ภาษี อากร กับ งาน วิจัย

Download Report

Transcript ภาษี อากร กับ งาน วิจัย

ภาษีอากรกับงานวิจัย
สมพงษ์ ตัณฑพาทย์
1
ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax)
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล (Corporate Income Tax)
ภาษีมูลค่ าเพิม่ (Value Added Tax)
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business Tax)
อากรแสตมป์ (Stamp Duty)
2
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา (PIT)
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
บุคคลธรรมดา
ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ
คณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิตบิ ุคคล
3
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา (PIT)
ฐานภาษี
เงินได้ สุทธิ
เงินได้ พงึ ประเมิน
= เงินได้ พงึ ประเมิน
หัก ค่ าใช้ จ่าย
หัก ค่ าลดหย่ อน
ปี ภาษี
คือ
ปี ประดิทิน
4
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา (PIT)
การคานวณภาษี
เงินได้ สุทธิ คูณ
อัตราภาษี
แบบก้าวหน้ า
(5-37%)
เงินได้ พงึ ประเมิน คูณ 0.5%
(สาหรับผู้มเี งินได้ ตามมาตรา 40
(2)-(8) ตั้งแต่ 60,000 บาทขึน้ ไป)
จานวนภาษีที่ต้องชาระ
5
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา (PIT)
ภายในเดือนกันยายนของทุกปี
(สาหรับเงินได้ ทไี่ ด้ รับระหว่ าง
วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 มิถุนายน )
การยืน่ แบบแสดงรายการ
และชาระภาษีเงินได้
ภายในเดือนมีนาคมของปี ถัดไป
(สาหรับเงินได้ ทไี่ ด้ รับในแต่ ละปี ภาษี)
6
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา (PIT)
ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย
ต้ องหักภาษี ณ ทีจ่ ่ ายทุกครั้งทีม่ กี าร
จ่ ายเงินได้ ประเภทที่กฎหมายกาหนด
ต้ องนาส่ งภาษีทหี่ ักไว้ ภายในวันที่ 7
ของเดือนถัดจากเดือนที่มกี ารหักภาษีไว้
7
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา (PIT)
ภาษีหัก
ณ ทีจ่ ่ าย
เงินได้ ทกี่ ฎหมาย
กาหนดให้ มีการ
หักภาษี ณ ทีจ่ ่ าย
เงินได้ จากการจ้ างแรงงาน
ค่ าลิขสิ ทธิ์ และสิ ทธิอย่างอืน่
ดอกเบีย้ เงินปันผล
ค่ าเช่ า วิชาชีพอิสระ
ค่ าจ้ างทาของ
ค่ าโฆษณา
ค่ าส่ งเสริมการขาย
ค่ าขนส่ ง
ค่ านายหน้ า
8
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล (CIT)
บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล
กิจการที่ดาเนินการเป็ นทางค้ าหากาไรโดยรัฐบาลต่ างประเทศ..
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
(มาตรา 39)
กิจการร่ วมค้ า
มูลนิธิ หรือสมาคม
นิตบิ ุคคลอืน่ ทีอ่ ธิบดีกาหนด
9
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล (CIT)
ฐานภาษี (มาตรา 65)
กาไรสุ ทธิทไี่ ด้
ในรอบระยะเวลาบัญชี
รอบระยะเวลาบัญชี
กาหนดให้ มี 12 เดือน
= รายได้ – รายจ่ าย
(เป็ นไปตามเงื่อนไข
ทีก่ าหนดในมาตรา
64 ทวิ และ 65 ตรี)
การคานวณรายได้ และ
รายจ่ ายให้ ใช้ เกณฑ์ สิทธิ์
10
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล (CIT)
อัตราภาษี
ร้ อยละ 30 ของกาไรสุ ทธิ
(บางกรณีลดอัตราลงเหลือ
ร้ อยละ 10,15,20 หรือ 25)
การหักภาษีตามมาตรา
70 ร้ อยละ 15 (เฉพาะ
เงินปันผล ร้ อยละ 10)
การจาหน่ ายกาไรตาม
มาตรา 70 ทวิ ร้ อยละ 10
ร้ อยละ 10 ของรายรับก่อนหัก
รายจ่ ายใดๆ ของมูลนิธิ หรือ
สมาคม ที่ประกอบกิจการ
ซึ่งมีรายได้
(บางกรณีลดเหลือร้ อยละ 2)
11
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล (CIT)
การยืน่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี
ภายใน 2 เดือน นับจากวันสุ ดท้ ายของ
หกเดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี
(สาหรับการเสี ยภาษีจาก
ประมาณการกาไรสุ ทธิหรือกาไรสุ ทธิจริง
ของหกเดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี)
ภายใน 150 วัน นับจากวันสุ ดท้ าย
ของรอบระยะเวลาบัญชี
(สาหรับการเสี ยภาษีจากกาไรสุ ทธิ
ทีไ่ ด้ ในรอบระยะเวลาบัญชี)
12
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล (CIT)
ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย
ต้ องหักภาษี ณ ทีจ่ ่ ายทุกครั้งทีม่ กี าร
จ่ ายเงินได้ ประเภททีก่ ฎหมายกาหนด
ต้ องนาส่ งภาษีที่หักไว้ ภายในวันที่ 7
ของเดือนถัดจากเดือนทีม่ ีการหักภาษีไว้
13
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล (CIT)
ภาษีหัก
ณ ทีจ่ ่ าย
เงินได้ ที่กฎหมาย
กาหนดให้ มีการ
หักภาษี ณ ทีจ่ ่ าย
ค่ านายหน้ า ค่ าสิ ทธิ์
ดอกเบีย้ เงินปันผล
ค่ าเช่ า วิชาชีพอิสระ
ค่ าจ้ างทาของ ค่ าบริการ
ค่ าส่ งเสริมการขาย
เบีย้ ประกันวินาศภัย
ค่ าโฆษณา ค่ าขนส่ ง
14
ภาษีมูลค่ าเพิม่ (VAT)
ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษี
ผู้ประกอบการ
ผู้นาเข้ า
บุคคลทีข่ ายสิ นค้ าหรือ
ให้ บริการในทางธุรกิจ
หรือวิชาชีพ
ผู้ประกอบการ
หรือบุคคลอืน่
ซึ่งเป็ นผู้นาเข้ า
15
ภาษีมูลค่ าเพิม่ (VAT)
อัตราภาษี
ร้ อยละ 7
การขายสิ นค้ า
ร้ อยละ 0
การส่ งออกสิ นค้ า
การให้ บริการ
การให้ บริการในประเทศและมี
การใช้ บริการนั้นในต่ างประเทศ
การนาเข้ า
การขนส่ งระหว่ างประเทศ
โดยทางเรือหรืออากาศยาน
16
ภาษีมูลค่ าเพิม่ (VAT)
การคานวณภาษี
VAT = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ
ถ้ าภาษีซื้อมากกว่ าภาษีขาย
ผลต่ างถือเป็ นเครดิตใน
การคานวณภาษี
คานวณเป็ น
รายเดือนภาษี
ขอคืนภาษี
ใช้ ชาระภาษี
ในเดือนถัดไป
17
ภาษีมูลค่ าเพิม่ (VAT)
การยืน่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี
ภายในวันที่ 15
ของเดือนถัดไป
ยืน่ แบบเป็ นรายเดือนภาษี
ยืน่ ณ ที่ว่าการอาเภอซึ่ง
สถานประกอบการตั้งอยู่
กรณีมีสถานประกอบการหลาย
แห่ งให้ แยกยืน่ เป็ นรายสถาน
ประกอบการ (ยกเว้ นได้ รับอนุมัติ
จากอธิบดีให้ ยนื่ แบบรวมกันได้ )
18
ภาษีมูลค่ าเพิม่ (VAT)
การจดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่
ผู้ประกอบการมีสิทธิขอ
จดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่
ก่ อนเริ่มประกอบกิจการได้
ผู้ประกอบการต้ องขอจดทะเบียน
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ภายใน 30 วัน นับ
จากวันทีฐ่ านภาษีเกินกว่ าฐาน
ภาษีของกิจการขนาดย่ อม
(รายรับเกิน 1,800,000 บาทปี )
19
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT)
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
การธนาคาร
ธุรกิจเงินทุน
ธุรกิจหลักทรัพย์
การประกันชีวติ
โรงรับจานา
บุคคลทีป่ ระกอบกิจการ ดังต่ อไปนี้
การประกอบกิจการโดยปกติ
เยีย่ งธนาคารพาณิชย์
การขายอสั งหาริมทรัพย์
เป็ นทางค้ าหากาไร
การขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์
กิจการอืน่ ที่กาหนดโดย พ.ร.ฎ.
20
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT)
ฐานภาษี
รายรับเนื่องจากการ
ประกอบกิจการทีอ่ ยู่ใน
บังคับต้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
21
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT)
อัตราภาษี
(1) 0.10%
(2) 2.50%
(3) 3.00%
ของรายรับก่อนหัก
รายจ่ ายใดๆ จาก
การขายหลักทรัพย์
ในตลาดหลักทรัพย์
ของรายรับจากการ
ประกอบกิจการ
ประกันชีวติ
หรือโรงรับจานา
ของรายรับจากการ
ประกอบกิจการ
นอกเหนือจาก
(1) และ (2)
22
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT)
การคานวณภาษี
SBT= ฐานภาษี (รายรับ) คูณ อัตราภาษี
คานวณภาษีเป็ นรายเดือนภาษี
23
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT)
การยืน่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี
ภายในวันที่ 15
ของเดือนถัดไป
ยืน่ แบบเป็ นรายเดือนภาษี
ยืน่ ณ ที่ว่าการอาเภอซึ่ง
สถานประกอบการตั้งอยู่
กรณีมีสถานประกอบการหลาย
แห่ งให้ แยกยืน่ เป็ นรายสถาน
ประกอบการ (ยกเว้ นได้ รับอนุมัติ
จากอธิบดีให้ ยนื่ แบบรวมกันได้ )
24
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT)
การจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
บุคคลทีป่ ระกอบกิจการซึ่งอยู่ใน
บังคับต้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
ต้ องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภายใน 30 วันนับแต่ วนั ที่เริ่ม
ประกอบกิจการ
25
อากรแสตมป์ (SD)
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยอากร
ตราสารทีต่ ้ องปิ ด
อากรแสตมป์
บุคคลซึ่งถูกกาหนดให้
มีหน้ าทีเ่ สี ยอากรตาม
บัญชีอตั ราอากรแสตมป์
เช่ าทีด่ นิ หรือสิ่ งปลูกสร้ าง
เช่ าซื้อทรัพย์สิน
จ้ างทาของ
ตั๋วแลกเงิน
กู้ยมื เงิน
ตัว๋ สั ญญาใช้ เงิน, เช็ค
กรมธรรม์ ประกันภัย
bill of lading, L/C, etc.
26
อากรแสตมป์ (SD)
ค่ าอากรแสตมป์
กาหนดใน
บัญชีอตั รา
อากรแสตมป์
จานวนเงินคงที่
1-30 บาท
อัตราคงที่ เช่ น 1 บาท สาหรับ
จานวนเงินตามสั ญญาทุก 200 บาท
หรือเศษของ 200 บาท เป็ นต้ น
27
อากรแสตมป์ (SD)
วิธีการเสี ยอากร
ในจานวนที่ไม่ น้อย
กว่ าที่ต้องเสี ย
เสี ยอากรโดย
ปิ ดแสตมป์ ทับบนตราสารและขีดฆ่ า
ใช้ แสตมป์ ดุน
ชาระอากรเป็ นตัวเงิน
28
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
ภาษีมูลค่ าเพิม่
อากรแสตมป์
29
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
เงินได้ ทบี่ ุคคลธรรมดา ได้ รับจากการรับจ้ างทางานวิจัยและให้ คาปรึกษาแนะนา
โดยได้ ทาเพียงคนเดียวเงินทีไ่ ด้ รับเข้ าลักษณะเป็ นเงินได้ พงึ ประเมินเนื่องจาก
การรับทางานให้ ตามมาตรา 40(2) แห่ งประมวลรัษฎากร หากได้ ทาโดยร่ วมกับ
บุคคลอืน่ หรือมีลูกจ้ างหรือมีสานักงานและมีค่าใช้ จ่ายในการบริหารงานจานวน
มากเงินได้ ที่ได้ รับเข้ าลักษณะเป็ นเงินได้ พงึ ประเมินตามมาตรา 40(8) แห่ ง
ประมวลรัษฎากร
30
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
เงินค่ าตอบแทนการวิจัยทีบ่ ุคคลธรรมดาได้ รับจะถือเป็ นเงินได้ พงึ ประเมิน ตามมาตรา
40(1) หรือมาตรา 40(2) หรือมาตรา 40(8) แห่ งประมวลรัษฎากร นั้น ต้ องพิจารณาเป็ น
รายกรณี ดังนี้
(1) กรณีจะเข้ าลักษณะเป็ นเงินได้ พงึ ประเมิน ตามมาตรา 40(1) แห่ งประมวลรัษฎากร
ต้ องปรากฏว่ า คู่สัญญามีความประสงค์ จะผูกนิตสิ ั มพันธ์ กนั อย่ างนายจ้ างกับลูกจ้ าง
(2) กรณีผ้ รู ับจ้ างวิจัยได้ ทาการวิจัย และต้ องปฏิบัตติ ามข้ อบังคับเกีย่ วกับการทางาน
ตามสั ญญาจ้ าง เงินที่ได้ รับเข้ าลักษณะเป็ นเงินได้ เนื่องจากการรับทางานให้ ตามมาตรา 40(2)
แห่ งประมวลรัษฎากร
31
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
(3) กรณีผ้ รู ับจ้ างได้ ทาการวิจัยร่ วมกับบุคคลอืน่ หรือมีลูกจ้ างหรือมีสานักงาน และ
มีค่าใช้ จ่ายในการบริหารงานจานวนมาก เงินได้ ทไี่ ด้ รับเข้ าลักษณะเป็ นเงินได้ พงึ ประเมิน
ตามมาตรา 40(8) แห่ งประมวลรัษฎากร ซึ่งจะหักค่ าใช้ จ่ายได้ ตามความจาเป็ นและสมควร
ตามมาตรา 8 ทวิ แห่ งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่ าด้ วยการ
กาหนดค่ าใช้ จ่ายที่ยอมให้ หักจากเงินได้ พงึ ประเมิน (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502
32
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
โครงการวิจัยซึ่งมีบุคคลธรรมดา เป็ นหัวหน้ าโครงการ และมีบุคคลอืน่
ร่ วมปฏิบัติงานวิจัยด้ วยจึงถือว่ าผู้ร่วมโครงการวิจัยเป็ นคณะบุคคลทีม่ ิใช่
นิติบุคคล ดังนั้น เงินทุนศึกษาวิจัยทีไ่ ด้ รับจึงต้ องนาไปเสี ยภาษีเงินได้
ในนามของคณะบุคคล ตามมาตรา 56 วรรคสอง แห่ งประมวลรัษฎากร
โดยให้ หักค่ าใช้ จ่ายได้ ตามความจาเป็ นและสมควร ตามมาตรา 46 แห่ ง
ประมวลรัษฎากร ประกอบกับพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2502
33
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
คณะทางานฯ ทีท่ าการศึกษาวิจัยมีลกั ษณะเป็ นคณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิตบิ ุคคล
เมื่อได้ รับเงินได้ พงึ ประเมิน มีหน้ าที่ยนื่ รายการเกีย่ วกับเงินได้ พงึ ประเมิน
ในชื่อของคณะบุคคล และเมื่อมีการจ่ ายเงินส่ วนแบ่ งจากการทางานให้ แก่
บุคคลในคณะทางานฯ เงินได้ ดังกล่ าวถือเป็ นเงินส่ วนแบ่ งของกาไรจาก
คณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิติบุคคลซึ่งต้ องเสียภาษี ได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ ตาม
มาตรา 42 (14) แห่ งประมวลรั ษฎากร
34
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
เงินทุนอุดหนุนการวิจัยฯ ทีส่ านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติจ่ายให้ แก่ ผ้ รู ่ วม รับทุนใน
ลักษณะเหมาจ่ ายโดยแบ่ งจ่ ายเป็ นงวด ๆ ตามผลสาเร็จของงานที่กาหนดในสั ญญา และ
เงินทุนทีจ่ ่ ายถูกนาไปใช้ จ่ายเป็ นค่ าอุปกรณ์ และค่ าวิเคราะห์ ต่าง ๆ โดยผลงานวิจัยตกเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ของสานักงานฯ เงินทุนอุดหนุนดังกล่ าวเข้ าลักษณะเป็ นเงินได้ พงึ ประเมินตาม
มาตรา 40(8) แห่ งประมวลรัษฎากร ไม่ เข้ าลักษณะเป็ นรางวัลเพือ่ การศึกษาหรือค้ นคว้ าใน
วิทยาการที่ได้ รับยกเว้ นไม่ ต้องรวมคานวณเพือ่ เสี ยภาษีเงินได้ ตามมาตรา 42 (11) แห่ ง ปร.
กรณีสานักงานฯจ่ ายเงินทุนอุดหนุนการวิจัยให้ แก่ บุคคลธรรมดาและหน่ วยงานภาครัฐซึ่ง
เป็ นผู้ร่วมรับทุนฯ อันเข้ าลักษณะเป็ นคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่ นิตบิ ุคคล สานักงานฯ จึงมีหน้ าที่
ต้ องหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ ายในอัตราร้ อยละ 1 ของยอดเงินที่จ่าย ตามมาตรา 50(4) แห่ ง ปร.
35
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
กรณีนักวิจัยจากต่ างประเทศมีเงินได้ พงึ ประเมินเนื่องจากหน้ าทีห่ รือ
กิจการทีท่ าในประเทศไทย ตามมาตรา 40 แห่ งประมวลรัษฎากรแล้ว
นักวิจัยดังกล่าวมีหน้ าทีต่ ้ องเสี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาในประเทศ
ไทยตามมาตรา 41 วรรคแรก แห่ งประมวลรัษฎากร
36
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
ตามข้ อ 18 แห่ งอนุสัญญาเพือ่ การเว้ นการเก็บภาษีซ้อนระหว่ างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น
ได้ กาหนดให้ ศาสตราจารย์ ครู และนักวิจัย ซึ่งมีถิ่นทีอ่ ยู่ในประเทศญี่ปุ่นทีเ่ ดินทางเข้ ามาทา
การสอน หรือวิจัยตาม คาเชิญของมหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาอืน่
อันเป็ นที่รับรองแล้วในประเทศไทยโดยมีระยะเวลาไม่ เกิน 2 ปี นับแต่ วนั ที่ได้ เดินทางเข้ ามา
ในประเทศไทยเพือ่ ทาการสอนหรือวิจัยในสถาบันการศึกษาดังกล่าว ได้ รับการยกเว้ นภาษี
เงินได้ บุคคลธรรมดาสาหรับเงินค่ าตอบแทนการสอนหรือวิจัยนั้น ตามมาตรา 3 แห่ ง
พระราชกฤษฎีกาฯ ว่ าด้ วยการยกเว้ นรัษฎากร (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 ทั้งนี้ การสอนหรือ
การค้ นคว้ าวิจัยดังกล่ าวจะต้ องมิได้ มวี ัตถุประสงค์ เพือ่ ผลประโยชน์ แก่ เอกชนคนเดียว
หรือหลายคนโดยเฉพาะ
37
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
กรณีข้าราชการของมหาวิทยาลัย ได้ รับค่ าตอบแทนเป็ นเงินเดือนประจาจาก
มหาวิทยาลัยอยู่แล้ว และได้ รับเงินค่ าตอบแทนจากการปฏิบัตงิ านในโครงการ
วิจัยจากมหาวิทยาลัยอีก เงินค่ าตอบแทนจากการปฏิบัติงานในโครงการวิจัย
ดังกล่าวเข้ าลักษณะเป็ นเงินได้ อนั เนื่องมาจากการจ้ างแรงงาน ตามมาตรา 40(1)
แห่ งประมวลรัษฎากร
38
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
กรณีมหาวิทยาลัยจ่ ายเงินค่ าตอบแทนในการปฏิบัติงานในโครงการวิจัยให้ แก่
บุคคลภายนอกซึ่งมิได้ รับเงินเดือนประจาจากมหาวิทยาลัย ไม่ ว่าจะเป็ น วิศวกร
สถาปนิก หรือแพทย์ เข้ าลักษณะเป็ นเงิน ทรัพย์ สิน หรือประโยชน์ ใด ๆ ที่ได้
เนื่องจากหน้ าที่หรือตาแหน่ งงานที่ทาหรือรับทางานให้ ตามมาตรา 40(2) แห่ ง
ประมวลรัษฎากร
39
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
เงินรางวัล ของขวัญ หรือผลประโยชน์ ตอบแทนทีจ่ ่ ายให้ แก่ผ้ปู ฏิบัตงิ านวิจัย
หรืองานวรรณกรรม ตามผลสาเร็จของงานที่ได้ นาไปใช้ ประโยชน์ แล้วในอัตรา
ร้ อยละของส่ วนแบ่ งทีไ่ ด้ รับไม่ เข้ าลักษณะเป็ นรางวัลเพือ่ การศึกษาหรือค้ นคว้ า
ในวิทยาการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นไม่ ต้องรวมคานวณเพือ่ เสี ยภาษีเงินได้ ตามมาตรา
42(11) แห่ งประมวลรัษฎากร
40
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
บริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลทีร่ ับจ้ างทาวิจัย
ต้ องนารายได้ จากการรับจ้ างมารวมคานวณกาไรสุ ทธิ
เพือ่ เสี ยภาษี ตามมาตรา 65 แห่ งประมวลรัษฎากร
41
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
กรณีห้างฯ ได้ ให้ บริการรับทาวิจัย ให้ คาปรึกษา โดยผู้ว่าจ้ างซึ่งเป็ นส่ วนราชการ
เป็ นผู้ทไี่ ด้ รับประโยชน์ จากงานวิจัยนั้น เมือ่ ผู้ว่าจ้ างจ่ ายเงินเพือ่ เป็ นค่ าใช้ จ่าย
ในการดาเนินการวิจัยให้ แก่ห้างฯ เงินที่ห้างฯ ได้ รับดังกล่าว เข้ าลักษณะเป็ น
เงินได้ พงึ ประเมินตามมาตรา 40(8) แห่ งประมวลรัษฎากร ห้ างฯ ต้ องนาเงินได้
ดังกล่ าวมารวมคานวณกาไรสุ ทธิเพือ่ เสี ยภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลตามมาตรา 65
แห่ งประมวลรัษฎากร และผู้จ่ายมีหน้ าทีต่ ้ องหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ ายในอัตรา
ร้ อยละ 1 ของยอดเงินได้ ตามมาตรา 69 ทวิ แห่ งประมวลรัษฎากร
42
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
กรณีมูลนิธิฯ ได้ รับการประกาศกาหนดให้ เป็ นองค์ การหรือสถาน
สาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) แห่ งประมวลรัษฎากร ไม่ เข้ าลักษณะ
เป็ น "บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล" ตามมาตรา 39 แห่ งประมวล
รัษฎากร ไม่ อยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีเงินได้ นิติบุคคล ดังนั้น มูลนิธิฯ
จึงไม่ มีหน้ าทีต่ ้ องเสี ยภาษีเงินได้ นิติบุคคล และผู้จ่ายเงินได้ พงึ ประเมิน
ให้ แก่มูลนิธิฯ ไม่ มีหน้ าทีต่ ้ องหักภาษี ณ ทีจ่ ่ าย แต่ อย่ างใด
43
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีมูลค่ าเพิม่
กรณีรับจ้ างทาวิจยั และเป็ นที่ปรึกษาการทาวิจยั ในโครงการ
ต่ าง ๆ ให้ แก่ ภาครัฐและเอกชน เข้ าลักษณะเป็ นการให้ บริการ
โดยผู้ประกอบการ จึงมีหน้ าทีต่ ้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ตาม
มาตรา 77/2(1) แห่ งประมวลรัษฎากร
44
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีมูลค่ าเพิม่
กรณีรับจ้ างทาวิจัย เข้ าลักษณะเป็ นการให้ บริการตามมาตรา 77/1(10) แห่ ง
ประมวลรัษฎากร เมื่อประกอบกิจการมีรายรับเกินกว่ า 1,800,000 บาทต่ อปี
มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 77/1(5) มาตรา 77/2(1) มาตรา 82(1)
และมีหน้ าทีต่ ้ องยืน่ คาขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ และมาตรา 85/1 แห่ ง
ประมวลรัษฎากร
45
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีมูลค่ าเพิม่
กรณีทมี่ หาวิทยาลัยซึ่งเป็ นนิติบุคคลตามกฎหมายเฉพาะ ให้ บริการวิจัยและบริการวิชาการ
แก่ หน่ วยงานภาครัฐและเอกชนเข้ าลักษณะเป็ นการให้ บริการโดยผู้ประกอบการตามมาตรา
77/1(5) แห่ งประมวลรัษฎากร มหาวิทยาลัย ในฐานะผู้ประกอบการ จึงมีหน้ าทีต่ ้ องเสี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 77/2(1) แห่ ง ปร. แต่ เนื่องจากผู้ประกอบกิจการดังกล่ าวเป็ น
สถาบันการศึกษา จึงได้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(1)(ฎ) แห่ งประมวลรัษฎากร
และตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีมูลค่ าเพิม่ (ฉบับที่ 12) เรื่อง กาหนด
สาขาและลักษณะการประกอบกิจการ การให้ บริการวิจัยหรือการให้ บริการทางวิชาการ
ตามมาตรา 81(1)(ฎ) แห่ ง ปร. ซึ่งแก้ไขเพิม่ เติมโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ วกับ
ภาษีมูลค่ าเพิม่ (ฉบับที่ 171) (ใช้ บังคับตั้งแต่ วนั ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 เป็ นต้ นไป)
46
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
ภาษีมูลค่ าเพิม่
การจ่ ายค่ าจ้ างทาวิจยั ให้ แก่ บุคคลในต่ างประเทศ ถือเป็ นการจ่ ายค่ า
บริการแก่ ผ้ ูให้ บริการในต่ างประเทศและได้ มีการใช้ บริการนั้นใน
ราชอาณาจักร ผู้จ่ายมีหน้ าทีต่ ้ องนาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา
83/6(2) แห่ งประมวลรัษฎากร
47
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
อากรแสตมป์
สั ญญาจ้ างทาวิจัย เข้ าลักษณะเป็ นสั ญญาจ้ างทาของ ตามลักษณะตราสาร
4. จ้ างทาของ แห่ งบัญชีอตั ราอากรแสตมป์ ผู้รับจ้ างมีหน้ าทีต่ ้ องเสี ยอากร
ในอัตรา 1 บาท ต่ อทุกจานวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของ 1,000 บาท
แห่ งสิ นจ้ างทีก่ าหนดไว้
48
ภาระภาษีอากรกับงานวิจัย
อากรแสตมป์
ถ้ าฝ่ ายทีต่ ้ องเสี ยอากรเป็ นรัฐบาล เจ้ าพนักงานผู้กระทางานของรัฐบาลโดยหน้ าที่
บุคคลผู้กระทาการในนามของรัฐบาล องค์ การบริหารราชการส่ วนท้ องถิ่น สภา
กาชาดไทย วัดวาอารามและองค์ การศาสนาใด ๆ ในราชอาณาจักรซึ่งเป็ นนิติบุคคล
อากรเป็ นอันไม่ ต้องเสี ย แต่ ข้อยกเว้ นนีม้ ิให้ ใช้ แก่องค์การของรัฐบาลทีใ่ ช้ ทุนหรือ
ทุนหมุนเวียนเพือ่ ประกอบการพาณิชย์ หรือการพาณิชย์ ซึ่งองค์การบริหาร
ราชการส่ วนท้ องถิ่นเป็ นผู้จัดทา ทั้งนีต้ ามมาตรา 121 แห่ งประมวลรัษฎากร
49
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
มาตรา 42 เงินได้ พงึ ประเมินประเภทต่ อไปนีใ้ ห้ ได้ รับยกเว้ นไม่ ต้องรวมคานวณ
เพือ่ เสี ยภาษีเงินได้
.......
(11) รางวัลเพือ่ การศึกษาหรือค้ นคว้ าในวิทยาการ รางวัลสลากกินแบ่ ง
หรือสลากออมสิ นของรัฐบาล รางวัลที่ทางราชการจ่ ายให้ ในการประกวดหรือ
แข่ งขัน ซึ่งผู้รับมิได้ มีอาชีพในการประกวดหรือแข่ งขัน หรือสิ นบนรางวัลทีท่ าง
ราชการจ่ ายให้ เพือ่ ประโยชน์ ในการปราบปรามกระทาความผิด
50
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
มาตรา 42 เงินได้ พงึ ประเมินประเภทต่ อไปนีใ้ ห้ ได้ รับยกเว้ นไม่ ต้องรวมคานวณ
เพือ่ เสี ยภาษีเงินได้
.......
(14) เงินส่ วนแบ่ งของกาไรจากห้ างหุ้นส่ วนสามัญหรือคณะบุคคลที่
มิใช่ นิติบุคคล ซึ่งต้ องเสี ยภาษีตามบทบัญญัติในส่ วนนี้ แต่ ไม่ รวมถึงเงินส่ วนแบ่ ง
ของกาไรจากกองทุนรวม
51
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่ าด้ วยการยกเว้ นรัษฎากร (ฉบับที่ 297) พ.ศ. 2539
มาตรา 4 ให้ ยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามส่ วน 3 หมวด 3 ในลักษณะ 2 แห่ ง
ประมวลรั ษฎากร สาหรั บเงินได้ ของบริ ษทั หรื อห้ างห้ ุนส่ วนนิติบุคคล
เป็ นจานวนร้ อยละ 100 ของรายจ่ ายทีไ่ ด้ จ่ายไปเป็ นค่ าจ้ างเพือ่ ทาการ
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ให้ แก่หน่ วยงานของรั ฐหรื อเอกชนตามที่
รั ฐมนตรี ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา
52
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการ
ประเภทต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้
(ช) การให้ บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ
สถานศึกษาตามกฎหมายว่ าด้ วย สถาบันอุดมศึกษาเอกชน หรือ
โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่ าด้ วยโรงเรียนเอกชน
(ฎ) การให้ บริการวิจัย หรือการให้ บริการทางวิชาการ ทั้งนี้ ใน
สาขา และลักษณะการประกอบกิจการทีอ่ ธิบดีกาหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี
(ท) การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการของกระทรวง ทบวง กรม
ซึ่งส่ งรายรับทั้งสิ้นให้ แก่รัฐโดยไม่ หักรายจ่ าย
53
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีมูลค่ าเพิม่ (ฉบับที่ 12)
เรื่อง กาหนดสาขาและลักษณะการประกอบกิจการ การให้ บริการวิจัย
หรือการให้ บริการทางวิชาการ ตามมาตรา 81(1)(ฏ) แห่ งประมวลรัษฎากร
ข้ อ 1 การให้บริ การวิจยั หรื อการให้บริ การทางวิชาการ ในสาขาวิทยาศาสตร์
และสังคมศาสตร์
ข้ อ 2 การให้บริ การวิจยั หรื อการให้บริ การทางวิชาการตามข้อ 1 ต้องมิใช่การ
ให้บริ การวิจยั หรื อการให้บริ การทางวิชาการในทางธุรกิจ
ความในวรรคหนึ่งไม่รวมถึงการให้บริ การกับหน่วยงานของรัฐ ที่มีฐานะเป็ น
กระทรวง ทบวง กรม หรื อองค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การ
ของรัฐบาล และกิจการของรัฐตามกฎหมายที่จดั ตั้งกิจการนั้น และให้หมายความ
รวมถึงหน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็ นเจ้าของซึ่ งไม่มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคลด้วย
54
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีมูลค่ าเพิม่ (ฉบับที่ 12)
เรื่อง กาหนดสาขาและลักษณะการประกอบกิจการ การให้ บริการวิจัย
หรือการให้ บริการทางวิชาการ ตามมาตรา 81(1)(ฏ) แห่ งประมวลรัษฎากร
ข้ อ 3 ผูป้ ระกอบการให้บริ การวิจยั หรื อการให้บริ การทางวิชาการ ตามข้อ 1 ต้องเป็ น
บุคคลธรรมดา หรื อเป็ นคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล หรื อเป็ นมูลนิธิ หรื อเป็ นสถาบัน
อุดมศึกษา
สถาบันอุดมศึกษาตามวรรคหนึ่ ง ได้แก่ สถานศึกษาที่จดั การศึกษาระดับ
อุดมศึกษา ดังต่อไปนี้
(1) สถานศึกษาของรัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิ การและสถานศึกษาในกากับของรัฐ
(2) สถานศึกษาของรัฐในสังกัดกระทรวงอื่นๆ
(3) สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
55