สื่อpptเรื่องอาหารกับการดำรงชีวิต

Download Report

Transcript สื่อpptเรื่องอาหารกับการดำรงชีวิต

จุดประสงค์การเรียนร ้ ู
1. ทดสอบ แป้ง น้าตาล โปรตีน ไขมัน วิตามินซีได้
2. อธิบายแนวทางการบริโภคอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนใน
สัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย ได้ปริมาณพลังงานที
เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
3. อธิบายวัตถ ุเจือปนและสารปนเป้ ื อนในอาหารที่มกั พบใน
ชีวิตประจาวันได้
4. เลือกบริโภคอาหารได้อย่างปลอดภัยเหมาะสมกับเพศและวัยให้
ได้สารอาหารและปริมาณพลังงานเพียงพอ
แผนการประเมินรายวิชา
กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
รายวิชา ว 22102
วิทยาศาสตร์ 4 จานวน 1.5 หน่วยกิต
มัธยมศึกษาปี ที่ 2 จานวน 3 ชัว่ โมง/สัปดาห์
จานวน 60 ชัว่ โมง
หน่วยการเรียนรู้
1
อาหารกับการ
ดารงชีวิต
มฐ./
ตัวชี้วดั
วิธีการประเมินผล
ว 1.1 1. ชิน้ งาน/แบบฝึ กหัด/
ม.2/5-6 ใบงาน
2. ปฏิบัตกิ าร
3. ทดสอบประจา
หน่ วย
สอบกลางภาค
คะแน
น
5
5
10
20
เวลาสอบ
(นาที)
ตารางสอบ
ใน
นอก
1. วัฏจักรชีวิต “ด้านกายภาพ” ของคน
วัฏจักรชีวิต
เตาะแตะ
(ทารก)
ตัง้ เต้า
(เด็ก)
ตูมตาม
(วัยรุ่น)
เต่งตึง
(ผูใ้ หญ่)
โตงเตง
(คนแก่)
ต้องตาย
(คน...)
2. วัฏจักรชีวิต “ด้านการการพึ่งพิง” ของคน
ช่วงที่ 1
คือ ช่วงของการพี่งพา (คือช่วงวัยเด็กนัน่ เอง)
ช่วงที่ 2
คือ ช่วงของการพากเพียร (พยายามทุกอย่าง) งาน
หนักแค่ไหนไม่หวัน่ เพื่อ….
ช่วงที่ 3
คือ ช่วงของการเพิ่มพูน (เริ่มมีเงินเก็บระดับหนึง่ )
ช่วงสุดท้าย
คือ พักผ่อน (รูปแบบอาจแตกต่างกัน) ขึน้ อยูก่ บั การ
ดูแลสุขภาพเป็ นปั จจัยสาคัญ
จาก http://www.unitynature.com/
* เพราะเหต ุใดสิ่งมีชีวิตจึงต้องการอาหาร ?
* ใช้ในการดารงชีวิต พืชสร้างอาหารเองได้โดย
กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง คนและสัตว์สร้างอาหารเอง
ไม่ได้ แต่ได้รบั อาหารจากการกินพืชและสัตว์
หนังสือหน้า 4
แบบทดสอบก่อนเรียนที่ 1
1.ข้อใดเป็ นความหมายของ "สารอาหาร“
ข. องค์ประกอบทางเคมีของอาหาร
2.ข้อใดเป็ นสารอาหารทัง้ หมด
ก. ไขมัน กรดอะมิโน
3.อาหารในข้อใดให้พลังงาน น้อยที่สดุ ถ้านา้ หนักเท่ากัน
ก. ข้าวต้ม
4.อาหารในข้อใดมีบทบาทในการช่วยดูดซึมวิตามินหลายชนิด
ข.ไขมัน
5. อาหารในข้อใดจาเป็ นต่อการเจริญเติบโต
ค. โปรตีน
6. อาหารในข้อใดร่างกายจะเลือกนามาใช้เป็ นอันดับแรก
ก. คาร์โบไฮเดรต
7. อาหารในข้อใดต้องรับประทานให้มากที่สดุ ในวันหนึง่ ๆ
ก. คาร์โบไฮเดรต
8. "อาหารที่สาคัญที่สดุ " น่าจะหมายถึงอาหารในข้อ ใด
ค. โปรตีน
9.คนทัว่ ไปควรเลือกรับประทานไขมันในข้อใดจึงจะเป็ นผลดีตอ่ สุขภาพ
ข. ไขมันจากพืชท ุกชนิด
10. ถ้าต้องการลดนา้ หนัก ควรทาตามข้อใด
ง. งดอาหารพวกโปรตีนไขมันและคาร์โบไฮเดรตหันมารับประทานผักใน
ปริมาณที่เท่ากัน
1.1 อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารแตกต่างกันอย่างไร…. ?
อาหาร คือ สิ่ งที่รับประทานได้ไม่เป็ นพิษและก่อให้เกิดประโยชน์
ต่อร่ างกาย ช่วยให้ร่างกายเจริ ญเติบโตแข็งแรงต้านทานโรค
สารอาหาร คือ สารเคมีที่เป็ นส่ วนประกอบของอาหารเป็ นสิ่ งที่กิน
เข้าไปแล้วมีประโยชน์ต่อร่ างกายใช้เผาผลาญเป็ นพลังงาน ใช้ใน
การเจริ ญเติบโตและซ่อมแซมส่ วนที่สึกหรอและใช้ในกิจกรรม
ต่างๆของสิ่ งมีชีวติ มี 5 ชนิด คือ คาร์โบโฮเดรต โปรตีน ไขมัน แร่
ธาตุ และน้ า
อาหารและสารอาหารแตกต่างกันอย่างไร ?
อาหารหลัก 5 หมู่
ทบทวนอาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 1 นม ไข่ เนือ้ สัตว์ตา่ งๆ ถัว่ เมล็ดแห้ง และงานให้
สารอาหารโปรตีน ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต และซ่อมแซมส่วน
ที่สึกหรอ
หมู่ที่ 2 ข้าว แป้ง เผือก มัน นา้ ตาล ให้สารอาหารคาร์โบไฮเดรต
เพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย
หมู่ที่ 3 พืชผักต่างๆ ให้สารอาหารวิตามินและแร่ธาตุเพื่อ
เสริมสร้างการทางานของร่างกายให้ปกติ
หมู่ที่ 4 ผลไม้ตา่ งๆ ให้สารอาหารและประโยชน์เหมือนหมูท่ ี่ 3
หมู่ที่ 5 นา้ มันและไขมันจากพืชและสัตว์ ให้สารอาหารไขมัน
เพื่อให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย
1. สารอาหารที่ให้พลังงานแก่รา่ งกาย ได้แก่ โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต ไขมัน
2. สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ วิตามิน แร่ธาต ุ และน้า

โปรตีน เป็ นส่วนประกอบสาคัญของทุกเซลล์ ช่วยเสริมสร้างการ
เจริญเติบโต และซ่อมแซมเซลล์ตา่ งๆ ของร่างกาย โปรตีนหลายชนิด
เป็ นเอนไซม์ที่มหี น้าที่เฉพาะ คือ ช่วยเร่งและควบคุมระบบต่างๆให้
ทางานได้เป็ นปกตินอกจากนัน้ ร่างกายยังสามารถได้รบั พลังงานจาก
การสลายโปรตีนได้อีกด้วย โปรตีนจึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง อาหาร
ที่มโี ปรตีนมากได้แก่ เนือ้ สัตว์ ไข่ นม
โปรตีน
- พบในกลุม่ เนือ้ สัตว์ นม ไข่ ถัว่
- เมือ่ ย่อยแล้วได้กรดอะมิโน
- ให้พลังงาน 4 kcal/g
- ร่างกายเปลี่ยนโปรตีนเป็ นคาร์โบไฮเดรตและไขมัน
- กรดอะมิโนมีอยู่ 8 ชนิดที่ร่างกายสังเคราะห์ขนึ้ เองไม่ได้ และจาเป็ นต้องได้รบั จาก
อาหารเรียกว่า กรดอะมิโนจาเป็ น
- ปริมาณของโปรตีนที่ร่างกายควรได้รบั
เด็ก
ปริมาณ 2 กรัม ต่อนา้ หนักตัว 1 กิโลกรัม
ผูใ้ หญ่ ปริมาณ 1 กรัม ต่อนา้ หนักตัว 1 กิโลกรัม
ประโยชน์ของโปรตีน
1.ทาให้ร่างกายเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
2.เป็ นองค์ประกอบของสาระสาคัญต่างๆในการสร้างเอนไซม์ ฮอร์โมนและสาร
ภูมคิ มุ้ กัน
ผลของการขาดโปรตีน
เด็ก ถ้าหากขาดโปรตีนอย่างมากจะทาให้เกิดโรคคะวาซิออร์กอร์(kwashiokor)
มีอาการอ่อนเพลีย บวม ตับโตผูใ้ หญ่ ซูบผอม ไม่มเี รี่ยวแรง ฟื้ นจากโรคได้ชา้
โรคคะวาซิออร์กอร์(kwashiokor)
โรคขาดโปรตีนเป็ นโรคเกิดจากร่ างกายได้ กาลังงานโปรตีนไม่ พอ เป็ นโรคทีพ่ บบ่ อยในเด็กที่
อายุตา่ กว่ า ๖ ปี ลักษณะอาการของโรคที่เห็นแตกต่ างกันชัดเจน คือ เด็กมีอาการบวมเห็นได้
ชัดทีข่ า ๒ ข้ าง เส้ นผมมีลกั ษณะบางเปราะและร่ วงหลุดง่ าย ตับโต มีอาการซึม และดูเศร้ า
ไม่ สนใจต่ อสิ่ งแวดล้ อม ผิวหนังบางและลอกหลุด

คาร์โบไฮเดรต เป็ นสารอาหารหลังที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ส่วน
ใหญ่มนุษย์ได้รบั คาร์โบไฮเดรตจากอาหารจาพวกแป้งและนา้ ตาล
อาหารที่ให้คาร์โบไฮเดรตซึ้งคนไทยบริโภคเป็ นอาหารหลักคือข้าว
คาร์โบไฮเดรต ประกอบด้วยธาต ุคาร์บอน ไฮโดรเจน และ
ออกซิเจน หน่วยย่อยของคาร์โบไฮเดรต คือ นา้ ตาล
คาร์โบไฮเดรต
- พบในแป้งและนา้ ตาล
- เมือ่ ย่อยแล้วได้โมเลกุลที่เล็กที่สดุ คือ กลูโคส
- ให้พลังงาน 4 kcal/g
- ถ้าร่างกายได้รบั ในปริมาณมากคาร์โบไฮเดรตจะเปลี่ยนเป็ นไขมันและสะสมไว้
- เป็ นแหล่งพลังงานซึ่งสะสมไว้ที่กล้ามเนือ้ และตับทัง้ แป้งและไกลโคเจนจะถู
เปลี่ยนเป็ นกลูโคสเพื่อใช้เผาผลาญพลังงานในยามที่เราต้องการ
- ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายควรได้รบั ขึน้ อยูก่ บั การใช้พลังงานของแต่ละบุคคล
กล่าวคือพลังงาน 50-60% ได้มาจากคาร์โบไฮเดรต
ประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรต
1.ให้พลังงานแก่ร่างกาย
2.ช่วยทาให้ไขมันเผาผลาญได้สมบูรณ์
3.เก็บสะสมไว้ในร่างกาย เพื่อนาไปใช้เวลาขาดแคลน
ผลของการขาดคาร์โบไฮเดรต
จะทาให้รสู้ ึกอ่อนเพลีย ตาลาย
ข้อความรเ้ ู กี่ยวกับน้าตาลโมเลก ุลเดียวและน้าตาลโมเลก ุลค ู่
น้าตาลโมเลก ุลเดี่ยว หรือ โมโนแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide) เป็ นคาร์โบไฮเดรต
ที่มโี มเลกุลเล็กที่สดุ ซึ่งร่างกายไม่เมือ่ รับประทานเข้าไปไม่ตอ้ งผ่านการย่อย ได้แก่
- กล ูโคส เป็ นนา้ ตาลที่มอี ยูใ่ นอาหาร ทัว่ ไป พบมากในผักและผลไม้สกุ นอกจากนี้
ยังพบกลูโคส ในกระแสเลือดอีกด้วย คนปกติจะมีกลูโคสประมาณ 100 mg
ในเลืออด 100 cm3
- ฟรักโทส เป็ นนา้ ตาลที่มรี สหวาน มากกว่านา้ ตาลชนิดอื่น พบในเกสรเกสร
ดอกไม้ ผลไม้ ผัก นา้ ผึง้ นา้ ตาลทรายและกากนา้ ตาล ในธรรมชาติมกั ปน อยูก่ บั
กลูโคสในร่างกายได้จากการย่อยนา้ ตาลทราย
- กาแล็กโทส ไม่เกิดอิสระในธรรมชาติ ในร่างกายได้จากการย่อยแล็กโทส หรือ
นา้ ตาลที่มอี ยูใ่ น นม ซึ่งมีอยูใ่ นอาหารพวกนมและผลิตผลของนมทัว่ ไป แก
แล็กโทสในนา้ นมมีความสาคัญ โดยรวมกับไขมัน เป็ น ส่วนประกอบของเซลล์
ประสาท
น้าตาลโมเลก ุลคู่ หรือ ไดแซ็คคาไรด์ (Disaccharide) หมายถึงคาร์โบไฮเดรตที่แตก
ตัวให้โมโนแซ็ก- คาไรด์จานวน 2 โมเลกุล
- ซ ูโครส หรือ นา้ ตาลทราย ละลายนา้ ได้ดี พบในอ้อย ตาล มะพร้าว นา้ ผึ้ง เป็ นต้น
เมือ่ แตกตัวหรือย่อยซูโคสด้วยนา้ ย่อยซูเครส ได้กลูโคสและฟรักโทส
ซูโคส + นา้ ----> กลูโคส + ฟรักโตส
- มอลโทส ละลายนา้ ได้คอ่ นข้างดี เช่น ในเมล็ด ธัญพืชที่กาลังงอกหรือในข้าว
มอลต์หรือข้าวบาร์เลย์ที่นามา ผลิตเบียร์
มอลโตส + นา้ ----> กลูโคส + กลูโคส
- แล็กโทส พบในนา้ นมของสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมทุกชนิด ละลายนา้ ได้ไม่ดี มีความ
หวานน้อยมากเมื่อเทียบกับซูโครส เมือ่ แตกตัวจะได้กลูโคสและกาแล็กโทสอย่างละ
1 โมเลกุล ใช้เป็ น ส่วนประกอบของยาเม็ดบางชนิด
แล็กโตส + นา้ ----> กลูโคส + กาแล็กโตส
 ไขมัน เป็ นสารอาหารที่ให้กรดไขมันที่จาเป็ นสาหรับร่างกาย และให้พลังงาน
สาหรับร่างกายสาหรับกิจกรรมต่างๆของเซลล์ร่างกายจะสะสมไขมันในบริเวณใต้
ผิวและรอบอวัยวะภายในต่างๆ เพื่อให้มแี หล่งพลังงานไว้ใช้ในยามต้องการไขมัน
เป็ นฉนวนป้องกันการสูญเสียความร้อนจากร่างกายและปกป้องอวัยวะภายในจาก
การกระทบกระเทือน นอกจากนัน้ ยังช่วยในการดูดซึมวิตามินบางชนิด ไขมันเป็ น
สารอาหารที่ให้พลังงานงานแก่ร่างกายสูงกว่าคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนกว่าเท่าตัว
การกินอาหารที่ให้พลังงานมากเกินไป จะทาให้เกิดโรคอ้วนได้ และเสียงต่อการ
เกิดโรคอื่นๆอีกหลายโรค
-
พบในนา้ มันจากพืชและสัตว์
ไขมันมี 2 ประเภทคือ ไขมันธรรมดา ได้แก่ ไขมันสัตว์และนา้ มันพืช และไขมันพิเศษ
เช่น ไข่แดง
- เมือ
่ ย่อยแล้วได้กรดไขมันกับกลีเซอรอล
ไขมัน
- ให้พลังงาน 9 kcal/g
- ช่วยละลายวิตามิน A D E และ K
- คอเลสเตอรอล เป็ นไขมันพิเศษที่ตบ
ั สร้างขึน้ ได้เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในร่างกาย แต่
ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มคี อเลสเตอรอลสูง เนือ่ งจากจะทาให้ไปสะสมอยู่ตามหลอด
เลือด เป็ นสาเหตุให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบตัน
- ถ้ารับประทานไขมันในปริมาณมากจะทาให้เกิดโรคอ้วนและความดันโลหิตสูงได้
ประโยชน์ของไขมัน
1.เป็ นแหล่งพลังงานของร่างกาย
2.ไขมันที่สะสมไว้ใต้ผวิ หนังเป็ นฉนวนป้องกันความร้อนไม่ให้สญ
ู เสียออกจาก
ร่างกาย
3.เป็ นส่วนประกอบของเซลล์ประสาทเยื่อหุม้ เซลล์
ผลของการขาดไขมัน
1.ผิวหนังแห้งแตกเป็ นแผล และเป็ นโรคผิวหนังได้งา่ ย
2.ทาให้อาหารไม่อยูท่ อ้ ง คือ หิวง่าย
กิจกรรมที่ 2
 ให้นก
ั เรียนบอกรายการอาหารเช้าหรืออาหาร
กลางวันที่รบั ประทาน แล้วร่วมกันวิเคราะห์
อาหารที่รบั ประทานว่ามีวตั ถ ุดิบอะไรบ้าง และ
ประกอบด้วยสารอาหารอะไรบ้างโดยบันทึกใน
ลักษณะตาราง แล้วอภิปรายร่วมกันว่า จะทราบได้
อย่างไรว่าอาหารแต่ละชนิดประกอบด้วย
สารอาหารอะไรบ้าง ?
(จากเอกสารประกอบการเรียน หน้า 9)
ฉลากอาหาร
น้านมถัวเหลืองมีสารอาหารประเภทใด ?
อาหารต่อไปนี้มีสารอาหารประเภทใดบ้าง ?
โปรตีน และไขมันอิ่มตัว
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามิน ไขมัน
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามิน ไขมัน
การทดสอบน้าตาล
สารละลายเบเนดิกต์มีสีฟ้า ทดสอบน้าตาล
ถ้านาไปทดสอบสารใดใดแล้วเปลี่ยนจากสีฟ้า
เป็นสี ส้ม สีแดงอิฐ แสดงว่าสารนัน้ มีน้าตาล
การทดสอบคาร์โบไฮเดรต
สารละลายไอโอดีนมี สีน้าตาลเหลือง ทดสอบแป้ง
ถ้านาไปทดสอบสารใดใดแล้วเปลี่ยนจากสีน้าตาล
เหลือง เป็นสีน้าเงินเข้ม แสดงว่ามีแป้ง
การทดสอบโปรตีน
สารละลายใบยูเร็ต ประกอบด้วย สารละลาย
โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และ สารละลายคอ
เปอร์(II)ซันเฟส (CuSo4) ทดสอบโปรตีนมีสีฟ้า
อ่อนถ้านาไปทดสอบสารใดใดแล้วเปลี่ยนจากสีฟ้า
อ่อนเป็นสี ม่วง แสดงว่าสารนัน้ มีโปรตีนอยู่
การทดสอบไขมัน
กิจกรรมที่ 1.1 การตรวจสอบสารอาหาร
จุดประสงค์ของกิจกรรม
1. ทดสอบและอธิบายวิธีการทดสอบแป้ง นา้ ตาล โปรตีน และไขมัน
2. อธิบายได้ว่าอาหารประกอบด้วยสารอาหารหลายชนิด
วัสด ุอ ุปกรณ์
รายการ
1.หลอดทดลองขนาดกลาง
2.บิกเกอร์ 250 cm3
3.นา้ มันพืช
4.อาหารที่นามาทดลอง
จานาน/กลมุ่
9 หลอด
1ใบ
5 cm3
ชนิดละ 3 กรัม
หนังสือหน้า 3
5.หลอดหยด
6.กระบอกตวง หลอดฉีดยา
7.ช ุดตะเกียงแอลกอฮอลล์
8.ไม้ขีด
9.ที่ตงั้ หลอดทดลอง
10.กระดาษ ทดสอบไขมัน
11.แป้งส ุก
12.สารละลายกล ูโคส
13.สารละลายไอโอดีน
14.ไข่ขาวดิบ
15.สารละลายเบเนดิกต์
16.สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
และ สารละลายคอเปอร์(II)ซันเฟส (CuSo4)
17.น้ากลัน่
4 อัน
3 อัน
1 ช ุด
1 กลัด
1 อัน
1 แผ่น
10 cm3
10 cm3
3 cm3
3 cm3
10 cm3
5 cm3
5 cm3
ตอนที่ 1 วิธีการตรวจสอบสารอาหาร
1.การตรวจสอบแป้งและน้าตาล
1.1 นาหลอดทดลองขนาดกลางมา 6 หลอด
หยดสารละลายไอโอดีน หลอดที่ 1 3 5
หยดสารละลายเบเนดิกต์ หลอดที่ 2 4 6
1
5
2
3
4
6
นาหลอดที่ 2 4 6 ไปต้มน้า
เดือด ประมาณ 3 นาที
น้าแป้งส ุก
สารละลายน้าตาลกล ูโคส
น้า
2. การตรวจสอบโปรตีน
2.1 นาหลอดทดสองขนาดกลางมา 2 หลอด ใส่ไข่ขาวที่เตรียมไว้ลงไปทัง้
หลอดทาให้เจือจางด้วยการเติมน้าในหลอดทดลองแล้วเขย่าให้เข้ากัน
2.2 หยดสารสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 3 หยด และ
สารละลายคอเปอร์(II)ซันเฟส (CuSo4) 5 หยด ลงในหลอดทดลอง เขย่า
เบ่าๆ สังเกตและบันทึกผล
2.3 ทาซ้าข้อ 2.1 และ 2.2 โดยใช้น้าแทนไข่ขาว
6
7
ใบยูเร็ต
ใส่ไข่ขาว
น้า
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1
หลอดที่
1
2
3
4
5
6
7
8
ส่วนประกอบ
ผลการสังเกต
นา้ แป้งสุก+สารละลายไอโอดีน
นา้ แป้งสุก+สารละลายเบเนดิกต์
สารละลายนา้ ตาลกลูโคส+สารละลายไอโอดีน
สารละลายนา้ ตาลกลูโคส+สารละลายเบเนดิกต์
นา้ +สารละลายไอโอดีน
นา้ +สารละลายเบเนดิกต์
เปลี่ยนเป็ นสีนา้ เงิน
ไข่ขาวดิบ+นา้ +สารละลายCuCo + สารละลายNaoH
4
นา้ +สารละลายCuCo4 + สารละลายNaoH
ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง
พบตะกอนสีแดงอิฐ
ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง
เปลี่ยนเป็ นสีมว่ ง
ไม่เปลี่ยนแปลง
3. การตรวจสอบไขมัน
3.1 หยดน้ามันพืช 2 หยดลงบนกระดาษ แล้วเกลี่ยหยดน้ามันให้กระจาย
3.2 หยดน้า 2 หยดลงบนกระดาษชนิดเดียวกันอีกแผ่นหนึ่ง เกลี่ยให้
กระจาย
3.3 รอจนกระดาษแห้ง ยกขึ้นให้แส่งส่องผ่านกระดาษ สังเกตกระดาษ
บริเวณที่หยดน้ามัน และบริเวณที่หยดน้า และบันทึกผล
การตรวจสอบไขมัน

กระดาษที่หยดไขมัน
 กระดาษที่หยดน้า
ปรากฏเป็นรอย โปร่งแสง
ปรากฏเป็นรอย ไม่โปร่งแสง
ตารางบันทึกผลของกิจกรรม ตอนที่ 2
อาหาร
ผลการทดสอบสารอาหารโดยวิธีการต่างๆ
เติมสารละลาย
ไอโอดีน
สีนา้ เงินอมม่วง
1.ข้าวสุก
2.นมถัว่ เหลือง ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง
3.เนย
4.ถัว่ ลิสงดิบ สีมว่ ง
5.เนือ้ สัตว์
เติมสารละลายเบเน เติมสารละลาย
ดิกต์และให้ความ
ไบยูเรต
ร้อน
วางบนกระดาษ
ไม่เปลี่ยนแปลง
สีเหลือง
สีชมพูอ่อน
สีมว่ ง
ไม่โปร่งแสง
ไม่โปร่งแสง
ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง
ไมเปลี่ยนแปลง
สีมว่ ง
โปร่งแสง
โปร่งแสง
สีมว่ ง
ไม่โปร่งแสง
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
สร ุปผลการทดลอง ตอนที่ 1
การทดสอบแป้ง :ใช้สารละลายไอโอดีน ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นสีน้าเงิน
การทดสอบน้าตาล :ใช้สารละลายเบเนดิกต์ ซึ่งเมื่อให้ความ
ร้อนจะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
การทดสอบโปรตีน :ใช้สารละลายคอปเปอร์ (II) ซังเฟสและ
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นสีม่วง
การทดสอบไขมัน :ใช้การหยดบนกระดาษจะเปลี่ยนแปลงโดยมี
ลักษณะโปร่างแสง
แบบทดสอบหลังกิจกรรม ที่ 1.1
1. อาหารที่ทาให้สีของสารละลายไอโอดีนเปลี่ยนแปลง คือ แป้งมัน
และการเปลี่ยนแปลงที่สงั เกตได้คือ การเปลี่ยนสีของสารละลายไอโอดีนจาก
สีน้าตาลเหลืองเป็นตะกอนสีมว่ งเข้มเป็นน้าเงิน
2. อาหารที่ทาให้สีของสารละลายเบเนดิกต์เปลี่ยนแปลง คือ น้าตาลกล ูโคส
การเปลี่ยนแปลงที่สงั เกตได้หลังการให้ความร้อนคือ เปลี่ยนจากสีฟ้าเป็น
เป็นตะกอนสีแดงอิฐ
3. อาหารที่ทาให้สารละลายคอปเปอร์(II)ซัลเฟตกับสารละลายโซเดียมไฮ
ดรอกไซด์เปลี่ยนแปลง คือ ไข่ขาวและน้านมสด
การเปลี่ยนแปลงที่สงั เกตได้ คือ เปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นตะกอนสีมว่ ง
4. อาหารที่นาไปถูกบั กระดาษขาว แล้วทาให้กระดาษโปร่งแสง คือ น้ามันพืช
5. ในการทดสอบสารอาหารด้วยสารเคมีที่ตอ้ งใช้ความร้อนคือ เบเนดิกต์
6. จากผลการทากิจกรรม สามารถจาแนกอาหารได้ 3 กลุม่ ดังนี้
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
กิจกรรมที่ 3
ทดสอบความเข้าใจเกี่ยวกับสารอาหารที่ให้พลังงาน
สารอาหารที่ให้พลังงาน
คาร์โบไฮเดรต
ไปรตีน
ไขมัน
4 /กิโลแคลอรี
4 /กิโลแคลอรี
9 /กิโลแคลอรี
แหล่งที่ให้สารอาหาร
ข้าว เผือก แป้ง นา้ ตาล
นา้ อ้อย มัน นา้ มะพร้าว
แหล่งที่ให้สารอาหาร
เนือ้ สัตว์ ไข่ นม และถัว่
ต่างๆ
แหล่งที่ให้สารอาหาร
นา้ มันและไขมัน จากพืช
และสัตว์
กิจกรรมที่ 4 ทดสอบความเข้าใจเกี่ยวกับสารอาหารที่ให้พลังงาน
1. คนส่วนใหญ่ได้รบั คาร์โบไฮเดรตจากอาหารจาพวกใด แป้งและน้าตาล
2. คาร์โบไฮเดรต พบมากในธัญพืชชนิดใด เผือก มันฝรัง่ มันสาปะหลัง
3. คาร์โบไอเดรต ประกอบด้วยธาต ุชนิดใดบ้าง คาร์บอน ไอโดรเจน และออกซิเจน
4. หน่วยย่อยของคาร์โบไฮเดรต คือ น้าตาล
5. น้าตาลโมเลก ุลเดียว ได้แก่ กล ูโคส ฟร ุกโทส
6. ประโยชน์ของโปรตีน คือ ช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโต และซ่อมแซมส่วน
เซลล์ต่างของร่างกาย
7. อาหารที่มีโปรตีนมากได้แก่ เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถัว่ เมล็ดแห้ง
8. โปรตีนประกอบด้วยธาต ุชนิดใดบ้าง C,H,O,N,S
9. จงบอกประโยชน์ของไขมัน เป็นพลังงานสะสมเมื่อร่างกายต้องการ ปกป้อง
อวัยวะภายใน ช่วยด ูดซึมวิตามินบางชนิด
10. ในเด็กกรดไขมันมีบทบาทสาคัญต่ออวัยวะใด
โครงสร้างการทางานของสมอง ตับ และระบบประสาท
คาถามเพิ่มเติม
1. แป้งและน้าตาลในพืชมาจากไหน
ตอบ น้าตาลได้จากการสังเคราะห์ดว้ ยแสง หรือเปลี่ยนแปลงมาจาก
ผลผลิตของการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ส่วนแป้งสังเคราะห์ข้ ึนจากน้าตาล
กล ูโคสจานานมาก เพื่อสะสมไว้ในเซลล์พืชบางชนิด
2. เหต ุใดเราจึงควรบริโภคใยอาหาร ทัง่ ๆ ที่รา่ งกายด ูดซึมใยอาหาร
ไม่ได้
ตอบ กระตน้ ุ การเคลื่อนไหวของลาไส้ใหญ่ ช่วยในการด ุดซับน้าของกาก
อาหารทาให้อาหารไม่อยูใ่ นสาไส้นาน ท้องไม่ผกู ลดความเสี่ยงต่อการ
เป็นมะเร็งลาไส้ใหญ่ นอกจากนี้ยงั ลดความเสี่ยงต่อโรคอื่น เช่น โรค
ริดสีดวงทวารหนัก
3. ระหว่างเด็กในวัยเจริญเติบโต วันใดต้องการโปรตีนมากกว่ากัน
เพราะเหต ุใด
ตอบ เด็กในวัยเจริญเติบโตต้องการโปรตีนเป็นปริมาณมากกว่าผูใ้ หญ่
เนื่องจากต้องการโปรตีนไปใช้ในการเสริมสร้างเนื้อเยื้อและอวัยวะ
ต่างๆ เพื่อการเจริญเติบโต
4. ผูท้ ี่รบั ประทานมังสวิรตั ิจะงดรับประทานเนื้อสัตว์ ได้รบั โปรตีนจาก
อาหารอย่างไร
ตอบ ผูท้ ี่รบั ประทานมังสวิรตั ิ สามารถรับประทานอาหารชนิดอื่น
ที่มีโปรตีนสูง เช่น ถัว่ ชนิดต่างๆ นม หรือผลิตภัณฑ์จากถัว่ และ
นม
5. กรดไขมันกลมุ่ โอเมกา พบมากในอาหารประเภทใดบ้าง
ตอบ โอเมกา 3 พบมากในปลาที่มีไขมันมาก เช่น แซลมอล ซาร์ดีน ผัก
ที่มีใบสีเขียวเข้ม โอเมกา 6 พบมากในเนื้อสัตว์ ไข่ ข้าวโพด น้ามันถัว่
เหลือง
2. สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน
สารอาหารอีกประเภทหนึง่ เป็ นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน
แก่ร่างกาย แต่ร่างกายขาดไม่ได้ เพราะร่างกายต้องนาสารอาหาร
เหล่านีไ้ ปเป็ นส่วนประกอบของร่างกาย และช่วยควบคุมการทางาน
ของระบบต่างๆให้ทาหน้าที่ได้ตามปกติ จึงต้องรับประทานเป็ น
ประจา สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ วิตามิน แร่ธาตุ และนา้
เราจะพบวิตามิน แร่ธาตุตา่ ง ๆ และในอาหารหลากหลายชนิด
 นักเรียนจะตรวจสอบวิตามินบางชนิดได้อย่างไร ?
สิ่งที่ตอ้ งเตรียมมาก่อนการทดลอง
กลมุ่ ที่ 1 มะเขือเทศ
กลมุ่ ที่ 2 มะนาว
กลมุ่ ที่ 3 ส้ม
กลมุ่ ที่ 4 สับปรด
กลมุ่ ที่ 5 มะละกอส ุก
กลมุ่ ที่ 6 แตงโม
หนังสือหน้า 12
กิจกรรมที่ 1.2 ตรวจสอบวิตามินซี
จุดประสงค์การเรียนร ้ ู
นักเรียนสามารถตรวจสอบและเปรียบเทียบปริมาณวิตามินซีในผลไม้ได้
รายการ
จานวน/กลมุ่
1. หลอดทดลองขนาดกลาง
2. หลอดหยด
3. กระบอกตวง
4. ที่ตงั้ หลอดทดลอง
5. น้าแป้งส ุก
6. สารละลายไอโอดีน
7. น้าผลไม้ต่างๆ ที่ตอ้ งการทดสอบ
8. สารละลายวิตามินซี
6 หลอด
2 อัน
1 อัน
1 อัน
12 cm3
5 cm3
12 cm3
5 cm3
ตอนที่ 1 วิธีการตรวจสอบวิตามินซี
นับจานวนหยดจนกว่า
สารละลานน้าแป้งส ุข
จะเปลี่ยนสี
สารละลายวิตามินซี
0.01%
น้าแป้งส ุก + สารละลายไอโอดีน
ตอนที่ 2 วิธีการตรวจสอบวิตามินซีในนา้ ผลไม้
อย่าลืมนับจานวนหยดจนกว่าจะใสแล้วบันทึกผลการทดลองนะครับ
บันทึกผลการทดลอง
ตอนที่ 1 วิธีการตรวจสอบวิตามินซี
 เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงในน้าแป้งส ุก น้าแป้ง
เปลี่ยนเป็นสีน้าเงินและต้องใช้สารละลายวิตามินซี
0.01% ประมาณ 7 หยด จึงจะทาให้น้าแป้ง
เปลี่ยนจากสีน้าเงินเป็นไม่มีสี
บันทึกผลการทดลอง
ตอนที่ 2 วิธีการตรวจสอบวิตามินซีในผักผลไม้
ชนิดของน้าผักและผลไม้
1. มะเขือเทศ
2. มะนาว
3. ส้ม
4. สับปะรด
5. มะละกอส ุก
6. แตงโม
7. น้าฝรัง่
8. น้าผักคะน้า
9. น้ากะหลา่ ปลี
จานวนหยดที่ใช้
5
17
11
82
9
109
15
20
120

ถ้าสีน้าเงินในสารผสมระหว่างน้าแป้งส ุกและสารละลายไอโอดีน
จางหายไป แสดงว่าสารนัน้ มีวิตามินซี
ดังนัน้ ถ้าใช้นา้ ผลไม้จานวนหยดน้อย แล้วทาให้สีนา้ เงินในนา้ แป้ง
จางหายไปหมด แสดงว่าผลไม้ชนิดนัน้ ทีมปี ริมาณวิตามินซีมาก
 ในทางตรงกันข้ามถ้านา้ ผลไม้นน
ั้ มีจานวนหยดมาก ในการเปลี่ยนสี
ของนา้ แป้งผสมกับไอโอดีนแสดงว่าในผลไม้นนั้ มีวิตามินซีอยู่นอ้ ย
ตามลาดับ
ซึ่งจะพบว่าในนา้ ผมไม้จะมีจานวนหยดไม่เท่ากัน เพราะฉะนัน้ ผลไม่
ทุกชนิดก็จะมีปริมาณวิตามินซีไม่เท่ากันอีกด้วย
1. ในการทดลองวิตามินอย่างง่ายใช้วิตามินซีทาปฏิกิริยา
กับนา้ แป้งสุกผสมกับสารละลายไอโอดีนจากสีนา้ เงินของ
สารละลายนา้ แป้งสุกจนเปลี่ยนเป็ นไม่มสี ี
 2. การหาปริมาณมากน้อยของวิตามินซี ทาได้โดยเทียบ
จานวนหยดของสารนัน้ ที่เปลี่ยนสีนา้ เงินของนา้ แป้งสุกเป็ นไม่
มีสีกบั สารละลายวิตามินซี 0.01%


3. ผลการเปรียบเทียบจานวนหยดของนา้ ผลไม้กบั วิตามินซี
0.01% พบว่า นา้ มะเขือเทศมีวิตามินซีมากกว่า 0.01%ส่วนนา้
ผลไม้ชนิดอื่น เรียงลาดับจากมีวิตามินซีมากไปยังวิตามินซีนอ้ ยมี
ดังนี้ มะละกอสุก>นา้ ส้ม>นา้ มะนาว>นา้ สับปะรด>นา้ แตงโม
1.
คาถามท้ายกิจกรรม
นา้ แป้งสุกเมือ่ ทาปฏิกิริยากับสารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยนเป็ น
สีน้าเงิน
2. เมือ
่ หยดวิตามินซี 0.01% ลงในนา้ แป้งสุกสีนา้ เงินทีละหยดให้ทา
ปฏิกิริยากันพอดี จะเปลี่ยนเป็ น ไม่มีสี
3. การทดลองนีต
้ อ้ งควบคุมสิ่งใดบ้าง ปริมาณของน้าแป้งส ุกและ
จานวนหยดของสารละลายไอโอดีน และขนาดของหยดน้าผลไม้
4. จากผลการทดลอง นา้ ผลไม้ที่มป
ี ริมาณวิตามินซีมากกว่า
0.01% ทราบได้จาก ใช้จานวนหยดน้อยกว่า
5. ผลไม้ที่มวี ิตามินซีมากว่า 0.01% ได้แก่ มะเขือเทศ
6.
7.
8.
นา้ ผลไม้ที่มปี ริมาณวิตามินซีนอ้ ยกว่า 0.01% ทราบได้จาก
ใช้จานวนหยดมากว่าจานวนหยดของวิตามินซี 0.01%
ผลไม้ที่มวี ิตามินซีนอ้ ยที่สดุ คือ แตงโม เพราะ
ใช้จานานหยดมากที่ส ุด ใช้ถึง 109 หยด
นา้ ผลไม้ที่นามาทดลองที่มปี ริมาณวิตามินซีจากมากไปหาน้อย 3
อันดับ ได้แก่ มะเขือเทศ >น้าส้ม>น้ามะนาว>น้าสับปะรด
คือสารอาหารที่มีสมบัติเป็นสารอินทรียท์ ี่จาเป็น
ต่อร่างกาย ของสิ่งมีชีวิต แต่ตอ้ งการในปริมาณ
น้อยแต่ขาดไม่ได้
มีหน้าที่ เกี่ยวกับกระบวนการเมแทบอลิซึมของ
ร่างกาย โดยเป็นสารตัง้ ต้นที่จะนาไปสร้างเป็นโค
เอนไซม์ ซึ่งเป็นปัจจัยร่วมของเอนไซม์ในการเร่ง
ปฏิกิรยิ าต่างๆ ทาให้การย่อยสลายการด ูดซึม การ
ใช้และการสร้าง คาร์โบไฮเดรต โปรตีนและเกลือแร่
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
วิตามินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. วิตามินที่ละลายในน้า ได้แก่ วิตามิน B1 วิตามิน B2
วิตามิน B3 วิตามิน B6 วิตามิน C วิตามิน B12
2. วิตามินที่ละลายได้ในไขมัน ได้แก่ A D E K
วิตามินมีอยูม่ ากมายหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมี
ความสาคัญต่อร่างกายแตกต่างกัน และมีอยูใ่ น
อาหารหลายชนิดในปริมาณที่แตกต่างกัน
แหล่งอาหาร ความสาคัญ และผลจากการขาดวิตามินชนิดต่างๆ
วิตามิน
แหล่งอาหาร
หน้าที่และประโยชน์
เอ
สร้างโปรตีนในเด็ก
ตับ นม นา้ มันตับปลาไข่
และรักษาเนือ้ เยื่อ เช่น
แดง ผักและผลไม้
บารุงสายตา
ดี
นม ไข่ ตับ กุง้ ทะเล
นา้ มันตับปลา
ปลาทะเล
อี
ผักใบเขียวไขมันจากพืช
ทาให้เม็ดเลือดแดง
เช่น ข้าวโพด ถัว่ ลิสง
แข็งแรง
มะพร้าว ดอกคาฝอย
ไม่เป็ นหมัน
นม ไข่ เนือ้ สัตว์
อาการเมื่อขาด
ไม่สามารถมองเห็น
ได้ในที่สลัว นัยน์ตา
แห้ง
ช่วยในการดูดซึม
โรงกระดูดอ่อน
แคลเซียมและฟอสฟอรัส
ฟั นผุและชัก
สร้างกระดูกและฟั น
เป็ นหมัน เป็ นโรค
โลหิตจางในเด็กชาย
อายุ 2 ถึง 6 ขวบ
วิตามิน
เค
แหล่งอาหาร
หน้าที่และประโยชน์
อาการเมื่อขาด
มะเขือเทศ กะหลา่ ดอก ช่วยในการแข็งตัวของ
ผักโขม คะน้า ตับ เนือ้ วัว เลือด
เลือดเป็ นลิ่มช้าทาให้
เลือดหยุดไหลยาก
ช่วยในกรบวนการเมตาโบ
ข้าวซ้อมมือ ตับ ถัว่ ไข่
โรคเหน็บชาเบื่อ
ลิซึมของคาร์โบไฮเดรต
บี1 ราข้าว ยีสต์ นม เนือ้ หมู
อาหาร การเจริญ
บารุงประสาท การทางาน
หัวใจ
เติบโตหยุดชะงัก
ของหัวใจ
ไข่ หมู เนือ้ วัว ถัว่ ยีสต์
บี2
ช่วยในการเจริญเติบโต โรคปากนกกระจอก
เนือ้ สัตว์
ซี
โรคลักปิ ดลักเปิ ด
ช่วยรักษาสุขภาพของ
(กรด ผลไม้จาพวกส้ม มะนาว
ทาให้เลือดออกตาม
เหงือกและฟั นร่างกายมี
แอส มะละกอ มะเขือเทศ
ไรฟั นเป็ นหวัดได้
ภูมติ า้ นทานโรค
คอบิก)
ง่าย
ผลจากการขาดวิตามินชนิดต่างๆ
เลือดออกตามไรตามไรฟัน โรคปากนกกระจอกผิวหนังแห้งแตก ลิ้นอักเสบ
ขาดวิตามิน C
ขาดวิตามิน B2
โรคเหน็บชา
ขาดวิตามิน B1
เด็กน้อยในรูปนอนฟุบอยู่กบั พื้นด้วยความหิวโหย โดยมี
สายตาของอีแร้งจับจ้องอยู่อย่างคาดหวัง
หลังจากที่เบียฟราประกาศตนเป็ น
อิสระจากไนจีเรีย ทางไนจีเรียจึงได้
ประกาศการควา่ บาตรทางเศรษฐกิจ
ส่งผลให้ในระหว่างสงครามซึ่งกินเวลา
สามปี นี้ มีชาวเบียฟราเสียชีวิตกว่า
ล้านคน ซึ่งสาเหตุสว่ นใหญ่นนั้
เนือ่ งมาจากความอดอยาก และทาให้
เบียฟราล่มสลายไปในที่สดุ
ดอน แมคคัลลินผูถ้ ่ายรูปนี้ ได้
กล่าวถึงเด็ก 900 คนที่รอความตาย
อยู่ในค่ายเดียวกันว่าน่าสะเทือนใจ
คาถามเพิ่มเติม

จงนาตัวอักษรหน้าข้อความทางขวามือเติมในช่องว่างให้สมั พันธ์กนั
ค. วิตามิน B และ C
_____________1.
เป็นวิตามินที่ละลายในน้า
ง. วิตามิน A
_____________2.
ช่วยบาร ุงสายตา รักษาส ุขภาพผิว
ก. วิตามิน K
_____________3.
ช่วยให้เลือดแข็งตัวได้เร็ว
ข.
วิตามิน E
_____________4.
ถ้าขาดแล้วจะเป็นหมัน อาจทาให้แท้งได้
ญ.
วิตามิน B2
_____________5.
ถ้าขาดจะเป็นโรคปากนกกระจอก
จ. วิตามิน B12
_____________6.
ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง
_____________7.
ช่วยรักษาส ุขภาพของฟันและเหงือก
ฉ. วิตามิน C

แร่ธาต ุ เป็ นสารอาหารอีกประเภทหนึง่ ที่ร่างกายต้องการ
และขาดไม่ได้ เพราะแร่ธาตุบางชนิดเป็ นส่วนประกอบของ
อวัยวะและกล้ามเนือ้ บางอย่าง เช่น กระดูก ฟัน เลือด
บางชนิดเป็ นส่วนของสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโต
ในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน เฮโมโกลบิน เอนไซม์ เป็ นต้น
นอกจากนีแ้ ร่ธาตุยงั ช่วยในการควบคุมการทางานของ
อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายให้ทาหน้าที่ปกติ เช่น ควบคุม
การทางานของกล้ามเนือ้ และระบบประสาท การแข็งตัวของ
เลือด และช่วยควบคุมสมดุลของนา้ ในการไหลเวียนของ
ของเหลวในร่างกาย เป็ นต้น
ตาราง แสดงแหล่งอาหารที่ให้ธาต ุ ประโยชน์ และโรคหรือ
อาการเมื่อขาดธาต ุ
แร่ธาต ุ แหล่งอาหาร
เนือ้ นม ไข่ ปลา
กินได้ทงั้ กระดูก
แคลเซียม
กุง้ ฝอย และผัก
สีเขียวเข้ม
หน้าที่/ประโยชน์
1.เป็ นส่วนประกอบของกระดูก
และฟั น2.ควบคุมการทางาน
ของหัวใจกล้ามเนือ้ 3.ช่วยใน
การแข็งตัวของเลือด
1.เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญ
เนือ้ นม ไข่ ปลา
ของกระดูกและฟั น
กินได้ทงั้ กระดูก
ฟอสฟอรัส
2.ช่วยสร้างเอนไซม์
กุง้ ฝอย และผัก
3.ช่วยสร้างเซลล์สมองและ
ต่างๆ
ประสาท
โรค/อาการเมื่อ
ขาดแร่ธาต ุ
1.โรคกระดูกอ่อน
และฟั นผุ
2.เลือดออกง่าย
และแข็งตัวช้า
1.โรคกระดูกอ่อน
และฟั นผุ
2.การเจริญเติบโต
ช้า
โพแทสเซียม
1.ควบคุมการทางานของ
เนือ้ สัตว์ นม ไข่ งา
กล้ามเนือ้ หัวใจระบบ
ข้าว เห็ดผักสีเขียว
ประสาท
และผลไม้บางชนิด
รักษาปริมาณนา้ คงที่
1.ทาให้
กล้ามเนือ้
อ่อนเพลียและ
หัวใจวาย
1.สร้างโปรตีนในร่างกาย ยังไม่ทราบแน่
2.สร้างกล้ามเนือ้ ส่วน
ชัด
กามะถัน
เนือ้ สัตว์นมไข่
โซเดียม
1.ควบคุมการทางาระบบ
เกลือแกง อาหาร ประสาทรักษาปริมาณนา้
ทะเล อาหารหมัก ในเซลล์ให้คงที่
ดอง ไข่ นม เนย 3.รักษาความเป็ นกรด แข็ง ผักสีเขียว
ด่างของร่างกายให้อยูใ่ น
สภาพสมดุล
1.โรคประสาท
เสื่อม
2.กล้ามเนือ้
อ่อนเพลีย
เหล็ก
เนือ้ สัตว์ตบั
1.เป็ นส่วนประกอบของ
เครื่องในไข่แดง เฮโมโกลบินในเม็ดเลือด
และผักสีเขียว แดง
1.โรคโลหิตจาง
2.เล็บเปราะหักง่าย
3.อ่อนเพลีย ซึม
กระดูก ตับ สัน กระตุน้ การทางานของ
แมงกานีส
หลัง ธัญญาพืช เอนไซม์
1.ทาให้เป็ นอัมพาตได้
อาการชักในเด็ก
1.ช่วยในการดูดซึมธาตุ
เรื่องในสัตว์ ไก่ เหล็ก2.ช่วยสร้างเฮโมโก
ทองแดง หอยนางรม
บิลในเม็ดเลือดแดง
พืชผักและผลไม 3.เป็ นส่วนประกอบของ
เอนไซม์บางชนิด
มักพบในทารกที่คลอด
ก่อนกาหนด และมี
นา้ หนักแรกคลอดกว่า
กรัมจะเกิดภาวะโลหิตจาง
อ่อนเพลีย หายใจผิดปกติ
อาหารทะเล
ไอโอดีน เกลือสมุทร
เกลืออนามัย
1.โรคคอพอก
2.ร่างกายแคระแกร็น
อยูใ่ นต่อมไทรอยด์
ป้องกันโรคคอพอก
เป็ นสารที่มคี วามสาคัญต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดใน
ร่างกายของเรามีนา้ เป็ นองค์ประกอบอยู่ 2 ใน 3 ส่วนของนา้ หนัก
ตัวนา้ จึงมีความสาคัญต่อร่างกาย ดังนี้
1. เป็ นองค์ประกอบของอวัยวะต่างร่างกาย เช่น เลือด ตับ ไต ลาไส้
หัวใจ เป็ นต้น
2. ช่วยควบคุมอุณหภูมขิ องร่างกายให้คงที่
3. ช่วยให้กลไกการเกิดปฏิกิริยาเคมีในร่างกายเป็ นไปตามปกติ
4. ช่วยกาจัดของเสียออกจากร่างกายทางเหงือ่ และปั สสาวะร่างกายจะ
ได้รบั นา้ โดยตรงจากการดืม่ นา้ สะอาดและได้จากอาหารที่รบั ประทานเข้า
ไป ซึ่งมีปริมาณนา้ เป็ นองค์ประกอบในปริมาณที่แตกต่างกัน
กิจกรรมที่ 4 ทบทวนความรู้ เรือ่ งวิตามิน แร่ธาต ุ และน้า
1. คนที่เป็นโรคโลหิตจางควรรับประทานอาหารที่มีวิตามินชนิด
ตอบ ควรรับประทานอาหารที่มีวิตามินที่ชว่ ยทาให้เซลล์เม็ด
เลือดแดงแข็งแรง คือ วิตามินอี และ บี 12 ซึ่งอยูใ่ นอาหารพวก
ตับ ไข่ เนื้อปลา ผักใบเขียว
2. ในการทาอาหาร ควรปอกและหัน่ ผักผลไม้ ก่อนหรือหลังการ
ล้าง เพราะเหต ุใด
ตอบ ควรล้างผักหรือผลไม้กอ่ นการปอกหรือหัน่ เนื่องจาก
วิตามินบางชนิดที่อยูใ่ นผักผลไม้เป็นวิตามินที่ละลายน้าได้ ถ้า
ปอกหรือหัน่ ผักผลไม้กอ่ นการล้างอาจทาให้สญ
ู เสียวิตามินไป
กับน้าได้
3. ปัจจุบนั มีการโฆษณารับประทานวิตามินหรืออาหารเสริม
เพื่อบาร ุงส ุขภาพ นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไร
ตอบ ควรเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน
ดีกว่าที่จะรับประทานวิตามินหรืออาหารเสริม ยกเว้นในกรณี
เจ็บป่วยที่ตอ้ งได้รบั วิตามินบางชนิดเพิ่มแต่ควรอยูภ่ ายใต้
คาแนะนาของแพทย์
4. ผูท้ ี่เสียเลือดมากหรือสตรีมีประจาเดือน ควรรับประทาน
อาหารที่มีแร่ธาต ุประเภทใด
ตอบ ควรรับประทานอาหารที่มีแร่ธาต ุเหล็ก ซึ่งมีมากในตับ ถัว่
ไข่และผักใบเขียว
5. สารอาหารใดบ้างที่มีบทบาทสาคัญต่อความแข็งแรงของ
กระด ูก ตอบ แคลเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม และวิตามินดี
6. แร่ธาต ุที่ช่วยในการเจริญเติบโตและป้องกันโรคเอ่อ คือ
ตอบ ไอโอดีน แหล่งที่พบได้แก่ อาหารทะเล เกลือสมุทร
7. คนที่เป็นโรคโลหิตจาง ควรรับประทานอาหารประเภท
ตอบ ตับ ไข่แดง ผักสีเขียว เพราะเป็นแหล่งของธาต ุ เหล็ก
8. แร่ธาต ุที่มีความจาเป็นสาหรับการสร้างโปรตีนใน
ร่างกาย คือ ตอบ กามะถัน
9. แร่ธาต ุที่ทางานร่วมกับวิตามินดี ช่วยให้กระด ูกและฟัน
แข็งแรง คือ ตอบ แคลเซียมกับฟอสฟอรัส
10. ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศเกิด
โรคคอพอกมากที่ส ุด เนื่องจากตอบ ขาดธาต ุไอโอดีน
วิธีป้องกันทาได้โดย ตอบ รับประทานอาหารทะเลหรือใช้เกลืออนามัย
ในการปร ุงอาหาร ซึ่งจะทาให้รา่ งกายได้รบั ธาต ุไอโอดีนเพียงพอ
11. น้าเป็นสารอาหารประเภท ตอบ ไม่ให้พลังงานมน ุษย์จะมีน้า
เป็นองค์ประกอบประมาณร้อยละ 50-70 ของน้าหนักตัว
12. การดื่มน้ามีความสาคัญต่อร่างกาย ดังนี้
ตอบ 1. ช่วยลาเลียงสารอาหารและออกซิเจนนาไปเลี้ยงส่วน
ต่างๆของร่างกาย
2. ช่วยควบค ุมอ ุณหภ ูมิของร่างกาย
3. ช่วยนาของเสียออกจากร่างกายทางเหงื่อและปัสสาวะ
หนังสือหน้า 20 จ้า
การคานวณหาค่าพลังงานที่สะสมอยูใ่ นอาหาร
 ในอาหารแต่ละชนิดมีพลังงานสะสมอยูใ่ นรูปของพลังงาน
เคมี ซึ่งเราไม่สามารถมองเห็นได้ แต่เราสามารถคานวณหา
ค่าพลังงานที่สะสมอยูใ่ นอาหารเหล่านัน้ ได้ ในรูปของพลังงาน
ความร้อน ซึ่งทาได้โดยนาอาหารที่ตอ้ งการหาพลังงานมาใช้
เป็ นเชือ้ เพลิงในการต้มนา้ พลังงานเคมีที่สะสมอยู่ในอาหารจะ
เปลี่ยนรูปมาเป็ นพลังงานความร้อนแล้วถ่ายเทไปในนา้ มี
อุณหภูมสิ งู ขึน้ ด้วยเหตุนเี้ องเราจึงคานวนหาค่าพลังงาน
ความร้อนที่ทาให้อณ
ุ หภูมขิ องนา้ สูงขึน้ แทนพลังงานเคมีที่
สะสมอยูใ่ นอาหาร

เครื่องมือที่ใช้วดั ค่าพลังงานความร้อนจากสารอาหารเรา
เรียกว่า บอมบ์แคลอริมิเตอร์ ( Bomb Calorimeter )
บอมบ์แคลอริมเิ ตอร์ เป็ นภาชนะปิ ดสนิท มีเทอร์มอมิเตอร์
วัดอุณหภูมภิ ายใน อาหารจะถูกบรรจุไว้ในภาชนะที่มีกา๊ ซ
ออกซิเจนหุม้ ด้วยถังนา้ ใช้ไฟฟ้าจุดไฟเผาอาหารและวัด
อุณหภูมขิ องนา้ ที่เพิ่มขึน้
รูป แสดงส่วนประกอบภายในของบอมบ์แคลอริมิเตอร์
หน่วยของพลังงานความร้อน

พลังงานความร้อนมีหน่วยเป็ นจูล(J)หรือกิโลจูล(KJ)ใน
อาหารนิยมวัดค่าของพลังงานความร้อนเป็ น แคลอรี (cal)
หรือ กิโลแคลอรี (Kcal) ในการคานวณหาพลังงานความ
ร้อนจากอาหารจะคานวณจากพลังงานความร้อนของอาหาร
ที่ให้กบั นา้
1(Kcal)= 1000 (cal)
1 cal = 4.2 J
1 kJ = 1000 J
การเปลี่ยนหน่วยพลังงานความร้อน
ปริมาณความร้อน 1 แคลอรี = 4.2 จูน
ความหมายของปริมาณความร้อน 1 แคลอรี
ปริมาณความร้อน 1 แคลอรี หมายถึง ปริมาณความร้อนที่
ทาให้น้า 1 กรัม มีอ ุณหภูมิสงู ขึ้น 1 C
๐
สูตรการคานวณหาค่าพลังงานความร้อนที่น้าได้รบั คือ
พลังงานความร้อนที่น้าได้รบั = mc
t
หรือ
Q = mc
t
เมือ่
Q = พลังงานความร้อนที่นา้ ได้รบั มีหน่วยเป็ นแคลอรี
m = มวลของนา้ มีหน่วยเป็ นกรัม
c = ความจุความร้อนจาเพาะของนา้ = cal/g ๐C
t = อุณหภูมขิ องนา้ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มี
หน่วยเป็ นองศาเซลเซียส
จดลงไปในสมุดด้วยนะค่ะ เตรียมตัวคานวณ
เรือ่ ง พลังงานนักเรียนจะต้องจาสูตรให้ได้กอ่ น
จารการศึกษาเปรี ยบเทียบตัวอย่างอาหารชนิ ดต่างๆโดยใช้แคลอรี มิเตอร์ ทาให้
ทราบว่าสารอาหารแต่ละชนิ ดให้พลังงานต่างกันความต้องการพลังงานของแต่ละ
เพศ แต่ละวัย แตกต่างกันอย่างไร ให้ดูจากตาราง
1. ในฉลากผลิตภัณฑ์อาหารระบ ุว่า ขนมปัง 1 แผ่น ให้พลังงาน
70 c ตัวเลขนี้หมายความว่าอย่างไร และหาได้อย่างไร
ตอบ จากข้อมูลในกรอบความรใ้ ู นหนังสือเรียน บางครัง้ มีการใช้
หน่วย calorie อักษรย่อ c ที่เขียนด้วยอักษร c ตัวพิมพ์ใหญ่
ในฉลากอาหาร แทนปริมาณพลังงาน 1,000 แคลอรี หรือ 1
กิโลแคลอรี ข้อความที่ระบ ุว่า ขนมปัง 1 แผ่น ให้พลังงาน 70 c
จึงหมายความว่า หากบริโภคขนมปังนัน้ 1 แผ่น ร่างกายจะ
ได้รบั พลังงาน 70 กิโลแคลอรี ข้อมูลดังกล่าวได้จากการทดลอง
ในห้องปฏิบตั ิการโดยใช้แคลอรีมิเตอร์ แล้วพบว่า ขนมปังนัน้ 1
แผ่น ปลดปล่อยพลังงานที่ทาให้น้า 1,000 กรัม มีอ ุณหภ ูมิ
สูงขึ้น 70 องศาเซลเซียส
2. ชายหรือหญิงต้องการพลังงานมากว่ากัน
ตอบเด็กชายหญิงแรกเกิดจนถึงอาย ุ 8 ปีต้องการพลังงาน
ใกล้เคียงกัน ตัง้ แต่อาย ุ 9 ปีขึ้นไป ช ต้องการพลังงานมากกว่า ญ
3. ในช่วงอาย ุที่แตกต่างกัน ความต้องการพลังงานแตกต่างกัน
อย่างไร ตอบ ตัง้ แต่แรกเกิดความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นเรือ่ ยๆ
จนกระทัง่ สูงส ุดในช่วงอาย ุ 16-18 ปีจากนัน้ ความต้องการพลังงาน
ก็ลดลงตามช่วงอาย ุ
4. เหต ุใดหญิงมีครรภ์และหญิงที่ให้นมล ูกบ ุตรจึงต้องการพลังงาน
เพิ่มขึ้น ตอบ หญิงมีครรภ์ตอ้ งการพลังงานเพื่อสร้างเนื้อเยือ่ ของ
ทารกในครรภ์ สาหรับหญิงที่ให้นมบ ุตร ต้องการพลังงานสาหรับ
สังเคราะห์สารต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับทารก

เป็ นส่วนหนึง่ ของโครงสร้างของพืช ได้แก่ ผัก ผลไม้ เมล็ด
ธัญพืช ถัว่ ต่างๆ จัดอยูใ่ นประเภทคาร์โบไฮเดรตที่ไม่สามารถ
ย่อยได้โดยระบบย่อยอาหารของมนุษย์ ช่วยเพิ่มกากอาหาร
ทาให้ขบั ถ่ายได้ดี คนที่รบั ประทานอาหารที่มใี ยอาหารสูง
สามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคบางอย่างได้อีกด้วย
ได้แก่ โรคมะเร็งลาไส้ โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคหัวใจ และโรค
ที่กอ่ ให้เกิดความผิดปรกติของทางเดินอาหารต่างๆ เช่น
ท้องผูก ริดสีดวงทวาร ลาไส้โป่ งพอง และมะเร็งลาไส้ใหญ่ จึง
ได้มคี วามพยายามที่จะใช้ประโยชน์จากใยอาหารในการป้องกัน
โรค หรือควบคุมโรคที่มอี ยูใ่ ห้รนุ แรงน้อยลง
1. สารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ได้แก่
ตอบ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
2. อาหารมีความสาคัญต่อร่างกาย เพราะ
ตอบ เป็นแหล่งพลังงานให้แก่รา่ งกาย
3. ไขมัน 50 กรัม ให้พลังงานเท่ากับ 450 แคลอรี
4. อาหารที่ให้ค่าพลังงานต่อกรัมเท่ากัน คือ อาหารประเภทใด
ตอบ คาร์โบไฮเดรตและโปรตีน
5. คนที่อยู่ในเขตอากาศหนาว ต้องรับประทานอาหารประเภท
ไขมันมากเป็ นพิเศษ เพราะ ให้พลังงานมากช่วยให้รา่ งกายอบอนุ่
เอกสาร 29
6. ถ้ารับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์อย่างเดียว โดยไม่
รับประทานข้าวเลย ร่างกายจะได้รบั คาร์โบไฮเดรตหรือไม่ ได้รบั
เพราะ โปรตีนสามารถเปลี่ยนเป็นคาร์โบไฮเดรตได้
7. ถ้าต้องการทดสอบอาหารชนิดหนึ่งว่ามีพลังงานสะสมอยู่
หรือไม่ ทาได้โดยนาอาหารชนิดนัน้ ที่แห้งมาเผาไฟจะเกิดการล ุกไหม้พลังงาน
8. ใยอาหารมีสารอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต จะให้พลังงาน
แก่รา่ งกายได้หรือไม่ ไม่ได้ เพราะไม่สามารถย่อยได้
9. ประโยชน์ของใยอาหาร ได้แก่ ช่วยให้ขบั ถ่ายง่าย ป้องกันไม่ให้เกิด
โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่และโรคริดสีดวงทวารหลอดเลือดขอด
โรคเบาหวานโรคนิวในถ ุงน้าดี และไส้ติ่งอักเสบ
10. ใยอาหารสามารถลดน้าหนักได้หรือไม่ ได้ เพราะ ถ้ารับประทาน
ใยอาหาร ใยอาหารจะช่วยด ูดซับน้าได้ดี ทาให้รส้ ู ึกอิ่มเร็ว และการ
รับประทานใยอาหารต้องใช้เวลาเคี้ยวนานทาให้รบั ประทานได้นอ้ ย
อาหารในชีวิตประจาวัน
1. ความต้องการอาหารของคนแต่ละวัย
2. หญิงมีครรภ์และหญิงให้นมบุตร ต้องการอาหารที่มีประโยชน์
มากเป็ นพิเศษ
3. วันเด็ก ต้องทานอาหารประเภทไข่ เนือ้ สัตว์ นม ผัก และผลไม้
4. วัยรุ่น ต้องทานอาหารที่มปี ระโยชน์
5. วัยผูใ้ หญ่และวัยสูงอายุ ทานโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน
ให้นอ้ ยลง ผักผลไม้ให้มากขึน้
หนังสือหน้า 24-25
การเลือกบริโภค
จากข้อมูลปริ มาณสารอาหารและพลังงานที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละวัน ซึ่ง
ระบุปริ มาณโดยเฉพาะจง ข้อมูลสัดส่ วนอาหารที่ควรได้รับบริ โภคในแต่ละวัน
นาเสนอในรู ปแบบธงโภชนาการ ดังภาพ
ตาราง ปริมาณของอาหารที่คนไทยควรรับประทานใน 1 วัน
หนังสือหน้า 26
นักเรียนคิดว่ากิจกรรมใดใช้พลังงานมากที่ส ุดที่ส ุด
ปริมาณพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมต่างๆ
 นักเรียนได้เรียนรูแ้ ละทดสอบมาแล้วว่า
ในอาหารแต่ละประเภท
มีพลังงานสะสมอยู่ ดังนัน้ การที่เรากินอาหารที่มีสารอาหาร
ประเภทโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมัน นอกจากเพื่อให้
ร่างกายเจริญเติบโตและสมบูรณ์แข็งแรงแล้ว ยังต้องการ
พลังงานเพื่อนามาใช้ให้เกิดความอบอุน่ แก่ร่างกายและทา
กิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันอีกด้วย ในวันหนึง่ ๆ คนเรา
แต่ละคนต้องการพลังงานจากอาหารเพื่อทากิจกรรมต่าง ๆ ใน
ปริมาณไม่เท่ากัน และกิจกรรมแต่ละอย่างต้องใช้พลังงาน
แตกต่างกันด้วย การใช้พลังงานของแต่ละคนเพื่อทากิจกรรม
แต่ละอย่าง นักเรียนศึกษาได้จากตารางต่อไปนี้
ตาราง แสดงพลังงานที่ใช้ในการทากิจกรรมต่าง ๆ ในเวลา 1 ชัว่ โมงต่อ
น้าหนักของร่างกาย 1 กิโลกรัม
กิจกรรมที่ทา
นอนหลับ
นัง่ พักอ่าน หนังสือ
นัง่ เขียนหนังสือ
ขับรถ
เย็บผ้าด้วยจักรเย็บผ้า
ล้างจาน ปั ดฝุ่ น
อาบนา้ แปรงฟัน
ล้างรถ
ถูพื้น เลื่อยไม้
พลังงานที่ใช้ในการทากิจกรรม ( Kcal )
ชาย
หญิง
1.05
1.26
1.47
2.42
2.63
2.84
3.05
3.68
3.89
0.97
1.16
1.36
2.23
2.43
2.62
2.81
3.40
3.59
ทาความสะอาดหน้าต่าง,ตีปิงปอง
ว่ายนา้
เล่นเทนนิส
ขุดดิน ยกนา้ หนัก
เล่นบาสเกตบอล ฟุตบอล
ชกมวย ว่ายนา้ อย่างเร็ว
ปี นทางชันและขรุขระ
4.20
4.73
6.30
7.35
7.88
9.43
10.50
3.88
4.37
5.82
6.79
7.28
8.73
9.70
 จากข้อมูลในตารางนักเรียนจะเห็นได้ว่า
พลังงานที่ใช้ใน
การทากิจกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน กิจกรรมที่ใช้
พลังงานมากที่สดุ คือ การปี นทางชันและขรุขระ ส่วน
กิจกรรมที่ใช้พลังงาน้อยที่สดุ คือ การนอนหลับ
นอกจากนีใ้ นกิจกรรมเดียวกัน เพศชายจะใช้พลังงาน
มากกว่าเพศหญิงเสมอ

ดังนัน้ จึงอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การใช้
พลังงานในการทากิจกรรมของแต่ละคนแตกต่างกัน ทั้งนี้
ขึน้ อยูก่ บั ปั จจัยที่สาคัญ คือ ประเภทของกิจกรรมรวมทัง้
ระยะเวลาที่ใช้ทากิจกรรมนัน้ ๆ เพศ และนา้ หนักตัว โดยผู้
ที่มนี า้ หนักตัวมากจะต้องใช้พลังงานมาก และเพศชายใช้
พลังงานมากกว่าเพศหญิงในการทากิจกรรมประเภท
เดียวกัน
การคานวณหาค่าพลังงานที่ใช้ในกิจกรรม
การคิดคานวณหาค่าพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ อาจทาได้
โดยใช้สตู รต่อไปนี้
พลังงานที่ใช้ = น้าหนักตัว X พลังงานที่ใช้ในการทา
กิจกรรมใน 1 ชัว่ โมงต่อน้าหนักร่างกาย 1 กิโลกรัม
จาสูตรให้ได้กอ่ น เราจะไป
คานวณกันแล้ว
ตัวอย่างที่ 1
เด็กชายนิรนั ดร์หนัก 50 กิโลกรัม ล้างรถเป็นเวลา 1 ชัว่ โมง
อยากทราบว่านิรนั ดร์จะใช้พลังงานเท่าไร
วิธีทา จากข้อมูลในตาราง
ชายหนัก 1 กิโลกรัม ล้างรถเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ใช้พลังงาน
=
3.68
กิโลแคลอรี
เมือ่ นิรนั ดร์หนัก 50 กิโลกรัม ล้างรถเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ใช้พลังงาน
=
50 X 3.68
=
184
กิโลแคลอรี
เด็กชายนิรนั ดร์ลา้ งรถเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง จะใช้พลังงานเท่ากับ 184 กิโแคลอรี
ตัวอย่างที่ ด ญ วัชรีหนัก 40 กิโลกรัม นอนหลับเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง
แล้วตืน่ ขึน้ มาเล่นเทนนิสเป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง อยากทราบว่าวัชรีใช้พลังงาน
ทัง้ หมดเท่าไร
วิธีทา
จากข้อมูลในตาราง
หญิงหนัก 1 กิโลกรัม นอนหลับเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ใช้พลังงาน
=
0.97
กิโลแคลอรี
เมือ่ วัชรีหนัก 40 กิโลกรัม นอนหลับเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ใช้พลังงาน
=
40 X 0.97
กิโลแคลอรี
=
38.8
กิโลแคลอรี
หญิงหนัก 1 กิโลกรัม เล่นเทนนิสเป็นเวลา 1 ชัว่ โมง ใช้พลังงาน
=
5.82
กิโลแคลอรี
เมือ่ วัชรีหนัก 40 กิโลกรัม เล่นเทนนิสเป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง ใช้พลังงาน
=
40 X 5.82 X 3
=
698.4 กิโลแคลอรี
วัชรีนอนหลับเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง และเล่นเทนนิสเป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง จะ
ใช้พลังงานทัง้ หมด
= 38.8 + 698.4 = 737.2 กิโลแคลอรี
ลองทาด ู
นายนทีมีน้าหนัก 40 กิโลกรัม ว่ายน้า 3 ชัว่ โมง แล้วขับรถยนต์กลับ
บ้าน 1 ชัว่ โมง นทีตอ้ งใช้พลังงานในการทากิจกรรมรวมทัง้ สิ้นเท่าไร
วิธีทา หาพลังงานที่ใช้ว่ายน้า
นทีหนัก 40 กิโลกรัม ว่ายนา้ 3 ชัว่ โมง = 4.73
= 4.73 x40x3 kcal
พลังงานที่ใช้วา่ ยนา้ = 567.6 kcal
หาพลังงานที่ใช้ขบั รถ
นทีหนัก 40 กิโลกรัม ขับรถ 1 ชัง่ โมง = 2.42 kcal
= 2.42x40x1 kcal
พลังงานที่ใช้ขบั รถ = 96.8 kcal
นทีใช้พลังงานในการว่ายน้าและขับรถกลับบ้านรวมกัน =
567.6+96.8 = 664.4 kcal

นักเรียนคงจะเห็นแล้วว่าพลังงานที่ใช้ในการทากิจกรรมต่าง
ๆ ในแต่ละวันนัน้ ร่างกายได้มาจากอาหารที่กนิ เข้าไป ดังนัน้
จึงจาเป็ นต้องกินอาหารให้ร่างกายได้รบั พลังงานพอเหมาะ
กับการทากิจกรรมต่าง ๆ ของแต่ละบุคคล รวมทัง้ เหมาะ
กับเพศ วัย และสภาพของร่างกายด้วย

นอกจากจะต้องกินอาหารให้ได้ปริมาณที่เป็ นสัดส่วน
พอเหมาะและครบทุกประเภทแล้ว อาหารที่กนิ จะต้องสะอาด
และปลอดภัยด้วย นักเรียนคิดว่าอาหารที่เรากินอยู่ทกุ วันนี้
สะอาดและปลอดภัยหรือไม่ เพราะเหตุใด นักเรียนจะได้
ศึกษาในหัวข้อต่อไป
สารปนเป้ ื อนในอาหาร
เป็ นสารพิษที่เกิดขึน้ จากธรรมชาติและจากการกระทาของมนุษย์ ซึ่งมี
ผลทาให้เกิดอันตรายต่อร่างกายจนถึงเสียชีวิตได้ สารปนเปื้ อนใน
อาหารแบ่งตามลักษณะการเกิดได้ 2 ประเภทคือ
1. สารพิษที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แบ่งออกตามชนิดของสารพิษได้ดงั นี้
1.1 สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย์ เช่น สารอะฟลาทอกซิน (aflagoxin) ซึ่งเป็ นสาร
สร้างจากเชื้อราพวกแอสเพอร์จิลลัส (aspergillus spp) รานีเ้ จริญได้ดใี น
ถัว่ ลิสงและเมล้ดพืชที่ชนื้ ซึ่งความร้อนสูงไม่สามารถ
ทาลายสารอะฟลาทอกซินได้สว่ นใหญ่สารนีจ้ ะตกค้างที่ตบั ทาให้เกิดเป็ นมะเร็งตับ
1.2 สารพิษจากเห็ดบางชิด ทาให้เมา มีอาการคลื่นไส้ และอาเจียน
1.3 สารพิษในพืชผัก สีผสมอาหาร เชื้อจุลินทรีย์ ภาชนะบรรจุอาหาร
เห็ดพิษ
เห็ดระโงกมีทงั้ ชนิดกินได้และเป็ นพิษ
เห็ดในสกุลอะมานิตา
เห็ดหมึก
เชื้อราอะฟลาทอกซิน
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เตือนภัยสารพิษ
จากเชือ้ ราอะฟลาทอกซินปนเปื้ อนในถัว่ ลิสง
ข้าวโพดเครื่องเทศ และธัญพืช อะฟลาทอกซิ
นคือสารพิษจากเชือ้ รา ซึ่งเป็ นสารก่อมะเร็ง
ทนความร้อนได้ถึง 260 องศาเซลเซียส
สารพิษที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
เช่น สารพิษจากเห็ดบางชนิด ทาให้เมา มีอาการคลื่นไส้และ
อาเจียน ,สารพิษจากเชือ้ จุลินทรียส์ ว่ นใหญ่ เมือ่ รับประทานเข้าไปสารนีจ้ ะ
ไปตกค้างที่ตบั ทาให้เกิดเป็ นมะเร็งตับ
การปฐมพยาบาลนัน้ ที่สาคัญที่ส ุดคือ
ทาให้ผปู้ ่ วยอาเจียนเอาเศษอาหารที่ตกค้างออกมาให้มากและทาการช่วย
ดูดพิษจากผูป้ ่ วยโดยวิธีใช้นา้ อุ่นผสมผงถ่าน และดืม่ 2 แก้วโดยแก้วแรก
ให้ลว้ งคอให้อาเจียนออกมาเสียก่อนแล้วจึงดืม่ แก้วที่ 2 แล้วล้วงคอให้
อาเจียนออกมาอีกครัง้ จึงนาส่งแพทย์พร้อมกับ ตัวอย่างเห็ดพิษหากยัง
เหลืออยู่ หากผูป้ ่ วยอาเจียนออก ยากให้ใช้เกลือแกง 3 ช้อนชาผสมนา้ อุ่น
ดืม่ จะทาให้อาเจียนได้งา่ ยขึน้ แต่วิธีนหี้ า้ มใช้กบั เด็กอายุตา่ กว่า 5 ขวบ
รีบนาส่งแพทย์ เพื่อทาการรักษาโดยรีบด่วนต่อไป
ข้อสังเกตเห็ดพิษ และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การทดสอบเห็ดพิษแบบชาวบ้าน
วิธีการตรวจสอบเห็ดพิษแบบชาวบ้านต่อไปนี้ ถึงแม้จะไม่ถกู ต้องนัก
1. นาข้าวสารมาต้มกับเห็ด ถ้าไม่เป็ นพิษข้าวสารจะสุก ถ้าเป็ นพิษข้าวสารจะสุกๆ ดิบๆ
2. ใช้ชอ้ นเงินคนต้มเห็ด ถ้าช้อนเงินกลายเป็ นสีดา จะเป็ นเห็ดพิษ
3. ใช้ปูนกินหมากป้ายดอกเห็ด ถ้าเป็ นเห็ดพิษจะกลายเป็ นสีดา
4. ใช้หัวหอมต้มกับเห็ด ถ้าเป็ นเห็ดพิษจะเป็ นสีดา
5. ใช้มอื ถูเห็ดจนเป็ นรอยแผล ถ้าเป็ นพิษรอยแผลนัน้ จะเป็ นสีดา แต่เห็ดแชมปิ ญญองเป็ น
เห็ดที่รบั ประทานได้ เมือ่ เป็ นแผลก็จะเป็ นสีดา
6. ดอกเห็ดที่มรี อยแมลงและสัตว์กดั กิน เห็ดนัน้ ไม่เป็ นพิษ แต่กระต่ายและหอยทาก
สามารถกินเห็ดพิษได้
7. เห็ดที่เกิดผิดฤดูกาล มักจะเป็ นพิษ แต่ในทุกวันนีส้ ามารถเพาะเห็ดได้ตลอดปี
8. เห็ดพิษมักจะมีสีฉดู ฉาด เห็ดรับประทานได้จะมีสีอ่อน
2. สารพิษที่เกิดจากการกระทาของมน ุษย์ ส่วนใหญ่เป็ นผลมาจากความเจริญ
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เรานามาใช้ใน ชีวิตประจาวัน มีดงั นี้
2.1 สารตกค้างจากการเกษตร เช่น ดีดที ี ปุ๋ ย ยาปราบศัตรูพืช ซึ่งอาจสะสม
ในอาหาร เมือ่ รับประทานเข้าไปจะเกิดอันตรายต่อสิ่งมีชวี ิต
2.2 สิ่งเจือปนในอาหาร แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทคือ
1. สารกันอาหารเสีย เป็ นสารที่ชว่ ยให้อาหารคงสภาพ รส กลิ่น เหมือน
เมือ่ แรกผลิตและเก็บไว้ได้นาน เช่น สารกันบูด สารกันหืด เป็ นต้น
2.สารแต่งกลิ่นหรือรส เป็ นสารที่ชว่ ยให้อาหารมีรสและกลิ่นถูกผูบ้ ริโภค หรือ
ใช้แต่งกลิ่นรส ผูบ้ ริโภคเข้าใจคิดผิดว่าเป็ นของแท้ หรือมีสว่ นผสมอยูม่ ากหรือน้อย
ทัง้ ที่เป็ นของเทียน สารเหล่านีไ้ ด้แก่ บอแรกซ์ สารเคมี เครื่องเทศ สารกลิ่นผลไม้
สารรสหวานประเภทนา้ ตาลเทียม
3. สีผสมอาหาร เป็ นสีที่ใส่เพื่อจะช่วยแต่งเติมให้อาหารน่ารับประทานยิ่งขึน้ มีทงั้
สีจากธรรมชาติซึ่งเป็ นสีที่ได้จากพืชและสัตว์ไม่เป็ นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เช่น สีดา
จากถ่าน สีแดงจากครัง่ เป็ นต้น และ สีสงั เคราะหส่วนมากจะเป็ นสารพิษที่รา้ ยแรง
ต่อร่างกาย มักมีตะกัว่ และโครเมียมอยู่ เช่น สียอ้ มผ้า
สีผสมอาหาร
สีธรรมชาติ ซึ่งมักเป็ นสีที่ผลิตจากพืชหรือสัตว์ เช่น สีจากอัญชัน
กระเจี๊ยบ และสีจากการสังเคราะห์ซึ่งเป็ นสีที่สงั เคราะห์จากสารเคมี
ต่างๆ สีจากธรรมชาติเป็ นสีที่ปลอดภัยที่สดุ ส่วนสีสงั เคราะห์ที่อนุญาตให้
ใช้ในอาหารได้นนั้ หากบริโภคในปริมาณน้อยก็ไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
สารปร ุงแต่งสี
สารปรุงแต่งสี หมายถึง วัตถุที่ใช้ในการปรุงแต่งสีของอาหารให้สวยงาม น่า
รับประทาน เพื่อดึงดูดความสนใจของผูบ้ ริโภค
อันตรายจากสีผสมอาหาร
อันตรายที่เกิดจากสีผสมอาหารมี 2 สาเหตุ คือ
1. อันตรายจากตัวสี ตัวสี คือ สารหรือวัตถุที่มคี ณ
ุ สมบัตยิ อมหรือไม่ยอมให้แสง
สะท้อน ดูดกลืนหรือทะลุผา่ นได้ อันตรายที่เกิดจากตัวสีอาจทาให้เกิดผืนตาม
ผิวหนัง หน้าบวม ท้องเดน อาเจียน อ่อนแรงคล้ายเป็ นอัมพาต การทางานของ
ระบบทางเดินอาหาร ไต ตับทางานบกพร่อง และอาจทาให้เกิดโรคมะเร็งได้
2. อันตรายที่เกิดจากมีโลหะหนักเจือปน อันตรายที่เกิดจากโลหะหนักเจือปน ขึน้ อยู่
กับชนิด และปริมาณของโลหะหนักที่เจือปนอยูใ่ นสี พวกสียอ้ มผ้าสียอ้ มหระดาษ เป็ น
ต้น เช่น ปรอท สารหนู ตะกัว่ โครเมียมมีผลต่อระบบประสาท สมอง กล้ามเนื้อ ชีพจร
สารตกค้างจากการเกษตร
1.ผลกระทบต่อส ุขภาพจากยาฆ่า
แมลง ได้มกี ารประเมินว่าคนอเมริกนั 1
ใน 20 คน แพ้ยาฆ่าแมลงเพราะเคยได้รบั
ยาฆ่าแมลงมาก่อน จากยาฆ่าแมลงได้
ส่งผลกระทบต่าง ๆ ในมุมกว้างและบางที
ทาให้ถึงขัน้ เสียชีวิตได้อย่างง่ายๆ
2.ผลจากการได้รบั ยาฆ่าแมลง ก็คือทา
ให้เกิด โรคมะเร็ง โรคมะเร็งเม็ดเลือด
ขาว พันธุกรรมบกพร่อง เป็ นหมัน ตับถูก
ทาลาย โรคผิดปกติของต่อม
ไทรอยด์ โรคเบาหวาน โรคไต เป็ นต้น
นอกจากนัน้ ยังส่งผลถึง ดิน นา้ และสัตว์
ต่างๆอีกด้วย
การเลือกซื้อเนือ้ หมูมารับประทานไม่ควร
เลือกที่แดงเกินไปเพราะมีความเป็ นไปได้สงู
ที่จะปนเปื้ อนสารเร่งเนือ้ แดง
อาหารการป๋อง
อาหารก่อมะเร็ง
การล้างผักที่ถกู ต้อง ควรปล่อยให้นา้ ไหล
ผ่านสัก 4-5 นา้ เพื่อความปลอดภัย
อันตรายจากสารกันบูด
นพ.เอี่ยม วิมตุ สิ นุ ทร ผูอ้ านวยการสานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
(กทม.) กล่าวว่า ปั จจุบนั อุตสาหกรรมการผลิตอาหารมีการนาสารเคมี
ชนิดต่างๆ มาใช้ปรุงแต่งอาหาร และสารกันบูดก็เป็ นสารเคมีอีกชนิดหนึง่ ที่
นิยมใส่ในอาหาร เพื่อช่วยป้องกันหรือช่วยทาลายเชือ้ จุลินทรียไ์ ม่ให้
เจริญเติบโตทาให้อาหารนัน้ อยู่ได้นาน
การใช้สารกันบูดอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผูบ้ ริโภคได้ เช่น สารกัน
บูดในกลุม่ ของดินประสิว ซึ่งนิยมนามาใช้กบั อาหารประเภทเนือ้ สัตว์ หากใช้
ในปริมาณที่เกินกาหนด จะมีผลทาให้ทอ้ งเสีย คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน
ศีรษะ ในรายที่มอี าการรุนแรงจะทาให้เม็ดเลือดแดงหมดสภาพในการพา
ออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ตา่ ง ๆ ของร่างกาย จะเกิดอาการตัวเขียวหายใจไม่
ออก และอาจถึงตายได้ นอกจากนีด้ นิ ประสิวยังเป็ นสารก่อมะเร็งอีกด้วย
บอแรกซ์ หรือในชือ่ เรียกอื่นๆ เช่น นา้ ประสานทอง เผ่งเซ ผงกรอบ หรือแป้ง
กรอบ เป็ นสารเคมีสงั เคราะห์ที่ถกู นามาอย่างไม่ถกู ต้อง โดยการนามาผสม
อาหาร เพื่อทาให้อาหารมีความเหนียว หรือกรุบกรอบ ทาให้อาหารชวน
รับประทาน แต่ในความจริงแล้วการบริโภคบอแรกซ์ทาให้เกิดอันตรายได้อย่าง
มาก อาหารที่มกั พบว่า มีบอแรกซ์ผสม เช่น ลูกชิ้น หมูยอ อาหารชุบแป้งทอด
พวกกล้วยทอด มันทอด ผัก/ผลไม้ดอง เป็ นต้น ปั จจุบนั ยังตรวจพบว่า มีการนา
บอแรกซ์มาผสมนา้ ใช้รดผัก หรืออาหารทะเล ก่อนวางจาหน่าย โดยเชื่อกันว่า จะ
ทาให้อาหารดูสดชืน่ และกรอบน่ารับประทาน
ลักษณะของบอแรกซ์
ประโยชน์
โดยทัว่ ไปบอแรกซ์ใช้ในอุตสาหกรรมทาแก้ว ล้างหม้อขนาดใหญ่ ใช
ป้องกันวัชพืชในการเกษตร ใช้ป้องกันเชือ้ ราขึน้ ตามต้นไม้ ใช้เป็ นยาเบื่อ
แมลงสาบ และใช้เป็ นตัวเชือ่ มทองเส้นเข้าด้วยกัน แต่ปัญหาการใช้บอ
แรกซ์เกิดจากเมือ่ นามาใช้ผสมอาหาร และทาให้เกิดอันตรายต่อผูบ้ ริโภค
การเกิดพิษ
บอแรกซ์ เป็ นวัตถุหา้ มใช้ในอาหาร หากบริโภคเข้าไป จะเกิดอันตรายต่อ
ร่างกายอาจทาให้เสียชีวิตได้ ถ้าผูใ้ หญ่ได้รบั สารบอแรกซ์ 15 กรัม หรือ
เด็กได้รบั 5 กรัม จะทาให้อาเจียนเป็ นเลือดและอาจตายได้ บอแรกซ์เป็ น
พิษต่อไตและสมอง ทาให้ระบบทางเดินอาหารเกิดการระคายเคือง
โดยเฉพาะไตเป็ นอวัยวะที่ได้รบั ผลกระทบมากที่สดุ
สารฟอร์มาลิน
สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ มักใช้เป็ นนา้ ยาฆ่าเชือ้
โรค หรือใช้เป็ นนา้ ยาดองศพ ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเคมีภณ
ั ฑ์พลาสติก
สิ่งทอ ฟอร์มาลินเป็ นสารอันตราย จึงถือเป็ นสารเคมีที่หา้ มใช้ในอาหาร
ความเป็ นพิษ : การบริโภคสารละลายนีโ้ ดยตรง จะเกิดอาหารเป็ นพิษโดย
เฉียบพลัน ซึ่งอาการมีตงั้ แต่ ปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน อุจจาระร่วง
หมดสติ และตายในที่สดุ มีผลต่อการทางานของไต หัวใจและสมองเสื่อม
และก่อให้เกิดอาการปวดแสบ
ลักษณะสังเกตได้ : อาหารที่ควรจะเน่าเสียง่าย แต่กลับไม่เน่าเสีย ถ้ามี
การใช้ฟอร์มาลินมากจะมีกลิ่นฉุน แสบจมูก ควรเลือกซื้ออาหารที่มี
ความปลอดภัย จากร้านที่มปี ้ ายอาหารปลอดภัย (ป้ายทอง)
จากข่าว
“ผูเ้ ลี้ยงปลา”ยอมรับว่าใช้ “สารฟอร์มาลิน “แช่ปลาก่อนจับขาย”
แม่ทองบ่อ เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงปลานิล บ้านท่องบ่อ อ.โกส ุม จ.
มหาสารคาม ชาวนาผูผ้ นั ตัวเองมาเลี้ยงปลากระชังในลาน้าแม่ชี
เมื่อปี 2549 บอกว่า เธอจะใช้ฟอร์มาลินน็อคปลาใกล้ตายก่อนนา
ออกขาย
กินอาหารอย่างไรให้ปลอดภัย
1. เลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัย ควรเลือกซื้ออาหารที่ผลิตหรือจาหน่ายจาก
แหล่งผลิตที่สะอาด
2. การปร ุงอาหารด้วยความร้อนให้ส ุกอย่างทัว่ ถึง อาหารดิบเช่น เนือ้ หมู
เนือ้ ไก่ ไข่และอาหารทะเล เพราะมีเชื้อโรคอยู่
3. รับประทานอาหารที่ปร ุงส ุกใหม่ อาหารที่ปรุงสุกด้วยความร้อนแล้ว ถ้า
ปล่อยให้เย็นนานๆจะทาให้มเี ชื้อโรคได้
4. เก็บอาหารปร ุงส ุกให้เหมาะสม เช่นในตูเ้ ย็นที่มอี ณ
ุ หภูมทิ ี่เหมาะสม แล้วนา้
มาให้ความร้อนที่เหมาะสม
5. หลีกเลี่ยงไม่ให้อาหารดิบสัมผัสกับอาหารส ุกแล้ว
6. ล้างมือให้สะอาดด้วยน้าและสบู่ท ุกครัง้ ก่อนเตรียม/เตรียมอาหาร
7. ล้างผัก ผลไม้ให้สะอาจจะได้ไม่มีสารพิษตกค้าง
มีสญ
ั ลักษณ์แสดงหมายเลขทะเบียนของคณะกรรมการอาหารและยา

ในการดาเนินกิจกรรม การดารงชีวิต และการเจริญเติบโต ร่างกาย
ต้องการอาหารเพื่อเป็ นแหล่งพลังงาน และเป็ นวัตถุดบิ สาหรับการ
สังเคราะห์สารต่างๆ ประเทศไทยอุดมไปด้วยพืชพันธุธ์ ญ
ั ญาหารนานา
ชนิด คนในทุกภูมภิ าคจึงสามารถเลือกบริโภคได้อย่างหลากหลาย เรา
ควรรับประทานอาหารที่สด และสะอาด
 เพื่อให้ร่างกายได้รบ
ั สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสม และ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มวี ตั ถุเจือปนหรือสารปนเปื้ อนที่เป็ นอันตราย
กิจกรรมที่ 6
คาสัง่ จงเขียนชื่อสารเคมีที่ผผ้ ู ลิตอาจนาไปใช้ในการปร ุงแต่งอาหาร
อาหาร
1. เนื้อเค็ม
2. ข้าวเกรียบกง้ ุ
สารเคมีที่ใช้ปร ุงอาหาร
โพแทสเซียมไนเตรตหรือดินประสิว
สีผสมอาหาร
3.ล ูกชิ้นเด้ง
บอแรกซ์
4. ผลไม้ดอง
น้าตาลเทียว สีผสมอาหาร
5.ก ุนเชียง
6. หน่อไม้ดอง
7. แหนม
โพแทสเซียมไนเตรต
ผงฟอกสี
บอแรกซ์ โพแทสเซียมไนเตรต
คาสัง่ จงเติมคาหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถ ูกต้อง
1. การป้องกันสิ่งเจือปนในอาหารให้ปลอดภัยจากพยาธิบาง
ชนิด ทาได้โดย ตอบ รับประทานอาหารที่ส ุก ร้อน และมีฝาปิดมิดชิด
2. สารปนเปื้ อนที่ชมุ ชนได้รบั จากการรับประทานเนือ้ สัตว์มาจาก
ตอบ อาหารสัตว์ ยารักษาโรคในสัตว์ เป็ นสารปนเปื้ อนที่
เกิดจาก ความไม่ตงั้ ใจของมน ุษย์
3. กรดเบนโซอิกและเกลือเบนโซเอตจัดเป็ นสารเคมีประเภท ตอบ สารกันเสีย
4. ในการทดสอบสารปนเปื้ อนประเภทบอแรกซ์ ทาได้โดยใช้
ตอบ กระดาษขมิ้นจุ่มในสารที่ใช้ทดสอบ ถ้าเป็นบอแรกซ์ จะเปลี่ยนเป็นสีแดง
5. เมือ่ นาสียอ้ มผ้ามาผสมอาหาร จะทาให้เป็ ฯอันตรายต่อร่างได้
เนือ่ งจาก ตอบ ตะกัว่ ปรอท สารหนู โครเมียม และแคดเมียม
เป็นส่วนผสมในสียอ้ มผ้า
แบบทดสอบหลังเรียน
1.ข้อใดคือความหมายของอาหาร
ง. สิ่งที่รบั ประทานเข้าไปแล้วเกิดประโยชน์ตอ่ ร่างกาย
2. ร่างกายของคนเราต้องใช้กาลังในการทากิจกรรมต่างๆ ควร
รับประทานอาหารหลักหมูใ่ ด
ก. เนือ้ สัตว์ ไข่ และถัว่
3. อาหารหลักที่เรารับประทานมีกี่หมู่
ข. 5 หมู่
4. อาหารหลักหมูใ่ ดที่ชว่ ยเพิ่มพลังงานและความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย
ของเรา
ข. ไขมันจากสัตว์ และพืช
5. ขนมหวานชนิดใดที่มสี ว่ นผสมของสารอาหารโปรตีน
ข. ถัว่ กวน
6. ถ้าต้องการให้สายตามีสขุ ภาพดีควรรับประทานอาหารชนิดใด
ง. ผัดฟั กทองใส่ไข่
7. อาหารชนิดใด ที่ชว่ ยให้ร่างกายของเราขับถ่ายได้สะดวก
ข. มะละกอสุก
8. การทดลองไบยูเร็ตเป็ นวิธีการที่ใช้ทดสอบสารอาหารประเภทใด
ข. โปรตีน
9. ถ้ารับประทานมะเขือเทศเป็ นประจาจะช่วยป้องกันโรคอะไรได้
ง. โรคปากนกกระจอก
10. ข้อใดเป็ นคูว่ ิตามินและโทษของการขาดวิตามินนัน้ ได้ถกู ต้อง
ก. วิตามินเค - เป็ นหมัน