตัวแปรด้ วยคาสัง่ (Explicit Declaration)
รู ปแบบ
Dim ชื่อตัวแปร As ชนิดของข้ อมูล
ชื่อตัวแปร คือ ชื่อที่ผใู ้ ช้กาหนดขึ้นตามหลักการตั้งชื่อของตัวแปร
ชนิดของข้อมูล คือ ชนิดข้อมูลที่จะกาหนดให้กบั ตัวแปร
เช่น
Dim Y As Integer
Dim Name As String
2. การกาหนดประเภทของตัวแปรโดยใช้สัญลักษณ์ (Implicit Declaration)
รู ปแบบ
ชื่อตัวแปร< สั ญลักษณ์ แทนชนิดของข้ อมูล >
สัญลักษณ์แทนชนิดข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่อยูต่ ่อท้ายชื่อของตัวแปรซึ่งบอกถึง
ประเภทของข้อมูลที่ใช้กบั ตัวแปรนั้น
Surname$
สัญลักษณ์แทนชนิดของข้อมูล
ชื่อตัวแปร
ขอบเขตกำรใช้ งำนของตัวแปร
1) การประกาศแบบ Private
คือ ตัวแปรที่ประกาศอยู่ภายใต้โปรแกรมย่อย (Procedure) ซึ่ งจะมี
ขอบเขตการทางานเฉพาะภายในโปรแกรมย่อยนั้นเท่านั้น โปรแกรมย่อยอื่นๆไม่
สามารถอ้างอิงหรื อเรี ยกใช้งานได้ โดยการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรดังกล่าวใน
โปรแกรมย่อยหนึ่ง จะไม่ส่งผลกับตัวแปรอื่นๆภายในฟอร์มเดียวกัน
2) การประกาศแบบ Public
คือ ตัวแปรที่ประกาศไว้ในส่ วนของ General ซึ่ งแตกต่างจากแบบแรก
กล่าวคือ ขอบเขตการทางานของตัวแปรดังกล่าวจะสามารถอ้างอิงไปได้ทุกๆ
โปรแกรมย่อยภายในฟอร์ มเดียวกัน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรจะ
ส่ งผลกับทุกๆโปรแกรมย่อยที่เรี ยกใช้งานตัวแปรนั้น
เครื่องหมำยกำหนดค่ ำให้ กบั ตัวแปร (Assignment Operator)
สาหรับ Visual Basic ใช้ เครื่ องหมาย “ = ” ในการกาหนดค่าให้ กบั ตัวแปร เช่น
X = 10
X = X+1
เครื่องหมำยทีใ่ ช้ ในกำรคำนวณ (Arithmetic Operators)
เครื่องหมาย
ตัวอย่ าง
=
การดาเนินการ
เท่ากับ
<>
ไม่เท่ากับ
X <> Y
>
มากกว่า
X>Y
<
น้ อยกว่า
X<Y
>=
มากกว่าหรื อเท่ากับ
X >= Y
<=
น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ
X <= Y
Like
ใช้ เปรี ยบเทียบ String
A$ Like B$
X=Y
เครื่องหมำยทำงตรรกศำสตร์ (Logical Operators)
ใช้สาหรับเชื่อมประโยคคาสั่งตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไป โดยผลลัพธ์ที่ได้จะมีค่าเป็ น
จริ ง (True) หรื อ เท็จ (False) เท่านั้น โดยเครื่ องหมายที่ใช้ได้แก่ Not, And, Or, Xor
ฟังก์ ชันพืน้ ฐำน (Function)
กลุ่มของ
ฟั งก์ ชัน
วันและเวลา
ชื่อฟั งก์ ชัน
Date
Day
Month
Year
Weekday
Time
Now
Hour
Minute
Second
หน้ าที่
แสดงวัน/เดือน/ปี ปั จจุบนั โดยยึดจาก System Clock
แสดงวันที่ เมื่อกาหนดวัน/เดือน/ปี ให้ (1- 31)
แสดงเดือน เมื่อกาหนดวัน/เดือน/ปี ให้ (1-12)
แสดงปี แบบ ค.ศ. เมื่อกาหนดวัน/เดือน/ปี ให้ (100-9999)
แสดงวันในสัปดาห์แทนด้ วยตัวเลข (1-7)
แสดงเวลา ณ ขณะเรี ยกใช้ ฟังก์ชนั โดยยึดจาก System Clock
แสดงวันที่ และเวลา ณ ขณะเรี ยกใช้ ฟังก์ชนั
แสดงส่วนที่เป็ นชัว่ โมง เมื่อกาหนดเวลาให้ (0-23)
แสดงส่วนที่เป็ นนาที เมื่อกาหนดเวลาให้ (0-59)
แสดงส่วนที่เป็ นวินาที เมื่อกาหนดเวลาให้ (0-59)
ฟังก์ ชันพืน้ ฐำน (Function)
ข้ อความ
(สตริ ง)
Trim
Len
Lcase
Ucase
Cstr
Mid
InStr
StrComp
ใช้ ตดั ช่องว่างออกจากคา
แสดงค่าความยาวของสตริ ง
แปลงตัวอักษรในสตริ งให้ อยู่ในรูปตัวพิมพ์เล็ก
แปลงตัวอักษรในสตริ งให้ อยู่ในรูปตัวพิมพ์ใหญ่
แปลงข้ อมูลใดๆให้ เป็ นสตริ ง
หาสตริ งย่อย หรื อ Substring
หาตาแหน่งของสตริ งย่อย
เปรี ยบเทียบข้ อมูลในสตริ ง
ฟังก์ ชันพืน้ ฐำน (Function)
กลุ่มของ
ฟั งก์ ชัน
ชื่อฟั งก์ ชัน
หน้ าที่
คณิตศาสตร์
Val
CInt
CLng
CSng
CDbl
CCur
Sqr
Int
Fix
แปลงค่าของสตริงให้ อยู่ในรูปของตัวเลข
แปลงค่าของตัวเลขให้ อยูใ่ นรูปของ Integer
แปลงค่าของตัวเลขให้ อยูใ่ นรูปของ Long
แปลงค่าของตัวเลขให้ อยูใ่ นรูปของ Single
แปลงค่าของตัวเลขให้ อยูใ่ นรูปของ Double
แปลงค่าของตัวเลขให้ อยูใ่ นรูปของ Currency
การหาค่ารากที่สอง
การปั ดเศษลงเพื่อให้ ตวั เลขอยู่ในรูปของ Integer
การตัดเศษทิ ้ง เพื่อให้ ตวั เลขอยู่ในรูปของ Integer
Input / Output
InputBox
MsgBox
รับข้ อมูลจากผู้ใช้ งาน
แสดงข้ อความเป็ นไดอะล็อกบ็อกซ์ โต้ ตอบกับผู้ใช้ งาน
อื่นๆ
Beep
DateDiff
ส่งเสียงปี๊ บที่ลาโพงของเครื่ อง PC
หาผลต่างระหว่างวันที่ สองวัน
ฟังก์ ชัน MsgBox
คือ ฟังก์ชนั ที่ใช้แสดงข้อความแจ้งเตือนทางจอภาพ โดยมีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้
1.การใช้ MsgBox ในรู ปแบบของคาสัง่ แสดงข้อความ
MsgBox “ข้อความ”, ชนิดของปุ่ มคาสัง่ , “ชื่อของ Title Bar”
2. การใช้ MsgBox ในรู ปแบบของฟั งก์ชนั
MsgBox (“ข้อความ”, ชนิดของปุ่ มคาสัง่ , “ชื่อของ Title Bar”)
- ข้อความ
คือ ข้อความที่ตอ้ งการแสดงแจ้งเตือนออกทางจอภาพ
- ชนิดของปุ่ มคาสัง่ คือ รู ปแบบของปุ่ มคาสัง่ ที่ตอ้ งการให้แสดงบนจอภาพ
- ชื่อของ Title Bar คือ ชื่อ Title Bar ของ MsgBox
ชนิดของปุ่ มคำสั่ งเบือ้ งต้ นบนฟอร์ ม MsgBox
ชนิดของปุ่ ม
ค่ าตัวเลข
ความหมาย
vbOkOnly
0
แสดงปุ่ ม OK ปุ่ มเดียว
vbOkCancel
1
แสดงปุ่ ม OK และ Cancel
vbAbortRetryIgnore
2
แสดงปุ่ ม Abort Retry และ Ignore
vbYesNoCancel
3
แสดงปุ่ ม Yes No และ Cancel
vbYesNo
4
แสดงปุ่ ม Yes และ No
vbRetryCancel
5
แสดงปุ่ ม Retry และ Cancel
vbCritical
16
แสดง Icon “Critical Message”
vbQuestion
32
แสดง Icon “Warning Query”
vbExclamation
48
แสดง Icon “Warning Message”
vbInformation
64
แสดง Icon “Information Message”
MsgBox เป็ นฟังก์ชนั จะทาให้ค่าที่คืนกลับมาจากการกดปุ่ มคาสัง่
ต่างๆ มีค่าดังนี้
ชนิดของปุ่ ม
ค่ าตัวเลข
เหตุการณ์
vbOk
1
ปุ่ ม OK ถูกกด
vbCancel
2
ปุ่ ม Cancel ถูกกด
vbAbort
3
ปุ่ ม Abort ถูกกด
vbRetry
4
ปุ่ ม Retry ถูกกด
vbIgnore
5
ปุ่ ม Ignore ถูกกด
vbYes
6
ปุ่ ม Yes ถูกกด
vbNo
7
ปุ่ ม No ถูกกด
ตัวอย่างการใช้คาสัง่
Private Sub Form_Load()
On Error GoTo Loaderr ‘กรณี เกิ ดข้อผิ ดพลาดให้กระโดดไปที ่ Loaderr
Text1.SetFocus
Loaderr :
‘แสดงข้อความแจ้งข้อผิ ดพลาดทีเ่ กิ ดขึ้น
MsgBox "โปรแกรมมีข้อผิดพลาด", vbOKOnly, "Error"
Unload Me ‘ปิ ดฟอร์ มปั จจุบนั ทีเ่ รี ยกใช้งาน
End Sub
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 12
ประโยคคาสัง่ ใน Visual Basic
ประเภทของประโยคคำสั่ ง
1) กลุ่มคาสั่ง Branching
เป็ นกลุ่มคาสั่งที่ใช้ในการกระโดด
ข้ามการทางานจากคาสั่งหนึ่งไปยังอีก
คาสั่งหนึ่ง ซึ่งแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มแรก คือ กลุ่มคาสั่งที่เมื่อกระโดดข้ามไป
ทางานในส่ วนของคาสั่งอื่นแล้วจะไม่
ย้ อนกลับมาทางานตามคาสั่งถัดไปจาก
คาสั่งที่กระโดดไป ได้แก่คาสั่ง Goto
กลุ่มสอง คือ กลุ่มคาสัง่ ที่เมื่อกระโดดข้ามไป
ทางานในส่ วนของคาสั่งอื่นแล้ว จะ
ย้ อนกลับมาทางานในคาสั่งถัดไปที่
ต่อท้ายคาสัง่ ที่กระโดดไป ได้แก่คาสัง่
Gosub
คาสั่ง
หน้ าที่
Goto
ย้ ายการทางานไปยังบรรทัดใดๆใน
โปรแกรม
On …Goto
ย้ ายการทางานไปยังบรรทัดใดๆตาม
เงื่อนไข โดยไม่กลับมาที่เดิม
On … Gosub
ย้ ายการทางานไปยังโปรแกรมย่อยใดๆ
ตามเงื่อนไข โดยเมื่อโปรแกรมย่อย
นันท
้ างานเสร็จจะกลับมาที่เดิม
2) กลุ่มคาสัง่ Conditional
เป็ นกลุ่มคาสัง่ ที่ทางานภายใต้การตัดสิ นใจตามเงื่อนไขที่กาหนดขึ้น ซึ่ งแตกต่าง
จากกลุ่มคาสั่งอื่นที่มีลกั ษณะการทางานแบบเรี ยงลาดับ (Sequent) กล่าวคือ ทุกคาสั่งที่
เขียนขึ้นในโปรแกรมจะได้รับการทางานทั้งหมดตั้งแต่คาสั่งแรกไปยังคาสั่งสุ ดท้าย เสร็ จ
แล้วก็จบการทางานของโปรแกรมออกไป
Statement A
FALSE
Statement B
Statement B
Conditi
on
TRUE
Statement A
Statement C
สาหรับกลุ่มคาสัง่ แบบ Condition สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 คาสัง่
- If Statement
- Select Statement
กลุ่มคาสัง่ Iteration
เป็ นกลุ่มคาสั่งที่ทางานในลักษณะแบบวนลูป (Loop) หรื อทาซ้ า
แบ่งออกเป็ น 3 แบบ ได้แก่
For … Next
Do .. Loop
While … End
ประโยคคำสั่ งตัดสิ นใจแบบ If Statement
แบบที่ 1
หรื อ
If ประโยคเงื่อนไข Then ประโยคคาสัง่
If ประโยคเงื่อนไข Then
ประโยคคาสัง่ ที่ 1
ประโยคคาสัง่ ที่ 2
ประโยคคาสัง่ ที่ N
End If
ประโยคเงื่อนไข คือ ส่ วนที่ใช้ทดสอบข้อมูล หรื อตัวแปรที่กาหนดขึ้น โดยใช้เครื่ องหมาย
เปรี ยบเทียบ เช่น > , < , >= , <= , < > , Like มาทดสอบ โดยผลลัพธ์ที่ได้จะมีค่าเป็ นจริ ง (True) หรื อเท็จ
(False) เท่านั้น
ประโยคคำสั่ง คือ ส่วนของคาสัง่ ที่ตอ้ งการให้โปรแกรมทางานภายใต้เงื่อนไขที่เป็ นจริ ง
ประโยคคำสั่ งตัดสิ นใจแบบ Select Statement
ประโยคคาสัง่ แบบ Select Statement
มีลกั ษณะคล้ายกับคาสัง่ แบบ Nested
If กล่าวคือ มีการตัดสิ นใจในการ
ทางานมากกว่า 2 ทางเลือก แต่
ลักษณะโครงสร้างของคาสัง่ แบบ
Select จะมีความซับซ้อนน้อยกว่า
คาสัง่ แบบ Nested If
Condition 1
True
Statement A
True
Statement B
False
Condition 2
False
Statement C
รู ปแบบคาสัง่
Select Case ทดสอบเงื่อนไข
Case เงื่อนไขแรก : ประโยคคาสัง่ ที่ต้องการให้ ทางาน
Case เงื่อนไขที่สอง : ประโยคคาสัง่ ที่ต้องการให้ ทางาน
Case เงื่อนไขสุ ดท้าย : ประโยคคาสั่งที่ตอ้ งการให้ทางาน
Case Else
ประโยคคาสั่งที่ตอ้ งการให้ทางาน
End Select
ประโยคคำสั่ งทำซ้ำแบบ For … Next
คาสั่งทาซ้ าแบบ For … Next มีลกั ษณะการทางานแบบวนซ้ า
ตามจานวนรอบที่แน่นอน โดยสามารถกาหนดค่าเริ่ มต้น และค่าสุ ดท้ายที่
ต้องการให้โปรแกรมวนรอบการทางานได้ ซึ่ งรู ปแบบของคาสั่งจะอาศัยตัว
แปร (Counter) ตัวหนึ่งสาหรับนับรอบการทางาน โดยแต่ละรอบจะเพิ่มค่า
ขึ้นไปเรื่ อยๆจนกระทัง่ ถึงค่าสุ ดท้ายที่กาหนดไว้ หลังจากนั้นโปรแกรมก็จะ
กระโดดออกจากลูปการทางาน ไปทางานในส่ วนอื่นต่อไป
รู ปแบบของคำสั่ ง
For ตัวแปรใช้นบั จานวนรอบ = จานวนรอบเริ่ มต้น To จานวนรอบสุ ดท้าย
ประโยคคาสัง่
Next ตัวแปรใช้นบั จานวนรอบ
ตัวแปรใช้ นับจำนวนรอบ คือ ตัวแปรที่ตอ้ งประกาศ โดยเป็ นชนิดข้อมูลแบบเลขจานวนเต็ม เช่น Byte, Integer, Long เป็ นต้น
จำนวนรอบเริ่มต้ น คือ เลขจานวนเต็มที่ระบุถึงค่าเริ่ มต้นของรอบการทางาน โดยปกติจะเริ่ มด้วย 0 หรื อ 1
จำนวนรอบสุ ดท้ ำย คือ เลขจานวนเต็มที่ระบุถึงค่าสุ ดท้ายหรื อจานวนรอบที่ตอ้ งการ โดยจะต้องมีค่ามากกว่าจานวนรอบเริ่ มต้น
ประโยคคำสั่ งทำซ้ำแบบ Do … Loop
แบบที่ 1 Do Until … Loop
โปรแกรมจะวนรอบการทางานไปจนกว่าเงื่อนไขที่ทดสอบจะมีคา่ เป็ น
จริ ง (True) โดยมีรูปแบบของคาสัง่ ดังนี้
ทดสอบเงือนไข
่
Yes
No
ประมวลผล
Do Until ประโยคเงื่อนไข
ประโยคคาสัง่ ที่ต้องการให้ ทางาน
(ถ้ าเงื่อนไขยังคงเป็ นเท็จอยู่)
Loop
แบบที่ 2 Do While … Loop
โปรแกรมจะวนรอบการทางานไปจนกว่าเงื่อนไขที่ทดสอบจะมีค่าเป็ นเท็จ (False) โดยมีรูปแบบของ
คาสัง่ ดังนี ้
Do While ประโยคเงื่อนไข
ประโยคคาสัง่ ที่ต้องการให้ ทางาน
(ถ้ าเงื่อนไขยังคงเป็ นจริงอยู่)
Loop
ทดสอบเงือนไข
่
No
Yes
ประมวลผล
แบบที่ 3 Do Loop … Until
หลักการวนรอบการทางานยังคงเหมือนกับคาสัง่ แบบ Do Until … Loop กล่าวคือ จะทางานตาม
คาสัง่ ไปเรื่ อยๆจนกว่าเงื่อนไขที่ทดสอบจะมีค่าเป็ นจริ ง เพียงแต่คาสัง่ แบบ Do Loop … Until จะทางาน
ตามคาสัง่ ก่อนทดสอบเงื่อนไขอย่างน้ อย 1 รอบ โดยมีรูปแบบคาสัง่ ดังนี ้
ประมวลผล
Do
No
ทดสอบเงือนไข
่
Yes
ประโยคคาสัง่ ที่ต้องการให้ ทางาน
(ถ้ าเงื่อนไขยังคงเป็ นเท็จอยู่)
Loop Until ประโยคเงื่อนไข
แบบที่ 4 Do Loop … While
หลักการวนรอบการทางานยังคงเหมือนกับคาสัง่ แบบ Do While … Loop กล่าวคือ จะทางาน
ตามคาสัง่ ไปเรื่ อยๆจนกว่าเงื่อนไขที่ทดสอบจะมีค่าเป็ นเท็จ เพียงแต่คาสัง่ แบบ Do Loop … While จะ
ทางานตามคาสัง่ ก่อนทดสอบเงื่อนไขอย่างน้ อย 1 รอบ โดยมีรูปแบบคาสัง่ ดังนี ้
ประมวลผล
Do
Yes
ทดสอบเงือนไข
่
No
ประโยคคาสัง่ ที่ต้องการให้ ทางาน
(ถ้ าเงื่อนไขยังคงเป็ นจริงอยู)่
Loop While ประโยคเงื่อนไข
ประโยคคำสั่ งแบบ With … End With
โดยปกติการเขียนโปรแกรมจาเป็ นต้องอ้างถึงชื่ อของวัตถุหรื อชื่ อของคอนโทรล
แล้วตามด้วยคุณสมบัติต่างๆที่ตอ้ งการกาหนด ซึ่ งบางครั้งอาจทาให้เกิดข้อผิดพลาดได้
เนื่องจากต้องพิมพ์คาสั่งเป็ นจานวนมาก ดังนั้นกลุ่มคาสั่งแบบ With … End With จึง
ช่วยให้การใช้คาสั่งต่างๆกับวัตถุหรื อคอนโทรลเดียวกัน ไม่จาเป็ นต้องพิมพ์ชื่อของวัตถุ
หรื อคอนโทรลนั้นซ้ าอีก โดยมีรูปแบบของคาสัง่ ดังนี้
With ชื่อวัตถุหรื อคอนโทรล
ประโยคคาสั่ง
End Wtih
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 13
การสร้างเมนู
กำรสร้ ำงเมนู
การสร้างเมนูในโปรแกรมเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่ตอ้ งจัดทาขึ้น เนื่ องจากโปรแกรมส่ วน
ใหญ่มกั ประกอบไปด้วยฟอร์ มต่างๆมากมาย ซึ่ งทาหน้าที่แตกต่างกันออกไปตามลักษณะ
ของงาน ดังนั้นการบริ หารจัดการฟอร์มต่างๆ ให้มีความสะดวกและรวดเร็ วในการเรี ยกใช้
งาน จึ งเป็ นสิ่ งที่ นักเขียนโปรแกรมต้องคานึ งถึงอยู่เสมอ อย่างไรก็ดีการสร้างเมนู
จาเป็ นต้องเลือกใช้ฟอร์มที่เหมาะสมเพื่อนามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่ ง
แต่ละโปรแกรมอาจมีความต้องการใช้งาน แตกต่างกันออกไป
ประเภทของฟอร์ ม



Single Document Interface (SDI)
Multiple Document Interface (MDI)
Form Main
Single Document Interface (SDI)
เป็ นฟอร์ มที่สามารถสร้างคอนโทรลหรื อวัตถุลงบนฟอร์ มได้
ซึ่ งได้แก่ฟอร์ มโดยทัว่ ไปจากที่กล่าวมาแล้วในบทเรี ยนที่ผา่ น
มา
Multiple Document Interface (MDI)
เป็ นฟอร์มที่ไม่สามารถสร้างคอนโทรลหรื อวัตถุลงบนฟอร์ ม
ได้ เหมาะสาหรับการนาไปสร้างเมนู เนื่องจากสามารถ
เรี ยกใช้ฟอร์ มอื่นๆขึ้นมาทางานแทนได้ โดยจุดเด่นที่สาคัญ
คื อ สามารถเรี ย กใช้ฟ อร์ ม ได้ค รั้ งละหลายๆฟอร์ ม ในเวลา
เดียวกัน
Form Main
สาหรับ Form Main จะไม่ปรากฏอยูบ่ นจอภาพ
แต่จะอยู่ในรู ปของโปรแกรมย่อยประเภทโพรซี เยอร์
(Procedure) โดยทาหน้าที่ในการเรี ยกใช้ฟอร์ มอื่ น
ขึ้นมาทางาน
คุณสมบัตทิ สี่ ำคัญของ MDI
คุณสมบัติ
ความหมาย
Backcolor
การกาหนดสีพื ้นหลังให้ กบั ฟอร์ ม
Caption
การกาหนดชื่อของฟอร์ ม
Icon
รูปไอคอนที่ต้องการแสดงบนฟอร์ ม
Picture
การกาหนดพื ้นหลังของฟอร์ มด้ วยรูปภาพ
WindowState
การกาหนดขนาดของฟอร์ มในขณะที่แสดงผล
การกาหนดให้ MDI เป็ นฟอร์มแรกในการทางาน
การสร้างเมนูแบบฟอร์ม MDI
Menu Title
Menu Bar
Separator Bar
Menu Item
Menu
ขั้นตอนการสร้างเมนูบนฟอร์ม MDI
1.คลิกเลือกเมนู Tools > Menu Editor… จะปรากฏหน้าต่าง Menu Editor ดังภาพ
-Caption พิมพ์ชื่อเมนู
-Name กาหนดลาดับที่ของเมนูโดยห้ ามกาหนดชื่อซ ้ากัน
-Shortcut สาหรับกาหนดคีย์ลดั ให้ เมนู
-Next การสร้ างเมนูถดั ไป
-Insert ใช้ แทรกเมนูก่อนหน้ า
-Delete ใช้ ลบเมนูที่ไม่ต้องการ
ใช้ ลดเมนูยอ่ ย
ใช้ เพิ่มเมนูยอ่ ย
-OK
ใช้ เลื่อนแถบเมนู
ปุ่ มยอมรับการสร้ างเมนู และจะกลับไปที่หน้ าต่าง
Project Design
การเขียนคาสัง่ เพื่อเรี ยกใช้ฟอร์มใน Project
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 14
แนะนาคอนโทรลพิเศษ
การเพิ่มคอนโทรล
การเพิม่ คอนโทรลอื่นๆเข้ามาในโปรแกรม มีข้ นั ตอน
ดังนี้
1. คลิกเมนู File > Project > Component จะปรากฏ
หน้าต่าง Component คลิกเลือกรายการคอนโทรลที่
ต้องการ เช่น
Microsoft Tabbed Dialog Controls 6.0
Microsoft Windows Common Controls 6.0
Microsoft Windows Common Control-2 6.0
Microsoft Windows Common Controls-3 6.0
Toolbar
เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยการทางานเกี่ยวกับการสร้างเมนู โดยสามารถกาหนดปุ่ มคาสั่งในการเรี ยกใช้ฟอร์ ม
ต่างๆที่มีอยูใ่ นระบบได้ ซึ่ งลักษณะการทางานเหมือนกับการใช้เมาส์คลิกเลือกเปิ ดฟอร์ มจากเมนู เพียงแต่
คอนโทรล Toolbar จะช่วยให้การทางานของโปรแกรมมีความยืดหยุน่ มากยิง่ ขึ้น
Status Bar
คือ คอนโทรลที่ใช้บน MDI Form เพื่อทาหน้าที่บอกสถานะการ
ทางานของฟอร์ ม เช่น แสดงเวลาปั จจุบนั แสดงวันที่ปัจจุบนั หรื อแสดง
สถานะของปุ่ ม Num เป็ นต้น
DTPicker
คือ คอนโทรลที่ใช้สาหรับแสดงวัน เดือน ปี โดยสามารถคลิกเลือก วัน
เดือน ปี ได้โดยไม่ตอ้ งพิมพ์ ทาให้มีความสะดวกในการใช้งานและลด
ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการพิมพ์ได้
Calender
คือ คอนโทรลที่แสดงวัน เดือน ปี เหมือนกับคอนโทรล
DTPicker เพียงแต่รูปแบบการแสดงผลในขณะ Run โปรแกรมจะต่างกัน
เพราะคอนโทรล Calendar จะแสดงรู ปแบบของวัน เดือน ปี ในรู ปของ
ตารางซึ่งใช้พ้นื ที่มากกว่าการใช้คอนโทรลแสดงวัน เดือน ปี แบบ DTPicker
MonthView
คือ คอนโทรลที่แสดงวัน เดือน ปี
เหมือนกับคอนโทรล DTPicker เพียงแต่
คอนโทรล MonthView ไม่สามารถพิมพ์
วัน เดือน ปี ที่ตอ้ งการได้ ซึ่งต่างจาก
DTPicker ที่สามารถพิมพ์วนั เดือน ปี
ได้ตามความต้องการของผูใ้ ช้งาน
SSTab
คือ คอนโทรลที่ช่วยให้การใช้พ้นื ที่บนฟอร์มเกิดประโยชน์มากยิง่ ขึ้น
และสามารถจัดการข้อมูลออกเป็ นส่ วนๆได้อย่างเหมาะสม
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 15
การคอมไพล์โปรแกรมและการสร้างแผ่น Setup
การคอมไพล์โปรแกรมเป็ นไฟล์ EXE
1.
2.
3.
คลิกเมนู File > Make… จะปรากฏหน้าต่างการกาหนดชื่อไฟล์
ตั ้งชื่อไฟล์ตามความต้ องการ แล้ วคลิกปุ่ ม OK
โปรแกรมจะทาการคอมไพล์โปรแกรมให้ เป็ นนามสกุล EXE
การสร้างแผ่นติดตั้งโปรแกรม (Setup)
1. คลิก Start > Program > Microsoft Visual Studio 6.0 > Microsoft Visual Studio Tool > Package &
Development Wizard ดังภาพ
2. จะปรากฏหน้ าต่าง Package and Development Wizard ให้ คลิกปุ่ ม Browse เพื่อเลือกไฟล์โปรเจ็คที่ต้องการ
3. คลิกเลือกไฟล์โปรเจ็คที่ตอ้ งการจากโฟลเดอร์ที่จดั เก็บงานไว้
4. คลิกปุ่ ม Open
5. กรณี โปรเจ็คที่สร้างยังไม่ได้รับการคอมไพล์ โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างเพื่อยืนยันการ
คอมไพล์อีกครั้ง ให้คลิกปุ่ ม Yes
6. เมื่อโปรแกรมคอมไพล์เสร็ จเรี ยบร้อย ขั้นตอนต่อไปให้คลิกเลือก Standard
Setup Package > Next
7. เลือกโฟลเดอร์เพื่อจัดเก็บไฟล์ที่เตรี ยมไว้สาหรับจัดทาแผ่น Setup หรื ออาจจะสร้าง
โฟลเดอร์ข้ ึนมาใหม่กไ็ ด้ กรณี น้ ีเลือกเก็บไว้ในโฟลเดอร์ของโปรเจ็ค เสร็จแล้วคลิกปุ่ ม Next
8. คลิกเลือกรายการ Driver ที่จาเป็ นต้องการใช้ในการติดตั้งโปรแกรม
9. คลิกเลือกรายการไฟล์ที่จาเป็ นต้องใช้ในการติดตั้งโปรแกรม เช่น ไฟล์โปรเจ็คที่
คอมไพล์เป็ น EXE หรื อถ้าต้องการเพิ่มไฟล์ Database ที่เกี่ยวข้อง ให้คลิกปุ่ ม Add เพื่อ
เพิ่มไฟล์ดงั กล่าวลงไป