บทที่4 โมเดลข้อมูลแบบ E-R

Download Report

Transcript บทที่4 โมเดลข้อมูลแบบ E-R

สธ 306 ระบบการจัดการฐานข้ อมูลทางธุรกิจ
BT 306 Business Database Management System
อ.กิตติพงศ์ เซ่ งลอยเลือ่ น
อาจารย์ พเิ ศษ มหาวิทยาลัยแม่ โจ้
1
บทที่ 4 โมเดลข้ อมูลแบบ E-R
• หัวข้ อในการนาเสนอ
องค์ประกอบของโมเดลแบบ E-R
 ความหลากหลายของเอนติตี
 ตัวอย่างการวิเคราะห์และออกแบบโมเดลข้อมูลแบบ E-R
 บทสรุ ป

2
องค์ ประกอบของโมเดลแบบ E-R
เอนติตี
 แอททริ บิวท์
 ความสัมพันธ์

3
องค์ ประกอบของโมเดลแบบ E-R

4
เอนติตี
– เอนติตีเชิงรู ปธรรม
 เอนติตีที่เป็ นบุคคล เช่น ”นักศึกษา” ”พนักงาน” ”อาจารย์” เป็ นต้น
 เอนติตีที่เป็ นสถานที่ เช่น ”ร้านค้า” ”บริ ษท
ั ” ”โรงพยาบาล” เป็ นต้น
 เอนติตีที่เป็ นวัตถุ เช่น ”เครื่ องจักร” ”รถยนต์” ”หนังสื อ” เป็ นต้น
– เอนติตีเชิงแนวความคิด เช่น ”วิชา” ”คณะ” ”แผนก” เป็ นต้น
– เอนติตีเชิงเหตุการณ์ เช่น ”การลงทะเบียน” ”การซื้ อ” ”การขาย” ”การยืม” ”
การคืน” เป็ นต้น
องค์ ประกอบของโมเดลแบบ E-R

5
แอททริบิวท์
– ความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของเอนติตี แอทริ บิวท์ และสมาชิกของเอนติตี
– ประเภทของแอททริ บิวท์
 แอททริ บิวท์แบบธรรมดา
 แอททริ บิวท์แบบร่ วม
 แอททริ บิวท์ที่มีค่าข้อมูลได้เพียงค่าเดียว
 แอททริ บิวท์ที่มีค่าข้อมูลได้หลายค่า
– แอททริ บิวท์ที่เป็ นตัวชี้เฉพาะสมาชิกของเอนติตี
แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างประเภทของเอนติตี แอททริบิวท์ และสมาชิกของเอนติตี
6
ประเภทของแอททริบิวท์

7
แอททริบิวท์ แบบธรรมดา
ประเภทของแอททริบิวท์

8
แอททริบิวท์ แบบร่ วม
ประเภทของแอททริบิวท์

9
แอททริบิวท์ ทมี่ คี ่ าข้ อมูลหลายค่ า
แอททริบิวท์ ที่เป็ นตัวชี้เฉพาะสมาชิกของเอนติตี
10
องค์ ประกอบของโมเดลแบบ E-R

11
ความสั มพันธ์
– ประเภทของความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี
– ความหลากหลายของความสัมพันธ์แต่ละประเภท
– ความสับสนระหว่างความสัมพันธ์แบบหนึ่ ง-ต่อ-กลุ่ม และกลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม
– ชั้นของความสัมพันธ์
– จานวนความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี
– การกาหนดแอททริ บิวท์เพื่อแทนความสัมพันธ์
– แอททริ บิวท์ของความสัมพันธ์
– ความสัมพันธ์ที่มีขอ้ มูลขึ้นกับเวลา
ประเภทของความสั มพันธ์ ระหว่ างเอนติตี
ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง
 ความสัมพันธ์แบบ หนึ่ ง-ต่อ-กลุ่ม
 ความสัมพันธ์แบบ กลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม

12
ความสั มพันธ์ แบบ หนึ่ง-ต่ อ-หนึ่ง
13
ความสั มพันธ์ แบบหนึ่ง-ต่ อ-กลุ่ม
14
ความสั มพันธ์ แบบ กลุ่ม-ต่ อ-กลุ่ม
15
ความหลากหลายของความสั มพันธ์ แต่ ละประเภท



16
ความหลากหลายของความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง
– ทางเลือก 1:1*
– ทางเลือก 1*:1
– ทางเลือก 1*:1*
ความหลากหลายของความสัมพันธ์แบบ หนึ่ง-ต่อ-กลุ่ม
– ทางเลือก 1:M*
– ทางเลือก 1:M
– ทางเลือก 1:M*
ความหลากหลายของความสัมพันธ์แบบ กลุ่ม-ต่อ-กลุ่ม
ทางเลือก 1:1*
17
ทางเลือก 1*:1
18
ทางเลือก 1*:1*
19
ทางเลือก 1:M*
20
ทางเลือก 1*:M (หรือ 0..1:M)
21
ทางเลือก 1*:M* (หรือ 0..1:0..M)
22
ความสั บสนระหว่ างความสั มพันธ์ แบบหนึ่ง-ต่ อ-กลุ่ม และกลุ่ม-ต่ อ-กลุ่ม
ความสัมพันธ์แบบ 1:M
 ความสัมพันธ์แบบ M:N

23
ความสั มพันธ์ แบบ 1:M
24
ความสั มพันธ์ แบบ M:N
25
ชั้นของความสั มพันธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างหนึ่งเอนติตี
 ความสัมพันธ์ระหว่างสองเอนติตี
 ความสัมพันธ์ระหว่างสามเอนติตี

26
ความสั มพันธ์ ระหว่ างหนึ่งเอนติตี
27
ความสั มพันธ์ ระหว่ างหนึ่งเอนติตี
28
ความสั มพันธ์ ระหว่ างสองเอนติตี
29
ความสั มพันธ์ ระหว่ างสามเอนติตี
30
จานวนความสั มพันธ์ ระหว่ างเอนติตี
อาจารย์แต่ละคน อาจถูกประเมินวิชาได้มากกว่า 1 วิชา
 แต่ละวิชาอาจมีอาจารย์ที่ถูกประเมินได้มากกว่า 1 คน

31
การกาหนดแอททริบิวท์ เพือ่ แทนความสั มพันธ์
แสดงรู ปแบบที่ผดิ ในการเก็บแอททริ บิวท์ที่แสดงความสัมพันธ์ไว้ในเอนติตีของแผนภาพ E-R
32
แอททริบิวท์ ของความสั มพันธ์
แอททริ บิวท์ “วันที่เริ่ มเข้ าร่ วมโครงการ” ถูกออกแบบเป็ นแอททริ บิวท์ของความสัมพันธ์ “เข้ าร่ วมโครงการ”
33
ความสั มพันธ์ ทมี่ ีข้อมูลขึน้ กับเวลา
34
ความสั มพันธ์ ทมี่ ีข้อมูลขึน้ กับเวลา
35
ความหลากหลายของเอนติตี
เอนติตีเชิงความสัมพันธ์
 เอนติตีแบบอ่อน

36
เอนติตเี ชิงความสั มพันธ์
การแปลงความสัมพันธ์ “เข้าร่ วมโครงการ” เป็ นเอนติตีเชิงความสัมพันธ์ชื่อ “การเข้าร่ วมโครงการ”
37
เอนติตแี บบอ่ อน
แสดงตัวอย่างเอนติตี “ผูเ้ อาประกัน” ที่เป็ นเอนติตีแบบอ่อน
38
ตัวอย่ างการวิเคราะห์ และออกแบบโมเดลข้ อมูลแบบ E-R
การวิเคราะห์ระบบงานรับเหมาก่อสร้าง
 การวิเคราะห์ระบบเช่าสื่ อภาพยนตร์
 การวิเคราะห์ระบบการลงทะเบียน

39
การวิเคราะห์ ระบบงานรับเหมาก่ อสร้ าง
40
การวิเคราะห์ ระบบงานรับเหมาก่ อสร้ าง
41
การวิเคราะห์ ระบบงานรับเหมาก่ อสร้ าง
การวิเคราะห์หาเอนติตี
 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ั เอนติตีและความสัมพันธ์
 การวิเคราะห์แอททริ บิวท์ให้กบ
 การวิเคราะห์ตวั ชี้เฉพาะ
 การสร้างแผนภาพ E-R ของระบบ

42
การวิเคราะห์ หาเอนติตี
คนงาน
 ความชานาญ
 สถานที่ก่อสร้าง

43
การวิเคราะห์ ความสั มพันธ์
44
การวิเคราะห์ แอททริบิวท์ ให้ กบั เอนติตีและความสั มพันธ์
45
การวิเคราะห์ ตัวชี้เฉพาะ
46
การสร้ างแผนภาพ E-R ของระบบ
47
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์










48
การลงทะเบียนสื่ อภาพยนตร์ ใหม่
การลงทะเบียนสื่ อภาพยนตร์
การรับสมัครสมาชิก
การบริ การเช่าสื่ อภาพยนตร์
การบริ การคืนสื่ อภาพยนตร์
การวิเคราะห์หาเอนติตี
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
การวิเคราะห์แอททริ บิวท์ให้กบั เอนติตีและความสัมพันธ์
การวิเคราะห์ตวั ชี้เฉพาะ
การสร้างแผนภาพ E-R ของระบบ
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

49
การลงทะเบียนสื่ อภาพยนตร์ใหม่
– ชื่อภาพยนตร์
– ประเภทภาพยนตร์ (เช่น ผรั่ง ไทย จีน สารคดี การ์ ตูน และอื่นๆ)
– แนวภาพยนตร์ (เช่น ชีวิต โรแมนติก ผจญภัย action และอื่นๆ)
– บริ ษท
ั เจ้าของลิขสิ ทธิ์ (เช่น CVD EMI UNIVERSAL และอื่นๆ)
– จานวนตอน (เช่น 1 ตอน ต่อ 1 แผ่น)
– วันที่ลงทะเบียน
– รหัสอนุญาต
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

50
การลงทะเบียนสื่ อภาพยนตร์
– ประเภทสื่ อภาพยนตร์ (VDO, VCD, และ DVD)
– ชื่อภาพยนตร์ เป็ นต้น
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

51
การรับสมัครสมาชิก
– ชื่อ-สกุล
– ที่อยู่
– เพศ
– วัน-เดือน-ปี เกิด
– วันสมัคร
– วันหมดอายุ
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

52
การบริการเช่ าสื่ อภาพยนตร์
– หลังจากที่สมาชิ กเลือกสื่ อภาพยนตร์ (VDO, VCD และ/หรือ
DVD) ที่ต้องการเช่ าได้ แล้ว ทางร้ านต้ องทาการบันทึกการเช่ าและ
การชาระเงินค่ าเช่ า (ในทีน่ ีจ้ ะไม่ กล่าวถึงรายละเอียดเกีย่ วกับ
การเงิน) โดยการเช่ าจะมีเงื่อนไขคือ สมาชิกแต่ ละคนสามารถเช่ า
สื่ อในขณะใดขณะหนึ่ง (รวมถึงที่ยังไม่ คนื ) รวมแล้วไม่ เกิน 10
สื่ อ
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

53
การบริการคืนสื่ อภาพยนตร์
– สื่ อภาพยนตร์ แต่ละประเภท จะมีอตั ราและจานวนวันที่สามารถเช่า
ได้แตกต่างกัน ดังนั้น เมื่อครบกาหนดสมาชิกต้องนาสื่ อที่เช่ามาคืน
แก่ทางร้าน ในกรณี ที่สมาชิกคนใดคืนช้ากว่าที่กาหนด ทางร้านจะ
คิดค่าปรับตามอัตราค่าปรับของสื่ อภาพยนตร์แต่ละประเภท
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

54
การวิเคราะห์หาเอนติตี
– สมาชิก
– ภาพยนตร์
– สื่ อภาพยนตร์
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

55
การวิเคราะห์ ความสั มพันธ์
– ความสัมพันธ์ “สาเนา” ระหว่างเอนติตี ”ภาพยนตร์ ” และ ”สื่ อภาพยนตร์ ”
หมายความว่า ภาพยนตร์ หนึ่งเรื่ องสามารถทาสาเนาเป็ นสื่ อภาพยนตร์ ได้
มากกว่าหนึ่งสื่ อ เช่น ทาสาเนาเป็ นสื่ อแบบ VDO จานวน 10 ม้วน VCD
จานวน 20 แผ่น และ เป็ นสื่ อแบบ DVD จานวน 40 แผ่น เป็ นต้น แต่สื่อ
ภาพยนตร์ แต่ละชุดจะถูกสาเนาจากภาพยนตร์ เพียงเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งเท่านั้น
ดังนั้น ความสัมพันธ์น้ ีจึงเป็ นแบบ 1:M
– ความสัมพันธ์ “เช่ า” ระหว่างเอนติตี ”สมาชิก” และ ”สื่ อภาพยนตร์ ”
หมายความว่า สมาชิกคนหนึ่งๆ จะ สามารถเช่าสื่ อภาพยนตร์ ได้มากกว่าหนึ่ง
สื่ อ (ไม่เกิน 10 สื่ อ) แต่สื่อแต่ละสื่ อ(แต่ละแผ่นหรื อม้วน) จะถูกเช่าโดย
สมาชิกเพียงหนึ่ งคน ดังนั้น ความสัมพันธ์น้ ีจึงเป็ นแบบ 1:M
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

56
การวิเคราะห์ แอททริบิวท์ ให้ กบั เอนติตีและความสั มพันธ์
– สมาชิก ประกอบด้วยแอททริ บิวท์ รหั สสมาชิ ก ชื่ อ-สกุล ที่ อยู่ เพศ วันสมัคร
และ วันหมดอายุ
– ภาพยนตร์ ประกอบด้วยแอททริ บิวท์ รหั สภาพยนตร์ ชื่ อภาพยนตร์ ประเภท
ภาพยนตร์ แนวภาพยนตร์ บริ ษัทเจ้ าของลิขสิ ทธิ์ จานวนตอน วันที่
ลงทะเบียน และ รหั สอนุญาต เป็ นต้น
– สื่ อภาพยนตร์ ประกอบด้วยแอททริ บิวท์ รหั สสื่ อภาพยนตร์ ประเภทสื่ อ
ภาพยนตร์ อัตราค่ าเช่ า (ณ ปัจจุบนั ) จานวนวันที่เช่ าได้ อัตราค่ าปรั บ และ
สถานะ (‘ถูกเช่า’ หรื อ ‘ยังไม่ถกู เช่า’) เป็ นต้น
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

57
การวิเคราะห์ ตัวชี้เฉพาะ
การวิเคราะห์ ระบบเช่ าสื่ อภาพยนตร์

58
การสร้ างแผนภาพ E-R ของระบบ
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน










59
กรอกประวัตินกั ศึกษา
ตรวจสอบรายวิชาที่เปิ ดสอน
การกรอกรายวิชาที่ตอ้ งการลงทะเบียนเรี ยน
การประมวลผลการเรี ยน
การสร้างรายงานสรุ ปผลการเรี ยนของนักศึกษา
การวิเคราะห์หาเอนติตี
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
การวิเคราะห์แอททริ บิวท์ให้กบั เอนติตีและความสัมพันธ์
การวิเคราะห์ตวั ชี้เฉพาะ
การสร้างแผนภาพ E-R ของระบบ
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

60
กรอกประวัตินกั ศึกษา
– รหัสนักศึกษา
– ชื่อ-สกุล
– คณะ
– สาขาวิชา
– ที่อยู่
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

61
การตรวจสอบรายวิชาทีเ่ ปิ ดสอน
– รหัสวิชา
– ชื่อวิชา
– จานวนหน่วยกิต
– เงื่อนไขวิชา
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

62
การกรอกรายวิชาที่ต้องการลงทะเบียนเรียน
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

63
การประมวลผลการเรียน
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

64
การสร้ างรายงานสรุ ปผลการเรียนของนักศึกษา
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

65
การวิเคราะห์ หาเอนติตี
– นักศึกษา
– วิชา
– คณะ
– สาขาวิชา
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

66
การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์
– ความสัมพันธ์ “ลงทะเบียน” ระหว่างเอนติตี ”นักศึกษา” และ ”วิชา” จะเป็ นแบบ M:N หมายความว่า
นักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนเรี ยนมากกว่าหนึ่งวิชา และในทางกลับกัน วิชาหนึ่งๆ ก็อาจมีนกั ศึกษา
ลงทะเบียนมากกว่าหนึ่งคน เป็ นต้น
– ความสัมพันธ์ ”เงื่ อนไขวิชา” ระหว่างเอนติตี ”วิชา” ด้วยกันเอง ซึ่ งเป็ นความสัมพันธ์แบบรี เคอร์ ซีฟแบบ
M:N หมายความว่า วิชาแต่ละวิชาจะมีวิชาอื่นที่เป็ นเงื่อนไขได้มากกว่าหนึ่งวิชาขึ้นไป และในทางกลับกัน
วิชาหนึ่งๆจะสามารถเป็ นเงื่อนไขวิชาให้กบั วิชาอื่นๆได้มากกว่าหนึ่งวิชา เช่นกัน
– ความสัมพันธ์ “สังกัดคณะ” ระหว่างเอนติตี “สาขาวิชา” และ “คณะ” จะเป็ นแบบ 1:M หมายความว่า
สาขาวิชาหนึ่งๆจะสามารถสังกัดคณะได้เพียงหนึ่งคณะ และในทางกลับกัน คณะแต่ละคณะจะสามารถมี
สาขาวิชาสังกัดได้มากกว่าหนึ่งสาขาขึ้นไป
– ความสัมพันธ์ “สังกัดสาขาวิชา” ระหว่างเอนติตี “นักศึกษา” และ “สาขาวิชา” จะเป็ นแบบ 1:M หมายความ
ว่า นักศึกษาหนึ่งคนจะสามารถสังกัดสาขาวิชาได้เพียงหนึ่งสาขา และในทางกลับกัน แต่ละสาขาวิชาจะ
สามารถมีนกั ศึกษาสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคนขึ้นไป
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

67
การวิเคราะห์ แอททริบิวท์ ให้ กบั เอนติตีและความสั มพันธ์
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

68
การวิเคราะห์ ตัวชี้เฉพาะ
การวิเคราะห์ ระบบการลงทะเบียน

69
การสร้ างแผนภาพ E-R ของระบบ
บทสรุป

70
องค์ประกอบที่สาคัญของโมเดลแบบ E-R ประกอบด้วยเอนติตี แอททริ บิวท์ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี ทั้งนี้เอนติตีจะแบ่งออกได้เป็ นสามประเภทคือ เอน
ติตีปกติ เอนติตีเชิงสัมพันธ์ และเอนติตีแบบอ่อน โดยเอนติตีปกติจะเป็ นเอนติตีที่
ไม่ข้ ึนกับเอนติตีใด โดยมีแอททริ บิวท์ต้ งั แต่หนึ่งแอททริ บิวท์ข้ ึนไปทาหน้าที่เป็ น
ตัวชี้เฉพาะของเอนติตี เอนติตีเชิงสัมพันธ์จะเป็ นเอนติตีที่ถูกแปลงมาจาก
ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของเอนติตีที่มีความสัมพันธ์กนั โดยจะมีแอททริ
บิวท์ที่เป็ นตัวชี้เฉพาะที่นามาจากเอนติตีปกติที่สัมพันธ์กนั และยังมีแอททริ บิวท์
ที่เป็ นของความสัมพันธ์เองด้วย สาหรับเอนติตีแบบอ่อนจะเป็ นเอนติตีที่ข้ ึนกับ
การปรากฏของสมาชิกในเอนติตีปกติเสมอ โดยจะมีแอททริ บิวท์ที่ทาหน้าที่เป็ น
ตัวชี้เฉพาะเพียงบางส่ วน ซึ่ งจะต้องถูกนาไปรวมกับแอททริ บิวท์ที่เป็ นตัวชี้
เฉพาะจากเอนติตีปกติ เพื่อทาหน้าที่เป็ นตัวชี้เฉพาะที่สมบูรณ์