แนวโน้มของตารางธาตุ

Download Report

Transcript แนวโน้มของตารางธาตุ

แนวโน้ มของตารางธาตุ
สมบัตติ ่ างๆในตารางธาตุ
• ขนาดอะตอม
• ขนาดไอออน
•
•
•
•
•
IE
EA
EN
E0
จุดเดือด จุดหลอมเหลว
ขนาดอะตอม
• ตามหมู่ ขนาดอะตอมจะโตขึ ้นจากบนลงล่าง
– เพราะ ระดับพลังงานสูงขึ ้น
• ตามคาบ ขนาดอะตอมจะเล็กลงจากซ้ ายไปขวา
– เพราะ ธาตุแต่ละตัวอยูใ่ นระดับพลังงานเดียวกัน แต่จานวนโปรตรอนเพิ่มมาก
ขึ ้น จึงดึงดูดอิเล็กตรอนได้ มากขึ ้นตามลาดับ
ขนาดไอออน
• ไอออนบวก ขนาดจะเล็กลงเพราะจ่ายอิเล็กตรอน
• ไอออนลบ ขนาดจะเพิ่มขึ ้น เพราะรับอิเล็กตรอน
EN (Electron Negativity)
• คือ ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอน
โดยธาตุท่ มี ีขนาดเล็กจะดึงดูดอิเล็กตรอนได้ ดีกว่ าธาตุท่ ีมีขนาด
ใหญ่ เพราะธาตุขนาดเล็กมีแรงดึงดูดระหว่ างนิวเคลียสกับ
อิเล็กตรอนมาก
IE (Ionization Energy)
• คือ พลังงานอย่างน้ อยที่ดงึ อิเล็กตรอนให้ หลุดจากอะตอมในสภาวะแก็ส
• ตามหมู่ จะต่าลงจากบนลงล่าง
• ตามคาบ จะสูงขึ ้นจากขวาไปซ้ าย ยกเว้ น หมู่ 2 สูงกว่า หมู่ 3
และ หมู่ 5 สูงกว่า หมู่ 6
EA (Electron Affinity)
คือ พลังงานที่คายออกมาเพื่อรับอิเล็กตรอนเข้ าไปอยูใ่ นอะตอมในภาวะ
แก็ส
• ตามหมู่ จะต่าลงจากบนลงล่าง
• ตามคาบ จะสูงขึ ้นจากขวาไปซ้ าย ยกเว้ น หมู่ 2 และ หมู่ 5 จาต่ากว่าปกติ
เพราะ การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงงานย่อยเสถียรอยูแ่ ล้ วจึงไม่ต้อง
การรับอิเล็กตรอนเพิ่ม
ศักย์ ไฟฟ้ าครึ่งเซลล์ มาตรฐาน (E0)
• คือ ความสามารถในการชิงอิเล็กตรอนในรูปสารละลาย
• ตามหมู่ จะลดจากบนลงล่าง
• ตามคาบ จะสูงขึ ้นจากซ้ ายไปขวา
จุดเดือด จุดหลอมเหลว
• พันธะโลหะ ธาตุที่มีความหนาแน่นมากจุดเดือด จุดหลอมเหลวจะสูง
มาก
• พันธะโคเวเลนต์ (แบบลอนดอน) จุดเดือด จุดหลอมเหลว เพิ่มตาม
มวลและขนาดโมเลกุล
• พันธะโคเวเลนต์ (แบบโครงผลึกร่างตาข่าย) จุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง
มากๆ เพราะทาลายพันธะโคเวเลนต์