Power Point ประกอบการสอน Orthographic ครั้งที่ 1

Download Report

Transcript Power Point ประกอบการสอน Orthographic ครั้งที่ 1

บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ
(ส่ วนที่ 1)
อ.ประทีป ชัยเสริมเทวัญ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
1. หลักการเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ
การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ เป็ นการแสดงรายละเอียด ลงบนระนาบ ซึ่ งระนาบที่ใช้ รับ
ภาพของวัตถุเรี ยกว่า ฉากรับภาพ (plane of projection) ตาแหน่งของตาที่มองวัตถุเรี ยกว่า จุด
มอง (point of sight) ซึ่ งถูกกาหนดให้อยูไ่ กลจากวัตถุมากพอที่จะทาให้แนวสายตามีทิศทาง
ขนานกันทั้งหมด เส้นที่ลากจากวัตถุมายังฉากรับภาพเรี ยกว่า เส้ นสายตา (projection) ซึ่ งจะต้อง
ขนานกันทุกเส้นและทุกเส้นต้องตั้งฉากกับฉากรับภาพเสมอ
เพื่ อ แสดงรายละเอี ยดของวัตถุ ให้ครบและสมบูร ณ์
ภาพหลักที่นิยมใช้คือ
- ภาพที่มองในแนวระดับ
(front view หรื อ elevation)
– ภาพที่มองในแนวดิ่ง
(top view หรื อ plan)
- ภาพที่มองในแนวระดับจากด้านข้าง
(end view หรื อ end elevation)
1. หลักการเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ
การเขียนภาพของวัตถุที่เกิ ดจากเส้นสายตาหลายๆ แนวลงบนระนาบสองมิติ เส้นสายตาแต่ละ
แนวต้องตั้งฉากกัน เรี ยกว่าเป็ นการเขียน ภาพฉายแบบออร์โทกราฟิ ก (orthographic projection)
2. ฉากรับภาพ
ฉากรับภาพ ประกอบด้วย 3 ฉากรับภาพหลัก คือ
VP (vertical plane) ใช้เป็ นฉากรับภาพหลัก
AVP (auxiliary vertical plane)
HP (horizontal plane)
จะสามารถวางวัตถุไ ด้ท้ งั หมด 4 ตาแหน่ งในการ
ฉายภาพไปยังฉากรับภาพคือ มุมที่หนึ่ง (first angle)
มุมที่สอง (second angle) มุมที่สาม (third angle)
และมุมที่สี่ (fourth angle)
แต่เมื่อคลี่ฉากรับภาพออก ตามหลักเกณฑ์และทิศทางดังแสดงในภาพ จะได้ภาพเขียนออร์ โทกราฟิ ก
ที่ใช้งาน 2 แบบคือ
1. การเขียนภาพฉายแบบมุมที่หนึ่ง (first angle orthographic projection)
2. การเขียนภาพฉายแบบมุมที่สาม (third angle orthographic projection)
3. การเขียนภาพฉายแบบมุมทีห่ นึ่ง
นิยมใช้ในประเทศแถบยุโรปและรัสเซี ย การเขียนภาพแบบนี้ วตั ถุจะถูกวางอยูใ่ นมุมที่หนึ่งคืออยู่
หน้าฉากรับภาพ และเมื่อหมุนฉากรับภาพจะได้ภาพที่มองจากแนวดิ่งวางอยูใ่ ต้ภาพทีม่ องจากแนว
ระดับและภาพที่มองจากแนวระดับด้านซ้ายจะวางอยูท่ างขวามือของภาพที่มองจากแนวระดับ
3. การเขียนภาพฉายแบบมุมทีห่ นึ่ง
3. การเขียนภาพฉายแบบมุมทีห่ นึ่ง
3. การเขียนภาพฉายแบบมุมทีห่ นึ่ง
4. การเขียนภาพฉายแบบมุมทีส่ าม
นิ ยมใช้ในประเทศสหรัฐอเมริ กาและแคนาดา การเขียนภาพแบบนี้ วตั ถุจะถูกวางไว้ในมุมที่สาม
คือวัตถุวางอยู่หลังฉากรับภาพ เมื่อหมุนฉากรับภาพจะได้ภาพที่มองจากแนวดิ่งอยู่เหนื อภาพที่
มองจากแนวระดับ และภาพที่ มองจากแนวระดับด้านซ้ายจะวางอยู่ดา้ นซ้ายของภาพที่มองจาก
แนวระดับ
4. การเขียนภาพฉายแบบมุมทีส่ าม
4. การเขียนภาพฉายแบบมุมทีส่ าม
4. การเขียนภาพฉายแบบมุมทีส่ าม
4. การเขียนภาพฉายแบบมุมทีส่ าม
5. การฉายเส้ น
เส้นที่ถูกฉายลงบนระนาบอาจเป็ นเส้นความยาวจริ ง (true length, T.L.) เส้นความยาวไม่จริ ง
(foreshortened) หรื อเป็ นจุด (point) ก็ได้
5. การฉายเส้ น
1) เส้นตั้งฉาก (normal line)
2) เส้นเอียง (inclined line)
3) เส้นอ็อบลีก (oblique line)
5. การฉายเส้ น
4) เส้นระดับ (horizontal line)
5) เส้นด้านหน้า (frontal line)
6) เส้นด้านข้าง (profile line)
6. การฉายระนาบ
เส้นที่ถูกฉายลงบนระนาบอาจเป็ นเส้นความยาวจริ ง (true length, T.L.) เส้นความยาวไม่จริ ง
(foreshortened) หรื อเป็ นจุด (point) ก็ได้
6. การฉายระนาบ
1) ระนาบตั้งฉาก (normal plane)
2)
ระนาบเอียง (inclined plane)
3) ระนาบอ็อบลีก (oblique plane)
การเขียนภาพฉายออร์ โทกราฟิ ก
ภาพฉายออร์ โทกราฟิ กที่เกิ ดขึ้นจากการมองวัตถุน้ นั จะต้องมีความสัมพันธ์ระหว่าง ความกว้าง
ความยาว และความสูงของภาพ เช่นความกว้างของภาพด้านบนและภาพด้านข้างจะต้องเท่ากันเรา
สามารถฉายขนาดความกว้างระหว่างภาพด้านบนและภาพด้านข้างได้หลายวิธีดงั รู ป
Quiz 2.1
ภาพฉาย Orthographic แบบมุมที่ 3
FV
Quiz 2.1
ภาพฉาย Orthographic แบบมุมที่ 1
FV
7. การแสดงส่ วนต่ างๆ ของวัตถุทถี่ ูกบัง
ในภาพออร์ โทกราฟิ กจะมีบางส่ วนของชิ้ นงานที่ ไม่สามารถมองเห็นได้จากตาแหน่งของจุด
มองที่กาหนด ซึ่ งในการเขียนแบบเครื่ องกลมักใช้เส้นประ (hidden or invisible line) แทนส่ วน
ของวัตถุที่ถูกบังนั้น
7. การแสดงส่ วนต่ างๆ ของวัตถุทถี่ ูกบัง
เส้นประที่ลากขึ้นจะมีระยะเว้นสม่าเสมอประมาณ 1/4 ของความยาวของเส้นทึบ และมี วิธีลาก
เฉพาะกรณี ดงั รู ป
7. การแสดงส่ วนต่ างๆ ของวัตถุทถี่ ูกบัง
หลักการเขียนเส้ นประ
7. การแสดงส่ วนต่ างๆ ของวัตถุทถี่ ูกบัง
หลักการเขียนเส้ นประ
7. การแสดงส่ วนต่ างๆ ของวัตถุทถี่ ูกบัง
8. การเขียนเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง
เส้นผ่านศูนย์กลางจะประกอบด้วยเส้นยาวและเส้นสั้น เส้นยาวจะยาวประมาณ 20-40 มม. และ
เส้นสั้นจะยาวประมาณ 3 มม. โดยมีช่องว่างระหว่างเส้น 0.8 มม.
กรณี ที่ระนาบรับภาพใดๆ มี เส้นผ่านศูนย์กลางซ้อนกัน จะแสดงเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงชุ ด
เดี ย วของวงกลมที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ปลายของเส้ น ผ่า นศู น ย์ก ลางจะมี ค วามยาวเกิ น เส้ น รอบรู ป
ประมาณ 3 มม. ไม่ควรสิ้ นสุ ดที่เส้นรอบรู ป
8. การเขียนเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง
หลักการเขียนเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง
8. การเขียนเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง
หลักการเขียนเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง
9. ความหมายของพืน้ ที่ในภาพ
ในการอ่านแบบภาพฉายออร์ โทกราฟิ กบางครั้งอาจเกิดความสับสนหรื อเข้าใจผิดเพราะพื้นที่ที่
มองเห็นในภาพอาจอยูใ่ นแนวระดับ แนวเอียง หรื อเป็ นเส้นโค้งก็ได้ ดังรู ป
Quiz 2.2
ตัวอย่ าง การ Sketch
FV
3D View
Left Side View
Top View
Front View