แหล่งเงินได้

Download Report

Transcript แหล่งเงินได้

Planning
การวางแผน หมายถึง การตัดสิ นใจเตรียมการ เพือ่ กระทาการอย่ างใด
อย่ างหนึ่งในอนาคต โดยกาหนดวัตถุประสงค์ และวิธีการดาเนินการไว้
ล่วงหน้ า
องค์ ประกอบสาคัญของการวางแผน
1. เป็ นกระบวนการหนึ่งของการบริหารงาน
2. เป็ นเรื่องที่เกีย่ วกับการปฏิบัติการเพือ่ การแก้ปัญหา
3. เป็ นเรื่องทีต่ ้ องปฏิบัติในกาลอนาคต
4. เป็ นเรื่องทีเ่ กีย่ วกับการจัดระบบงานและการจัดสรรเจ้ าหน้ าที่ทจี่ ะ
ปฏิบัติงานนั้น โดยวิธีทเี่ หมาะสมทีส่ ุ ด
การวางแผนภาษีอากร คือ การกาหนดแนวทางในการ
ปฏิ บั ติ ก ารเกี่ ย วกั บ รายการทางการเงิ น ที่ เ ป็ นรายได้ รายจ่ า ย
ทรั พย์ สิน หนี้สิน และทุน ที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต อันเกี่ยวข้ องกับ
ภาษีอากรให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กฎหมาย
กาหนด โดยมุ่งที่จะแก้ ไขและป้องกันปัญหาทางภาษีอากรทั้งปวง
ทั้งก่ อให้ เกิดการปฏิบัติการทางภาษีอากรที่ถูกต้ อง ครบถ้ วนในทุก
ประเด็น และต้ องเสี ยภาษีอากรเป็ นจานวนน้ อยที่สุดหรือประหยัด
ที่สุด โดยใช้ สิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรสู งสุ ด ด้ วยแนวคิด
เชิงบวก ด้ วยการไม่ หลีกเลี่ยงภาษีอากร
หลักการภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาเป็ นภาษีทางตรง (Direct Tax)
ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็ นผูร้ ับภาระภาษีไว้เอง ไม่สามารถผลัก
ภาระภาษีไปยังบุคคลอื่นได้
ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
1.
2.
3.
4.
บุคคลธรรมดา
ผู้ทถี่ ึงแก่ความตายระหว่ างปี ภาษี
กองมรดกที่ยังไม่ ได้ แบ่ ง
ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ / คณะบุคคล
บุคคลธรรมดา
1 ม.ค.
เงินได้ก่อนตาย
ตาย
เงินได้ของกองมรดก
31 ธ.ค.
31มี.ค.
- ผู้จดั การมรดก
- ทายาท หรือ
- ผู้ครอบครองทรัพย์
มรดก
1 ม.ค.
ปี ถัดจากปี ที่เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย
31 ธ.ค.
31มี.ค.
- ผู้จดั การมรดก
- ทายาท หรือ
- ผู้ครอบครองทรัพย์
มรดก
ผูท้ ี่มีเงินได้เกิดขึน้ ในระหว่างปี ภาษี
มีหน้ าที่ต้องยื่นแบบฯ PIT ทุกคนหรือไม่?
ผูม้ ีเงินได้จากเงินได้ประเภทที่ 1 (ตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม)
- โสด เงินได้ > 50,000 บาท
- สมรส (ไม่ว่าฝ่ ายเดียว หรือทัง้ สองฝ่ าย) เงินได้รวมกัน > 100,000 บาท
ผูม้ ีเงินได้จากเงินได้ประเภทที่ 2 – 8 (ตัง้ แต่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม)
- โสด เงินได้ > 30,000 บาท
- สมรส (ไม่ว่าฝ่ ายเดียวหรือทัง้ สองฝ่ าย) เงินได้รวมกัน > 60,000 บาท
กองมรดกของผูต้ ายที่ยงั ไม่แบ่ง เงินได้ > 30,000 บาท
ห้างหุ้นส่วนสามัญ คณะบุคคล เงินได้ > 30,000 บาท
เงินได้ พงึ ประเมิน
1.
2.
3.
4.
5.
เงินสด
ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคานวณได้เป็ นเงิน
ประโยชน์ซ่ ึงอาจคิดคานวณได้เป็ นเงิน
เงินค่าภาษีอากรที่ผจู ้ ่ายเงินหรื อผูอ้ ื่นออกแทนให้
เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกาหนด
แหล่ งเงินได้
1. แหล่งเงินได้ในประเทศ
2. แหล่งเงินได้นอกประเทศ
แหล่งเงินได้ ในประเทศไทย
Thai Source Income
เป็ นผู้มเี งินได้ จากแหล่ งเงินได้ ในประเทศไทยเนื่องจาก
• หน้ าทีง่ านทีท่ าในประเทศไทย
• (หน้ าทีง่ านทีท่ าในต่ างประเทศเพือ่ ) กิจการของนายจ้ างในประเทศไทย
• ทรัพย์ สินทีอ่ ยู่ในประเทศไทย
• กิจการทีท่ าในประเทศไทย
ทั้งนี้ ไม่ ว่าเงินได้ น้ันจะจ่ ายในหรือนอกประเทศ
กรณีเป็ นผู้อยู่ในประเทศไทย มีหน้ าทีต่ ้ องเสี ย PIT
ตามประมวลรัษฎากร
กรณีเป็ นผู้มถี ิ่นทีอ่ ยู่หรือถือสั ญชาติต่างประเทศ มี
หน้ าทีต่ ้ องเสี ย PIT ตามประมวลรัษฎากร แต่ ต้อง
พิจารณา DTA ประกอบ
แหล่งเงินได้ นอกต่ างประเทศ Residence Rule
เป็ นผู้มเี งินได้ จากแหล่ งเงินได้ ในต่ างประเทศเนื่องจาก
• หน้ าทีง่ านทีท่ าในต่ างประเทศ
(เพือ่ กิจการของนายจ้างในต่างประเทศ)
• ทรัพย์ สินทีอ่ ยู่ในต่ างประเทศ
• กิจการทีท่ าในต่ างประเทศ
เป็ นผู้อยู่ในประเทศไทย
ถึง 180 วันในปี ภาษี
Y
นาเงินได้ ดงั กล่ าวเข้ ามาใน
ประเทศไทยภายในปี ภาษี
เดียวกับปี ทีเ่ กิดเงินได้
Y
ต้ องเสี ย PIT
ตามประมวลรัษฎากร
N
ไม่ ต้องเสี ย PIT
ตามประมวลรัษฎากร
N
ไม่ ต้องเสี ย PIT
ตามประมวลรัษฎากร
เงินได้ ที่ได้ รับการยกเว้ นภาษีเงินได้
 ค่าเบีย้ เลีย้ ง หรือค่าพาหนะเดินทาง
 เงินปันผลที่ได้รบั จากกิจการ BOI
 ค่าสอน ค่าสอบที่ทางราชการหรือสถานศึกษาของทางราชการจ่ายให้
 ดอกเบีย้ (ตามเงื่อนไข)
 การขายสังหาริมทรัพย์อนั เป็ นมรดก
 เงินได้ที่ได้รบั จากการับมรดก หรือจากการให้เนื่ องในพิธีการต่างๆ
 รางวัลจากสลากกินแบ่ง หรือสลากออมสินของรัฐบาล
 บานาญพิเศษ บาเหน็จพิเศษ
เงินได้ ที่ได้ รับการยกเว้ นภาษีเงินได้ (ต่ อ)
 ส่วนแบ่งกาไรที่ได้รบั จาก หสม. / คณะบุคคล
 เงินได้จากกิจการของโรงเรียนเอกชน
 เครื่องแบบพนักงานในจานวนคนละไม่เกินสองชุดต่อปี และเสื้อนอกใน จานวน
คนละไม่เกินหนึ่ งตัวต่อปี
 เงินปันผลที่ได้รบั จากกิจการ โรงเรียนเอกชน
 ดอกเบีย้ ที่ได้รบั จากเงินคืนภาษี อากร
 เงินปันผลหรือเงินเฉลี่ยคืน ที่สหกรณ์จ่ายให้สมาชิก
หมายเหตุ มีการยกเว้นกรณี อื่นๆ อีก
ประเภทของเงินได้ พงึ ประเมิน
 เงินได้ประเภทที่ 1 เงินได้เนื่ องจากการจ้างแรงงาน
 เงินได้ประเภทที่ 2 เงินได้เนื่ องจากหน้ าที่ตาแหน่ งงานที่ทา หรือ เงินได้
เนื่ องจากการรับทางานให้
 เงินได้ประเภทที่ 3 ค่าแห่งลิขสิทธ์ ิ Goodview สิทธิอย่างอื่น
 เงินได้ประเภทที่ 4 เงินได้จากการลงทุน เช่น ดอกเบีย้ ต่างๆ , เงินปันผล เงิน
ส่วนแบ่งกาไร ที่ได้จากนิติบคุ คล
ประเภทของเงินได้ พงึ ประเมิน (ต่ อ)
 เงินได้ประเภทที่ 5 เงินได้จากทรัพย์สิน
 เงินได้ประเภทที่ 6 เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
 เงินได้ประเภทที่ 7 การรับเหมาที่ต้องจัดหาสัมภาระในส่วนสาคัญ
 เงินได้ประเภทที่ 8 เงินได้จากธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร
การอุตสาหกรรม การขนส่ง
ข้ อแตกต่ างของเงินได้ (1) และ (2)
รายการ
 ประเภทเงินได้
 ผูม้ เี งินได้
 ผูจ้ า่ ยเงินได้
 สัญญาทีก่ ่อให้เกิดเงินได้
 ความเป็ นอิสระในการทางาน
 ภาษีมลู ค่าเพิม่
จ้างแรงงาน
ประเภทที่ 1
ลูกจ้าง
นายจ้าง
สัญญาจ้างแรงงาน
ลูกจ้างไม่มอี สิ ระในการทางาน
ขึน้ อยูก่ บั กฎและ ระเบียบของ
นายจ้าง
นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างตลอดอายุ
สัญญาทีจ่ า้ ง โดยไม่คานึงถึง
ผลสาเร็จของงาน
ได้รบั ยกเว้น
 อากรแสตมป์
ไม่ตอ้ งปิด
 การจ่ายผลตอบแทน
รับทางานให้
ประเภทที่ 2
ผูร้ บั จ้าง
ผูว้ า่ จ้าง
สัญญาจ้างทาของ
ผูร้ บั จ้างมีอสิ ระในการทางาน
ผูว้ า่ จ้างกาหนดจ่ายสินจ้าง
ตามผลสาเร็จของงานทีท่ า อัน
เป็ นสาระสาคัญของสัญญา
เป็ นบริการทีอ่ ยูใ่ นข่ายต้องเสีย
VAT
1,000 ละ 1 บาท
ประเภทเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40
(1) เงินได้เนื่ องจากการจ้างแรงงาน
(2) เงินได้เนื่ องจากหน้ าที่ตาแหน่ งงานที่ทา
เงินได้เนื่ องจากการรับทางานให้
(3) ค่าแห่งลิขสิทธ์ ิ สิทธิอย่างอื่น
(4) (ก) – (ช) = ผลได้จากทุน “Capital Gain”
(5) (ก) ค่าเช่าทรัพย์สิน
(6) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ (Professional Fee)
(7) การรับเหมา (Construction with supplies)
(8) เงินได้จากการธุรกิจ (Business)
การพาณิชย์ (Trade)
การเกษตรกรรม (Agriculture)
การอุตสาหกรรม (Industrial)
การขนส่ง (Transportation)
การอื่นใด (Others)
ผูม้ ีเงินได้
ลูกจ้าง
กรรมการ
ผูร้ บั จ้าง, พนักงานขาย
เจ้าของ, ผูม้ ีสิทธิเก็บกิน
ผูร้ บั ผลประโยชน์
ผูใ้ ห้เช่า
ผูป้ ระกอบวิชาชีพอิสระ
ผูร้ บั เหมา
ผูป้ ระกอบธุรกิจ
ผูข้ ายสินค้า
เกษตรกร
ผูป้ ระกอบอุตสาหกรรม
ผูป้ ระกอบการขนส่ง
บุคคลใดๆ …
การคานวณภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดา
เงินได้พึงประเมิน (ทัง้ ปี )
หัก ค่าใช้จ่าย
เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย
หัก ค่าลดหย่อน
คงเหลือ
หัก เงินบริจาค
เงินได้สทุ ธิ
xxxxx
(xxxxx)
xxxxx
(xxxxx)
xxxxx
(xxxxx)
xxxxx
PIT = เงินได้สทุ ธิ x อัตราภาษี
อัตราภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดา
ช่วงเงินได้
จานวนเงินได้
แต่ละช่วง
1 - 150,000
150,000
150,001 - 500,000
350,000
500,001 - 1,000,000
500,000
1,000,001 - 4,000,000
3,000,000
เกินกว่า 4,000,000 บาท
……
อัตราภาษี จานวนภาษี จานวนภาษี
แต่ละช่วง
สะสม
ยกเว้น*
10%
35,000
35,000
20%
100,000
135,000
30%
900,000
1,035,000
37%
การหักค่ าใช้ จ่าย
เงินได้ประเภทที่ 1 และ 2 หักคชจ.เป็ นการเหมา 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาท
เงินได้ประเภทที่ 3 หักคชจ.เป็ นการเหมา 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาท เฉพาะ
ค่าลิขสิทธ์ ิ ค่า Goodview หรือสิทธิอื่นๆ กฎหมายไม่ยอมให้หกั คชจ.
เงินได้ประเภทที่ 4 กฎหมายไม่ยอมให้หกั คชจ.
เงินได้ประเภทที่ 5 ค่าเช่าบ้าน โรงเรือน ยานพาหนะหักคชจ. 30%
ค่าเช่าที่ดิน เพื่อใช้ในเกษตรกรรม หักคชจ. 20%
ค่าเช่าที่ดิน เพื่อไม่ได้ใช้ในเกษตรกรรม หักคชจ. 15%
ค่าเช่าทรัพย์สินอื่น หักคชจ. 10%
การหักค่ าใช้ จ่าย (ต่ อ)
เงินได้ประเภทที่ 6 เงินได้จากการประกอบโรคศิลปหักคชจ. 60%
วิชาชีพอิสระอื่น หักคชจ.ได้ 30%
หรือหัก คชจ.ตามจริง
เงินได้ประเภทที่ 7 หักคชจ. 70% หรือหัก คชจ.ตามจริง
เงินได้ประเภทที่ 8 หักคชจ. 60 – 80 % หรือหัก คชจ.ตามจริง
ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน
มาตรา 40(1) และ (2)
มาตรา 40(3) ค่าแห่งลิขสิ ทธิ์
มาตรา 40(5)(ข) และ (ค)
มาตรา 40(8) จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ที่ได้ มาโดยทาง
มรดก/โดยเสน่หา
มาตรา 40(3) อื่นๆ
มาตรา 40(4)(ก) - (ช)
มาตรา 40(5)(ก)
มาตรา 40(6)
มาตรา 40(7)
มาตรา 40(8) 43 รายการ และเงินได้จากการขาย
อสังหาริ มทรัพย์ที่ได้มาโดยทางอื่น
มาตรา 40(8) กรณี อื่นๆ
ค่ าใช้ จ่ายเป็ น
การเหมา




ค่ าใช้ จ่ายจริง








-

-
การคานวณภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดา
เงินได้พึงประเมิน (ทัง้ ปี )
หัก ค่าใช้จ่าย
เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย
หัก ค่าลดหย่อน
คงเหลือ
หัก เงินบริจาค
เงินได้สทุ ธิ
xxxxx
(xxxxx)
xxxxx
(xxxxx)
xxxxx
(xxxxx)
xxxxx
PIT = เงินได้สทุ ธิ x อัตราภาษี
อัตราภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดา
ช่วงเงินได้
จานวนเงินได้
แต่ละช่วง
1 - 150,000
150,000
150,001 - 500,000
350,000
500,001 - 1,000,000
500,000
1,000,001 - 4,000,000
3,000,000
เกินกว่า 4,000,000 บาท
……
อัตราภาษี จานวนภาษี จานวนภาษี
แต่ละช่วง
สะสม
ยกเว้น*
10%
35,000
35,000
20%
100,000
135,000
30%
900,000
1,035,000
37%
การคานวณภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาสิ้นปี
1.
2.
3.
เงินได้พึงประเมินเมื่อได้หกั ค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน เหลือเป็ นเงินได้สุทธิ ต้องเสี ย
ภาษีตามที่กฎหมายกาหนด
สาหรับผูท้ ี่มีเงินได้พึงประเมินตั้งแต่ 60,000 บาทขึ้นไป (เฉพาะประเภทที่ 2- 8) ให้
คานวณภาษีในอัตรา 0.5% ของเงินได้พึงประเมิน
สรุ ปภาษีที่ตอ้ งชาระ
ประเภทของเงินได้
(1)
วิธีเสี ยภาษี
วิธีที่ 1
(2) – (8)
วิธีที่ 1 และ 2 เปรี ยบเทียบกัน แล้วแต่วิธีใดจะมากกว่า
(1) และ (2) – (8)
วิธีที่ 1 และ 2 เปรี ยบเทียบกัน แล้วแต่วิธีใดจะมากกว่า
ภาษีทค่ี านวณได้
หัก ภาษีถูกหัก ณ ทีจ่ ่าย
หัก ภาษีเงินได้ชาระครึง่ ปี
หัก ภาษีเงินได้ชาระล่วงหน้า
หัก เครดิตภาษีเงินปนั ผล
ภาษี ที่ต้องชาระ (ชาระไว้เกิน)
xxxx
(xxxx)
(xxxx)
(xxxx)
(xxxx)
xxxx
แบบภาษี ที่เกี่ยวข้อง