Operating System 2
Download
Report
Transcript Operating System 2
Microprocessor and
Assembly Language
By Juthawut Chantharamalee
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
1
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์ :
(Computer System)
บทที่ 2
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
2
1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซึง่ เป็ นอุ ปกรณ์ทเี่ ราสามารถจับต้องได้
ฮาร์ดแวร์ แบ่งเป็ น 5 ประเภท อุ ปกรณ์รบั ข้อมูล (input), อุ ปกรณ์ส่งข้อมูล
(output), อุ ปกรณ์ประมวลผลข้อมูล (system unit), อุ ปกรณ์เก็บข้อมูล
(storage device), และอุ ปกรณ์ทใี่ ช้ในการสือ่ สารข้อมูล
(communication device)
1.2 ซอฟท์แวร์ (Software) คือ ชุดของคาสัง่ ทีเ่ ป็ นตัวกาหนดการทางาน
ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ สามารถเรียกได้อกี อย่างหนึง่ ว่า โปรแกรม เช่น window,
winamp, winzip, wordprocessor, powerdvd เป็ นต้น
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
3
1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1.3 ส่วนบุคคล (Peopleware) คือ บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับคอมพิวเตอร์
เช่น บุคคลทัว่ ไป, นักเขียนโปรแกรม, นักวิเคราะห์ระบบ เป็ นต้น
1.4 ข้อมูล (Data) คือ ข้อมูลทีเ่ ก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์เพือ่ ไว้ใช้งานต่อไป ซึง่
สามารถเป็ นได้ ทัง้ รหัสต่างๆ ตัวอักขระ ตัวเลข รูปภาพ เสียง และ วิดโี อ เป็ นต้น
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
4
2. ชนิดของคอมพิวเตอร์
2.1 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal computer) เป็ น
คอมพิวเตอร์ทสี่ ามารถทางานได้ทงั้ รับข้อมูลเข้า ประมวลผล ส่งข้อมูลออก และเก็บ
ข้อมูล ด้วยตัวเอง
2.2 คอมพิวเตอร์พกพา (Mobile computer) และอุปกรณ์
พกพา (mobile device) เป็ นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทีผ่ ู ใ้ ช้สามารถ
พกพาไปไหนก็ได้ และอุ ปกรณ์พกพา หมายถึง อุ ปกรณ์เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ทมี่ ขี นาด
เล็กพอทีค่ ุณสามารถถือไว้ในมือได้
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
5
2. ชนิดของคอมพิวเตอร์
2.3 เครื่องให้บริการขนาดกลาง (Midrange servers) เป็ น
คอมพิวเตอร์ทมี่ ขี นาดใหญ่ และมีประสิทธิภาพในการคานวณสูง ซึง่ สามารถรองรับการ
ทางานของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทเี่ ชือ่ มโยงกันบนเน็ตเวิร์ค (network) มากกว่าพัน
เครือ่ งในเวลาเดียวกัน
2.4 เมนเฟรม (Mainframe) เป็ นคอมพิวเตอร์ทมี่ ขี นาดใหญ่ ราคาแพง
และมีประสิทธิภาพสูง ทีส่ ามารถรองรับการทางานของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ บนเครือข่าย
มากกว่า พันเครือ่ ง ในเวลาเดียวกัน และสามารถเก็บข้อมูล คาสัง่ ต่างๆ ได้มหาศาล
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
6
2. ชนิดของคอมพิวเตอร์
2.5 ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็ นคอมพิวเตอร์ ทมี่ ี
การทางานทีเ่ ร็วทีส่ ุดในบรรดาประเภทของคอมพิวเตอร์ทกี่ ล่าวมา มีประสิทธิภาพสูงสุด
และราคาแพงทีส่ ุด คอมพิวเตอร์ประเภทนีใ้ ช้สาหรับ การทางานทีม่ กี ารคานวณที่
ซับซ้อนมากๆ
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
7
ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามขนาดและการใช้งาน ได้ดังนี้
1.ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์เป็ นคอมพิวเตอร์ทมี่ ขี นาดใหญ่ มีสมรรถนะสูง สามารถ
ประมวลได้เร็ว และมีความสามารถในการเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น สถิตปิ ระชากร การขุด
เจาะน้ามัน คอมพิวเตอร์ชนิดนีม้ รี าคาแพงทีส่ ุด ส่วนใหญ่จะใช้งานในองค์กรทีม่ กี ารทางานที่
ต้องการความเร็วสูง
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
8
ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามขนาดและการใช้งาน ได้ดังนี้
เช่น งานวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียมอุ ตุนยิ มวิทยา หรือดาวเทียมสารวจทรัพยากร
งานวิเคราะห์พยากรณ์อากาศ งานทาแบบจาลองโมเลกุล ของสารเคมี งานวิเคราะห์
โครงสร้างอาคาร ทีซ่ บั ซ้อน ปัจจุบนั ประเทศไทย มีเครือ่ งซูเปอร์คอมพิวเตอร์ Cray
YMP ใช้ในงานวิจยั อยู่ทหี่ ้องปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์สมรรถภาพสู ง (HPCC)
ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผู ใ้ ช้เป็ นนักวิจยั ด้านวิศวกรรม
และวิทยาศาสตร์ทวั่ ประเทศ บริษทั ผู ผ้ ลิตทีเ่ ด่นๆ ได้แก่ บริษทั เครย์ รีเสิร์ซ
(Cray Research), บริษทั เอ็นอีซ ี (NEC) เป็ นต้น
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
9
ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามขนาดและการใช้งาน ได้ดังนี้
2.2 เมนเฟรม (Mainframe)
เมนเฟรมเป็ นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ แต่เล็กกว่า และมีสมรรถนะต่ากว่าซุปเปอร์
คอมพิวเตอร์ มีราคาแพง นิยมใช้งานกับธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร โรงแรม หรือ ใช้
เป็ นเซิร์ฟเวอร์ขององค์การขนาดใหญ่ เป็ นต้นได้ชอื่ ว่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ก็เพราะครัง้
แรกทีส่ ร้างคอมพิวเตอร์ลกั ษณะนีไ้ ด้สร้างไว้บนฐานรองรับ ทีเ่ รียกว่า คัสซี่ (Chassis)
โดยมีชอื่ เรียกฐานรองรับนีว้ ่า เมนเฟรม นัน่ เอง
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
10
ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามขนาดและการใช้งาน ได้ดังนี้
2.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
DEC PDP 8 ปี 1965
มินคิ อมพิวเตอร์เป็ น คอมพิวเตอร์ทมี่ สี มรรถนะต่ารองลงมาจากเมนเฟรม คือ
ทางานได้ชา้ กว่า แต่ราคาย่อมเยาว์กว่าเมนเฟรม ใช้ในธุรกิจขนาดกลางและเล็กทีต่ ้องการ
ความสามารถในการประมวลผลสูงและราคาไม่สูงเกินไป เช่น ตามองค์กร และสถานศึกษา
ในระดับอุ ดมศึกษาต่างๆ เป็ นต้น
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
11
ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามขนาดและการใช้งาน ได้ดังนี้
2.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) หรือ
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal computer)
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือ คอมพิวเตอร์แบบตัง้ โต๊ะ(Desktop
computer) หาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง มีขนาดเล็กกว่ามินคิ อมพิวเตอร์ บุคคลทัว่ ไป
สามารถซื้อไว้ใช้งาน หรือ เพือ่ ความบันเทิง ได้ เหมาะกับการใช้งานทีไ่ ม่จาเป็ นต้องใช้
ความเร็วสูงมาก แต่ในปัจจุบนั ความสามารถในการทางานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลได้
พัฒนาสูงขึน้ มาก และราคาไม่แพง
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
12
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในรูปแบบที่พกพาสะดวก
2.4.1 โน๊ตบุค (Notebook Computer, Labtop)
เป็ นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขนาดเล็กประมาณสมุดโน๊ต โดยทัว่ ไปมีราคาสูงกว่า
และประหยัดไฟมากกว่าคอมพิวเตอร์ตงั้ โต๊ะ มีแบตเตอร์รใี่ นตัว สามารถพกพาไปทีใ่ ดก็ได้
และเปิ ดใช้ได้ไม่จาเป็ นต้องมีแหล่งจ่ายไฟ ส่วนใหญ่สามารถเปิ ดใช้ได้ประมาณ 4 ชัว่ โมง
ปัจจุบนั ได้พฒั นาให้มขี นาดบาง และน้าหนักเบา อีกทัง้ ยังมี ความสามารถเทียบเท่ากับ
คอมพิวเตอร์ตงั้ โต๊ะอีกด้วย
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
13
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในรูปแบบที่พกพาสะดวก
2.4.2 เทบเล็ต (Tablet PC)
มีลกั ษะคล้ายกระดานเขียนตัวหนังสือ สามารถใช้งานได้เหมือนสมุดจดบันทึกหรือ
สมุดโน๊ต โดยคุณสามารถวาด หรือเขียนตัวหนังสือลงไปบนหน้าจอได้เลย ไม่จาเป็ นต้องใช้
คีย์บอร์ดเหมาะสาหรับคนทีช่ อบเขียนมากกว่าชอบพิมพ์ในปัจจุบนั เทบเล๊ตสามารถ
บันทึกเสียงได้ด้วย
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
14
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในรูปแบบที่พกพาสะดวก
2.4.3 พีดีเอ (PDA: Personal Digital Assistant)
เป็ นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเท่าฝ่ ามือ ความสามารถในการประมวลน้อยกว่า
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทัว่ ไป แต่ยงั สามารถดูหนัง ฟั งเพลง เล่นอินเตอร์เน็ตได้ มีปฏิทนิ
และสมุดนัดหมาย บางรุ่นสามารถเป็ นโทรศัพท์เคลือ่ นทีไ่ ด้ด้วย มีอุปกรณ์รบั เข้า คือ สไตล์
ลัส (stylus) ซึง่ มีลกั ษณะคล้ายปากกา เวลาใช้จะอาศัยแรงกดลงไปบนหน้าจอ พีดเี อ
บางรุ่นสามารถสัง่ งานด้วยเสียงได้
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
15
3. โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์
โดยทัว่ ไปแล้วคอมพิวเตอร์แต่ละรุ่นแต่ละยีห่ ้อ ก็จะมีการวางส่วนประกอบต่าง ๆ ไม่
เหมือนกัน แต่ถา้ เรามองโครงสร้างของคอมพิวเตอร์ในรูปแบบ Module แล้วจะเห็น
ส่วนประกอบต่าง ๆ ทีม่ รี ูปแบบเหมือนกันดังนี้
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
16
3. โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์
3.1.1 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
หน่วยประมวลผลกลางจัดได้ว่าเป็ นส่วนทีส่ าคัญทีส่ ุดของคอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือน
เป็ นสมองของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ โดยทาหน้าทีใ่ นการคานวณค่าต่าง ๆ ตามคาสัง่ ที่
ได้รบั และควบคุมการทางานของส่วนประกอบอืน่ ๆ ทัง้ หมด ในระบบ
ไมโครคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผลกลางจะถูกสร้างให้อยู่ในรูปวงจรรวม
(Integrated Circuit: IC) เพียงตัวเดียวทาให้ง่ายในการนาไปใช้งาน ภายใน
หน่วยประมวลผลกลางมีส่วนประกอบย่อย ๆ สามส่วนคือ
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
17
3. โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์
1. หน่วยคานวณทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit :
ALU) เป็ นหน่วยทีท่ าหน้าทีป่ ระมวลผลโดยใช้วธิ ที คี่ ณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร
หรือ ทาหน้าทีป่ ระมวลผลทางตรรกะ เช่น AND OR NOT COMPLEMENT
เป็ นต้น รวมทัง้ ยังทาหน้าทีใ่ นการเปรียบเทียบค่าต่าง ๆ อีกด้วย
2. หน่วยเก็บข้อมูลชัว่ คราว (Register) เป็ นหน่วยความจาขนาดเล็ก ทาหน้าทีเ่ ป็ นทีพ่ กั
ข้อมูล ชัว่ คราวก่อนทีจ่ ะถูกนาไปประมวลผล โดยปกติแล้วในหน่วยประมวลผลกลางจะมี
Register สาหรับเก็บข้อมูลไม่เกิน 64 ตัว การอ้างอิงข้อมูลของ Register จะมี
ความเร็วเท่ากับความเร็วของหน่วยประมวลผลกลาง เพราะเป็ นหน่วยความจาส่วนทีอ่ ยู่
ภายในตัวหน่วยประมวลผลกลางจึงไม่ต้องไปอ้างอิงถึงภายนอกหน่วยประมวลผล
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
18
3. โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์
3. หน่วยควบคุม (Control Unit) เป็ นเสมือนหน่วยบัญชาการของระบบ
คอมพิวเตอร์ทงั้ หมด ทาหน้าทีก่ าหนดจังหวะการทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ไม่เว้น
แม้แต่ส่วนประกอบอืน่ ๆ ของ CPU นอกจากนีย้ งั ทาหน้าทีค่ วบคุมการส่งข้อมูล
ระหว่างหน่วยต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
19
3. โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์
3.1.2 หน่วยความจา (Memory Unit)
เป็ นหน่วยทีท่ าหน้าทีเ่ ก็บข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็ นตัวเลขหรือข้อความ
แม้กระทัง่ คาสัง่ ต่าง ๆ ในโปรแกรมทีจ่ ะใช้สงั่ งานระบบคอมพิวเตอร์ โดยทัว่ ไปแล้ว
หน่วยความจาจะถูกสร้างมาบน IC เพือ่ ให้มคี วามจุสูงแต่มขี นาดเล็ก ข้อมูลทีเ่ ก็บใน
หน่วยความจาจะมีสถานะเพียงแค่เปิ ดวงจร (0) หรือปิ ดวงจร (1) เท่านัน้
หน่วยความจาสามารถแบ่งออกได้เป็ นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
20
3. โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์
ROM (Read Only Memory) เป็ นหน่วยความจาส่วนที่ CPU สามารถอ่าน
ข้อมูลออกมาใช้งานได้ตามกรรมวิธปี กติ แต่เมือ่ ต้องการจะเขียนข้อมูลลงไปจะต้องใช้วธิ ี
พิเศษ ทาให้ต้องมีวงจรในการเขียนข้อมูลโดยเฉพาะ ข้อดีของหน่วยความจาแบบนีก้ ค็ อื
ข้อมูลทีเ่ ขียนลงไปแล้วจะคงอยู่ไปตลอดแม้ว่าจะปิ ดเครือ่ งคอมพิวเตอร์ไปแล้วก็ตาม
ดังนัน้ ROM จึงมักจะถูกใช้เก็บโปรแกรมสาหรับเริม่ ต้นการทางานของเครือ่ ง
คอมพิวเตอร์
RAM (Random Access Memory) เป็ นหน่วยความจาที่ CPU สามารถ
อ่านเขียนข้อมูลได้ด้วยวิธปี กติของระบบ ทาให้สามารถเปลีย่ นแปลงข้อมูลได้ตลอดเวลา
RAM จึงมักจะถูกนาไปใช้เก็บข้อมูลระหว่างการทางานของระบบ แต่ RAM ก็มขี อ้ เสีย
คือข้อมูลทีเ่ ก็บไว้ทงั้ หมดจะสูญหายไปทันทีทหี่ ยุดจ่ายไฟให้กบั หน่วยความจา
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
21
3. โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์
3.1.3 หน่วยนาข้อมูลเข้าและหน่วยแสดงผล (I/O Unit)
เป็ นหน่วยทีเ่ ปรียบเสมือนประสาทของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ทาหน้าทีร่ บั การติดต่อจาก
ภายนอกเข้าสู่ระบบ และแสดงผลทีไ่ ด้จากการทางานของระบบออกสู่ภายนอก เช่น
คีย์บอร์ด, จอภาพ, ลาโพง, Disk Drive เป็ นต้น โดยปกติแล้วเรามักจะแบ่งความ
หรูหราของเครือ่ งคอมพิวเตอร์โดยดูจากหน่วยนาข้อมูลเข้าและหน่วยแสดงผลเป็ นส่วน
ใหญ่ เช่น ขนาดของจอภาพ, ความจุของ Disk เป็ นต้น
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
22
3. โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์
3.1.3 หน่วยนาข้อมูลเข้าและหน่วยแสดงผล (I/O Unit)
เป็ นหน่วยทีเ่ ปรียบเสมือนประสาทของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ทาหน้าทีร่ บั การติดต่อจาก
ภายนอกเข้าสู่ระบบ และแสดงผลทีไ่ ด้จากการทางานของระบบออกสู่ภายนอก เช่น
คีย์บอร์ด, จอภาพ, ลาโพง, Disk Drive เป็ นต้น โดยปกติแล้วเรามักจะแบ่งความ
หรูหราของเครือ่ งคอมพิวเตอร์โดยดูจากหน่วยนาข้อมูลเข้าและหน่วยแสดงผลเป็ นส่วน
ใหญ่ เช่น ขนาดของจอภาพ, ความจุของ Disk เป็ นต้น
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
23
4. ระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
เมือ่ คอมพิวเตอร์ไม่มซี อฟต์แวร์กไ็ ม่ต่างไปจากเครือ่ งประดับราคาสูงชิน้ หนึง่ เท่านัน้ โดย
ปกติแล้วราคาของระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็ นราคาของซอฟต์แวร์ และเป็ นส่วนที่
จะกาหนดอนาคตของระบบคอมพิวเตอร์ว่าจะอยู่ในตลาดได้นานเท่าใด ความหมายของ
ซอฟต์แวร์มไี ด้หลายแบบตามแต่จะใช้คาพู ดใด ซึง่ ความหมายโดยรวมก็คอื
“ซอฟต์แวร์หมายถึงกลุม่ ของคาสัง่ ทีก่ าหนดการทางานของคอมพิวเตอร์เพือ่ ให้บรรลุ
จุดประสงค์ทตี่ ้องการ” การพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ให้กบั คอมพิวเตอร์เครือ่ งหนึง่
มักจะมีการกาหนดประเภทของซอฟต์แวร์ออกเป็ นสามประเภทคือ
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
24
4. ระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
4.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
เป็ นซอฟต์แวร์ส่วนทีท่ าหน้าทีค่ วบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์โดยตรงเพือ่ ทาให้ระบบ
คอมพิวเตอร์โดยรวมมีประสิทธิภาพสูงทีส่ ุด และยังทาหน้าทีใ่ ห้บริการการสัง่ งาน
ฮาร์ดแวร์ของซอฟต์แวร์ประเภทอืน่ ๆ เพือ่ อานวยความสะดวกในเรือ่ งของการรวม
รายละเอียดการสัง่ งานทีซ่ บั ซ้อนให้เหลือเพียงการสัง่ งานง่าย ๆ เช่น การอ่านไฟล์จาก
ดิสก์กส็ ามารถสัง่ งานด้วยคาสัง่ ง่าย ๆ เพียงคาสัง่ เดียวให้ซอฟต์แวร์ระบบสัง่ งาน
ฮาร์ดแวร์ส่วนทีท่ าหน้าทีจ่ ดั การกับดิสก์ในเรือ่ งรายละเอียดต่อไป
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
25
4. ระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
4.2 ซอฟต์แวร์ระบบเฉพาะส่วน (System Library Sofware)
เป็ นส่วนทีร่ วบรวมการคาสัง่ การทางานทีส่ ลับซับซ้อนขึน้ มาจากซอฟต์แวร์ ระบบ ทา
หน้าทีใ่ ห้บริการการทางานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ต่อไป เช่น ในซอฟต์แวร์ระบบอาจจะมี
คาสัง่ แค่อ่านเขียนไฟล์ แต่ใน System Library อาจจะมีคาสัง่ ทีจ่ ดั การกับไฟล์
หลาย ๆ ไฟล์ในรูปแบบของฐานข้อมูลเป็ นต้น
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
26
4. ระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
4.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
เป็ นซอฟต์แวร์ทพ
ี่ ฒั นาขึน้ เพือ่ ใช้กบั งานด้านใดด้านหนึง่ โดยเฉพาะซอฟต์แวร์ประยุกต์
อาจจะเป็ นซอฟต์แวร์ทพี่ ฒั นาขึน้ มาเองหรือซื้อมาในรูปโปรแกรมสาเร็จรูปก็ได้ ปัจจุบนั
โปรแกรมสาเร็จรูปของระบบไมโครคอมพิวเตอร์มอี ยู่มากมายในหลายด้าน เช่น
Microsoft Office เป็ นต้น
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
27
5. ความสัมพันธ์ กันของส่วนประกอบต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ กนั ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประเภทต่าง ๆ สามารถทีจ่ ะแสดงอยู่ใน
รูปของแผนภูม ิ หัวหอมได้ โดยฮาร์ดแวร์จะอยู่ชนั้ ในสุด ถัดมาจะเป็ นส่วนของ
ซอฟต์แวร์ระบบ System Library และซอฟต์แวร์ประยุกต์ตามลาดับ โดยระบบ
ในชัน้ นอกจะเรียกใช้การบริการของระบบในชัน้ ในกว่าลงไปและคอยให้บริการแก่ระบบในชัน้ ที่
อยู่ถดั ออกมาจากตัวเอง
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
28
The End
Lesson 1
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
29