Transcript Document

บทที่ 3
เริ่มต้ นกับ Visual Basic 6.0
สื่ อชุดนี้เป็ นลิขสิ ทธิ์ของสำนักพิมพ์วงั อักษร ใช้ประโยชน์เพื่อกำรศึกษำเท่ำนั้น
Even-Driven Programming ใน Visual Basic

แนวความคิดในการเขียนโปรแกรม Event-Driven จะเปลีย่ นมาสนใจกับ
เหตุการณ์ (Event) ที่จะเกิดขึน้ มากกว่ าการกาหนดลาดับขั้นตอนในการ
ทางานเหมือนโปรแกรมในแบบเดิม เช่ น ถ้ ามีการขยับเมาส์ เกิดขึน้ จะให้
โปรแกรมทาอย่ างไร หรือ ถ้ ามีการกดปุ่ มที่ 1 จะให้ โปรแกรมทางาน
อย่ างไร เป็ นต้ น แต่ อย่ างไรก็ตามยังคงต้ องอาศัยแนวความคิดในการ
เขียนโปรแกรมแบบเดิมอยู่บ้าง เนื่องจากการกาหนดการทางานให้ กบั แต่
ละ Event ยังคงต้ องกาหนดอย่ างเป็ นขั้นตอนอยู่ดี การเขียนโปรแกรม
แบบ Event –Driven ใน Visual Basic จะเป็ นการเขียนโปรแกรมให้ กบั
Object ต่ าง ๆ ทีป่ รากฏอยู่บน Form โดยพิจารณาว่ า แต่ ละ Object จะมี
Event อะไรเกิดขึน้ บ้ าง แล้วจึงเขียนโปรแกรมเฉพาะ Event นั้น
Procedure และ Function ใน Visual Basic

ยังคงแบ่ งโปรแกรมออกเป็ นส่ วน ๆ ทีเ่ รียกว่ า “โมดูล” (ตามหลักการเขียน
โปรแกรมแบบ Modularity) โดยจะแบ่ งโปรแกรมออกเป็ น “Procedure”
และ “Function” แต่ เนื่องจากการกาหนดการทางานของโปรแกรมจะ
กาหนดตาม Event ที่เกิดขึน้ กับ Object ดังนั้นการแบ่ ง Procedure ใน
Visual Basic จึงแบ่ งตามชื่อ Object และ Event เช่ นการเขียนโปรแกรม
ให้ กบั Object สมมุติชื่อ Command1 ซึ่งเป็ นปุ่ มบนจอภาพ ภายใต้
Event กดปุ่ ม ก็จะเขียนเป็ น Procudure หนึ่ง กับอีก Object หนึ่ง ซึ่ง
เป็ น Object ประเภทเดียวกันแต่ คนละชื่อ สมมุติชื่อ Command2 ภายใต้
Event กดปุ่ มเหมือนกันก็ต้องเขียนเป็ นอีก Procedure หนึ่ง ถึงแม้ จะ
เป็ น Event เดียวกัน แต่ เกิดกับ Object ทีค่ นละตัวกัน ดังรูป
Sub Command1_Click
Action1
End Sub
Sub Command2_Click
Action2
End Sub
ชื่อของ Procedure ใน Visual จะถูกกาหนดในรูปแบบ ดังนี้
[Public | Private] Sub name [(arglist)]
...
End sub
การใช้ Editor ของ Visual Basic


เครื่องมือทีจ่ าเป็ นสาหรับการพัฒนาโปรแกรมทุก ๆ ภาษาคอมพิวเตอร์
คือ “Editor” ในการเรียก Editor ของ Visual Basic ขึน้ มาทางานทาได้
โดยการดับเบิลคลิกที่ Object ที่ต้องการเขียนโปรแกรม แต่ สาหรับ
Form จะต้ องดับเบิลคลิกตรงตาแหน่ งทีไ่ ม่ มี Object ใด
วางอยู่ (ขณะที่ยังไม่ ได้ สั่งรันโปรแกรม) จากตัวอย่ าง 3.2 เมือ่ ดับเบิล
คลิกทีป่ ุ่ ม Command1 บน Form จะปรากฏจอภาพ Editor ดังต่ อไปนี้
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 2
ส่วนที่ 3




Editor จะประกอบไปด้ วย 3 ส่ วน คือ
ส่ วนที่ 1 ส่ วนแสดงรายชื่อ Object ใช้ แสดงชื่อของ Object ต่ าง ๆ ที่เรา
ได้ วาดไว้ บน Form รวมทั้งส่ วนของ General ที่ใช้ ในการนิยาม
(Declare) ตัวแปรและ User-Defined Procedure หรือ User-Defined
Function
ส่ วนที่ 2 ส่ วนแสดงรายชื่อ Event เป็ นส่ วนของ Event ภายใต้ Object
นั้น ซึ่งแต่ ละ Object จะมี Event ที่แตกต่ างกันไป
ส่ วนที่ 3 ส่ วนสาหรับเขียนโปรแกรม ใช้ สาหรับเขียนโปรแกรม
ประเภทของข้ อมูล(Data Type)

1.
2.
3.
ใน Visual Basic จะแบ่ งข้ อมูลออกเป็ นประเภทต่ าง ๆ
String ใช้ เก็บข้ อความต่ าง ๆ เช่ น “How Are you ?” หรือ “Jim
Tomson” เป็ นต้ น หรือ ชุ ดของตัวเลขในรูปแบบของข้ อความเช่ น
“1234” หรือทั้งสองอย่ างรวมกัน เช่ น “1234 Character Variable”
Integer และ Long ใช้ เก็บค่ าของเลขจานวนเต็ม ซึ่ง Long จะใช้ เก็บ
เลขจานวนเต็มทีม่ ีขนาดใหญ่
Single และ Double ใช้ เก็บค่ าของเลขจานวนเต็มซึ่ง Long จะใช้ กบั
เลขจานวนเต็มทีม่ ีขนาดใหญ่
4.
5.
6.
7.
8.
9.
Currency ใช้ เก็บค่ าทีเ่ ป็ นจานวนเงิน
Variant ใช้ เก็บค่ าประเภทใดก็ได้ โดยจะแปรเปลีย่ นไปตามข้ อมูลที่
มันจัดเก็บ
Boolean ใช้ เก็บค่ าทางตรรกะ ทีม่ ีค่าเป็ นจริง(True) หรือเท็จ (False)
Date ใช้ เก็บข้ อมูลในรูปแบบวันที่
Object ใช้ อ้างถึง Object ใด ๆ
Byte ใช้ เก็บข้ อมูลในรูปแบบ Binary
 ตัวแปรประเภท String มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบคือ String ในแบบที่ไม่จากัดความยาว

(Variable Length) และแบบจากัดความยาว(Fixed Length) ซึ่ง String แบบ
Variable Length นั้นสามารถเปลีย่ นแปลงความยาวหรือจานวนตัวอักษรได้
ขึน้ อยู่กบั ความยาวของข้ อมูลทีม่ นั เก็บอยู่ ส่ วน String แบบ Fixed Length จะ
ตรงกันข้ ามกับแบบแรกคือ ความยาวของ String จะมีค่าตามที่กาหนดไว้ ถ้ านา
String ชนิดนีไ้ ปใช้ เก็บข้ อมูลทีม่ คี วามยาวเกินกว่ าที่กาหนดไว้ ตัวอักษรทีเ่ กินจะถูก
ตัดทิง้ ไป
ตัวแปรประเภท String มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบคือ String ในแบบทีไ่ ม่ จากัดความยาว
(Variable Length) และแบบจากัดความยาว(Fixed Length) ซึ่ง String แบบ
Variable Length นั้นสามารถเปลีย่ นแปลงความยาวหรือจานวนตัวอักษรได้
ขึน้ อยู่กบั ความยาวของข้ อมูลทีม่ นั เก็บอยู่ ส่ วน String แบบ Fixed Length จะ
ตรงกันข้ ามกับแบบแรกคือ ความยาวของ String จะมีค่าตามทีก่ าหนดไว้ ถ้ านา
String ชนิดนีไ้ ปใช้ เก็บข้ อมูลทีม่ คี วามยาวเกินกว่ าที่กาหนดไว้ ตัวอักษรทีเ่ กินจะถูก
ตัดทิง้ ไป
หลักในการกาหนดชื่อตัวแปร
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ชื่อของตัวแปรจะยาวได้ ไม่ เกิน 40 ตัวอักษร
ตัวอักษรตัวแรกของชื่อต้ องเป็ นตัวอักษร A-Z
ตัวอักษรตัวถัดไปจะเป็ นตัวอักษร A-Z ตัวเลข 0-9 หรือขีด (-)
ตัวอักษรตัวสุ ดท้ ายอาจเป็ นเครื่องหมายทีใ่ ช้ แสดงถึงประเภทของตัว
แปร ได้ แก่ %,&,$,#,!,@ หรืออาจไม่ มีเครื่องหมายใด ๆ ก็ได้ ในกรณี
ที่ Declare ตัวแปรด้ วยคาสั่ ง Dim
ชื่อของตัวแปรจะต้ องไม่ ซ้ากับคาเฉพาะ(Reserve Word)
ตัวอักษรในชื่อสามารถเป็ นได้ ท้งั ตัวอักษรตัวใหญ่ และตัวเล็ก
การประกาศค่ า (Declare) ตัวแปร


ค่ าตัวแปรต่ าง ๆ ใน Visual Basic จะต้ องมีการกาหนดค่ าประเภทของตัว
แปรนั้น โดยทาได้ 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 Explicit Declaration กาหนดประเภทของตัวแปรโดยใช้ คาสั่ ง
Dim varname [As type][,varname [As type]]…

วิธีที่ 2 Implicit Declaration การกาหนดประเภทของตัวแปรจะทาอยู่
ในรูป
varname <Type Identifier>