แนวโน้มขนาดไอออน ขนาดอะตอมในตารางธาตุ

Download Report

Transcript แนวโน้มขนาดไอออน ขนาดอะตอมในตารางธาตุ

ตารางธาตุในปัจจุบัน
1. จัดเรียงธาตุตามแนวนอนโดยเรียงลาดับเลขอะตอมทีเ่ พิม่ ขึน้
จากซ้ ายไปขวา
2. ธาตุซึ่งเรียงตามลาดับเลขอะตอมทีเ่ พิม่ ขึน้ และเป็ นแถว
ตามแนวนอนเรียกว่ า คาบ ซึ่งมีท้งั หมด 7 คาบ
3. ธาตุในแถวตามแนวตั้ง มีท้งั หมด 8 แถว เรียกว่ า หมู่ ซึ่งมีตัวเลข
กากับ แบ่ งออกเป็ นหมู่ย่อย A และ B โดยที่
หมู่ย่อย A มี 8 หมู่ คือ หมู่ IA จนถึง VIII A
หมู่ย่อย B มี 8 หมู่ คือ หมู่ IB จนถึง VIII B แต่ เรียงเริ่มจากหมู่ III B
ถึงหมู่ II B ซึ่ง มีชื่อเรียกว่ า ธาตุแทรนซิชัน (Transition Elements)
ตารางธาตุในปัจจุบัน
4. ธาตุ 2 แถวล่าง ซึ่งแยกไว้ ต่างหากนั้น เรียกว่ า ธาตุแทรนซิชันชั้นใน
(Inner transition elements)
ธาตุแถวบน คือ ธาตุทมี่ ีเลขอะตอมตั้งแต่ 58 ถึง 71 เรียกว่ า กลุ่มธาตุ
แลนทาไนด์ (Lanthanide series) ธาตุกลุ่มนีค้ วรจะ
อยู่ในหมู่ III B โดยจะเรียงต่ อจากธาตุ La
ธาตุแถวล่าง คือ ธาตุทมี่ ีเลขอะตอมตั้งแต่ 90 ถึง 103 เรียกว่ า กลุ่มธาตุ
แอกทิไนด์ (Actinide series) ธาตุกลุ่มนีค้ วรอยู่ในหมู่
III B โดยเรียงต่ อจากธาตุ Ac
ตารางธาตุในปัจจุบัน
5. ธาตุไฮโดรเจนมีสมบัติบางอย่ างคล้ายธาตุหมู่ 1 และมีสมบัติ
บางอย่ างคล้ายธาตุหมู่ 7 จึงแยกไว้ ต่างหาก
6. ธาตุทเี่ ป็ นโลหะและอโลหะถูกแยกออกจากกันด้ วย เส้ นขั้นบันได โดย
ทางซ้ ายของเส้ นบันไดเป็ นโลหะ ทางขวาของเส้ นขั้นบันไดเป็ นอโลหะ
ส่ วนธาตุทอี่ ยู่ชิดเส้ นบันไดจะมีสมบัติกา้ กึง่ ระหว่ างโลหะกับอโลหะ เรียก
ธาตุพวกนีว้ ่ า ธาตุกงึ่ โลหะ (Metalloid)
ลักษณะสาคัญของธาตุภายในหมู่เดียวกัน
1. ธาตุทอี่ ยู่ในหมู่เดียวกันมีจานวนเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากัน จึงทา
ให้ มีสมบัติคล้ายกัน
เช่ น ธาตุลเิ ทียม (3Li) และธาตุโซเดียม (11Na) ต่ างก็มีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเท่ ากับ 1 ทั้งสองธาตุจึงมีคุณสมบัติคล้ ายกัน เป็ นต้ น
2. ธาตุในหมู่ย่อย A (IA - VIIIA) มีเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากับเลขที่
ของหมู่ ยกเว้ นธาตุแทรนซิชัน
เช่ น ธาตุในหมู่ I จะมีเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากับ 1 ธาตุใน
หมู่ II จะมีเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากับ 2 เป็ นต้ น
3. ธาตุแทรนซิชันส่ วนใหญ่ มีเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากับ 2 ยกเว้ น
บางธาตุ เช่ น Cr , Cu เป็ นต้ น จะมีเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากับ 1
ลักษณะสาคัญของธาตุในคาบเดียวกัน
1. ธาตุในคาบเดียวกันมีเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนไม่ เท่ ากัน โดยมีเวเลนซ์
อิเล็กตรอนเพิม่ ขึน้ จากซ้ ายไปขวา ดังนั้น ธาตุในคาบเดียวกันจึงมี
สมบัติต่างกัน
ยกเว้ นธาตุแทรนซิชันซึ่งส่ วนใหญ่ มีจานวนเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอน
เท่ ากับ 2 เท่ ากัน จึงมีคุณสมบัติคล้ายกันทั้งในหมู่และในคาบ
เดียวกัน
2. ธาตุในคาบเดียวกันมีจานวนระดับพลังงานเท่ ากัน และเท่ ากับ
เลขทีข่ องคาบ
เช่ น ธาตุในคาบที่ 2 ทุกธาตุ (Li ถึง Ne) ต่ างก็มีจานวนระดับ
พลังงานเท่ ากับ 2 คือ ชั้น K (n=1) และชั้น L (n=2) เป็ นต้ น
สมบัตขิ องธาตุตามหมู่และตามคาบ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ขนาดอะตอม
รัศมีไอออน
พลังงานไอออไนเซชัน
อิเล็กโตรเนกาติวติ ี
สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน
จุดเดือดจุดหลอมเหลว
เลขออกซิเดชัน
แรงดึงดูดของนิวเคลียส (Zeff) บ่งบอกถึงอิเล็กตรอนที่อยูใ่ นชั้นนอกสุ ดว่า
สามารถถูกดูดโดยประจุที่นิวเคลียสได้มากน้อยเพียงใด ทาให้พบว่าถ้า
จานวนอิเล็กตรอนมากขึ้นแรงดึงดูดของนิวเคลียสจะมากขึ้นด้วย ทาให้ Zeff
มากขึ้น
Element
Atomic#
Zeff
Al
13
1+
Si
14
2+
P
15
3+
S
16
4+
Cl
17
5+
Ar
18
6+
ขนาดอะตอม
ขนาดอะตอม
ธาตุในคาบเดียวกัน เมือ่ เลขอะตอมเพิม่ ขึน้ ขนาดอะตอมจะเล็กลง เนื่องจากธาตุในคาบเดียวกัน
มีจานวนระดับพลังงานเท่ ากัน แต่ เมือ่ เลขอะตอมเพิม่ จานวนโปรตอนจะเพิม่ ขึน้ ด้ วย แรงดึงดูด
ระหว่ างนิวเคลียสกับเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเพิม่ ขึน้ ขนาดจึงลดลง
ธาตุ ใ นหมู่ เ ดี ย วกั น เมื่ อ เลข
อะตอมเพิม่ ขึน้ ขนาดอะตอม
จะใหญ่ ขึ้ น เพราะเมื่ อ เลข
อะตอมเพิ่มขึ้น จะมีจานวน
ระดับพลังงานเพิ่มขึ้น แม้ ว่า
จ านวนโปรตอนจะเพิ่ ม ขึ้ น
ด้ ว ยก็ ต าม แต่ แ รงดึ ง ดู ด ต่ อ
เวเลนซ์ อิเล็กตรอนมีน้อย จึง
ทาให้ ขนาดใหญ่ ขึ้น กล่ าวได้
ว่ า ก ร ณี นี้ ก า ร เ พิ่ ม ร ะ ดั บ
พลังงานมีผลมากกว่ าการเพิ่ม
จานวนโปรตอน
รัศมีอะตอม
ส่ วนใหญ่ใช้ค่ารัศมีอะตอม ซึ่ งอาจใช้หน่วยเป็ นพิโกเมตร (pm) หรื ออังสตรอม (A๐ )
1. รัศมีโคเวเลนต์
รัศมีโคเวเลนต์ คือ ระยะทางครึ่งหนึ่งของความยาวพันธะ
โคเวเลนต์ ระหว่ างอะตอมชนิดเดียวกัน
ความยาวพันธะ Cl-Cl = 198 รัศมีโคเวเลนต์ ของ Cl = 198/2 = 99 pm
ถ้ าความยาวพันธะ C-Cl = 176 pm
รัศมีอะตอมของ Cl
= 99 pm
ดังนั้นรัศมีอะตอมของ C = (176-99) = 77 pm
2. รัศมีแวนเดอร์ วาลส์
รัศมีแวนเดอร์ วาลส์ คือระยะทางครึ่งหนึ่ง
ของระยะระหว่ างนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่
ใกล้ทสี่ ุ ด
Kr
Kr
รัศมีแวนเดอร์วาลส์ของ Kr = 200 pm
H2
H2
รัศมีแวนเดอร์วาลส์ของ H = 120 pm
3. รัศมีโลหะ
รัศมีโลหะ คือมีค่าเท่ ากับครึ่งหนึ่งของระยะระหว่ าง
นิวเคลียสของอะตอมโลหะทีอ่ ยู่ใกล้กนั มากทีส่ ุ ด
Mg
Mg
รัศมีอะตอมของโลหะ Mg = 320/2 = 160 pm
320 pm
รัศมีไอออน
Mg : 1s2 2s2 2p6 3s2
160 pm
รัศมีไอออน คือระยะระหว่ างนิวเคลียสของไอออนคู่
หนึ่งๆ ทีม่ ีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกันในโครงผลึก
Mg2+ : 1s2 2s2 2p6
65 pm
O : 1s2 2s2 2p4
73 pm
O2- : 1s2 2s2 2p6
140 pm
“ไอออนของโลหะ
ในหมู่เดียวกันจะมี
ขนาดใหญ่ ขนึ้ เมื่อ
เลขอะตอม
เพิม่ ขึน้ ” และ
“ไอออนของโลหะ
ในคาบเดียวกันจะ
มีขนาดเล็กลงเมื่อ
เลขอะตอม
เพิม่ ขึน้ ”
ขนาดไอออน
“ไอออนของ
อโลหะในหมู่
เดียวกัน จะมี
ขนาดใหญ่ ขนึ้
เมื่อเลขอะตอม
เพิม่ ขึน้ ” และ
“ไอออนของ
อโลหะในคาบ
เดียวกันจะมี
ขนาดเล็กลง
เมื่อเลขอะตอม
เพิม่ ขึน้ ”
Which is larger ?
1. Be2+ or B3+
2. Al3+ or P33. K or Ca
4. As or Te
5. O2- or F-
Ionization energy
:พลังงานทีใ่ ช้ ในการดึง e- หลุดออกจากในสภาวะก๊าซ
 อะตอมใดมีขนาดเล็ก จะทาให้ ดึง e- ออกยาก
 อะตอมใดมีขนาดใหญ่ จะทาให้ ดึง e- ออกง่ าย
 IE สู ง
 IE ต่า
พลังงานไอออไนเซชัน
• พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่หนึ่ง (IE1) เป็ นพลังงานที่ตอ้ งใช้
ในการดึงอิเล็กตรอนตัวแรกออกจากอะตอมอิสระในสถานะแก๊ส
Na(g)  Na+(g) + e• พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่สอง (IE2) เป็ นพลังงานที่ตอ้ งใช้ใน
การดึงอิเล็กตรอนออกจากไอออนที่มีประจุ +1 ในสถานะแก๊ส
Na+(g)  Na2+(g) + e• ค่าพลังงานไอออไนเซชันสูง แสดงว่าการดึงอิเล็กตรอนออกไปทา
ได้ยาก
First Ionization Energy Plot
First ionization energy (kJ/mol)
2500
He
Ne
2000
F
1500
Ar
N
H
1000
C
Be
O
B
Li
0
Na
5
Br
P
Mg
500
Kr
Cl
10
Zn
S
Si
Al
Fe Ni
Ti
Cr
Ca
Co Cu
Mn
Sc V
As
Ge
Se
Sr
Ga
K
15
Rb
20
Atomic number
25
30
35
40
พลังงานไอออไนเซชัน
• ค่าพลังงานไอออไนเซชันในหมู่เดียวกันจะลดลงจากบนลงล่าง
เนื่องจากธาตุคาบล่างมีอิเล็กตรอนวงนอกสุ ดที่สามารถดึงออกได้ง่าย
• แนวโน้มพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่หนึ่ง จะเพิม่ ขึ้นจากซ้ายไป
ขวาในคาบเดียวกัน เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับ
อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ยกเว้นบางธาตุ
• ข้อยกเว้น การดึงอิเล็กตรอนจากธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนแบบบรรจุ
เต็ม และบรรจุครึ่ งออร์บิทลั
พลังงานไอออไนเซชัน
• การจัดอิเล็กตรอนแบบบรรจุเต็มและบรรจุครึ่ ง ส่ งผลให้อะตอมมี
ความเสถียรมากกว่า เช่น
การจัดเรี ยงอิเล็คตรอนแบบ s2p3 จะเสถียรกว่าการจัดเรี ยง
แบบ s2p4
• การบรรจุเต็มจะเสถียรกว่าบรรจุครึ่ ง เช่น
การจัดเรี ยงอิเล็คตรอนแบบ s2p0 จะเสถียรกว่าการจัดเรี ยง
แบบ s1p1
พลังงานไอออไนเซชัน
การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน
• ไอออนบวก: อิเล็กตรอนที่อยูใ่ นออร์บิทลั ที่มีเลขควอนตัมสูงสุ ดจะถูกดึง
ออกไปก่อน:
Li (1s2 2s1)  Li+ (1s2)
Fe ([Ar]3d6 4s2)  Fe3+ ([Ar]3d5)
• ไอออนลบ: จะเติมอิเล็กตรอนในออร์บิทลั ที่มีเลขควอนตัมสูงสุ ด:
F (1s2 2s2 2p5)  F- (1s2 2s2 2p6)
ตามคาบ จานวนประจุบวกเพิม่ มากขึน้
e- อยู่ไกล
Nu มาก
e- หลุดง่ าย
IE ต่า
e- หลุดยาก
First Ionization Energy เพิม่ ขึน้
First Ionization Energy เพิม่ ขึน้
ตามหมู่
ระดับ
พลังงาน
มากขึน้
e- ถูกดึงดูดมาอยู่ใกล้ Nu ได้ มาก
IE สู ง
Which member of each pair has the greater
first ionization energy? Why?
•Na or Na+
•F or Cl
•N or O
•O or F
•Na or Mg
•K or Na
Electron Affinity
Electron affinity (EA) คือพลังงานทีป่ ลดปล่อยออกมาจากการรับอิเล็กตรอน
ของอะตอมธาตุแล้วเกิดเป็ นแอนไอออน ณ สถานะแก๊ส
ธาตุที่มี EA สู ง จะคายพลังงานออกมามากเมื่อรั บ
อิ เ ล็ ก ตรอนเข้ า ไป ท าให้ เ กิ ด ไอออนลบที่ มี ค วาม
เสถียรมาก ดังนั้นค่ า EA จึงใช้ ทานายความสามารถ
ในการเป็ นไอออนลบ กล่ าวคือ ธาตุที่มี EA สู ง จะ
สามารถเกิดเป็ นไอออนลบได้ ง่ายกว่ าธาตุที่มี EA ต่า
X (g) + e-
X-(g)
F (g) + e-
F-(g)
H = -328 kJ/mol
EA = +328 kJ/mol
O (g) + e-
O-(g)
H = -141 kJ/mol
EA = +141 kJ/mol
สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน
• สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนจะตรงข้ามกับพลังงานไอออไนเซชัน
• สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน เป็ นพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมในสถานะ
แก๊สรับอิเล็กตรอนเกิดเป็ นไอออนที่มีประจุ -1 ในสภาพที่เป็ นแก๊ส:
Cl(g) + e-  Cl-(g)
• สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน สามารถเป็ นได้ท้ งั การคายพลังงาน หรื อ
เป็ นการดูดพลังงาน เช่น
Ar(g) + e-  Ar-(g)
Electron Affinity
ธาตุ ใ นหมู่ เ ดี ย วกั น ค่ า EA
ลดลงจากบนลงล่ า ง เพราะ
ธาตุ ข้ า งบนมี ข นาดเล็ ก กว่ า
ธาตุ ข้ า งล่ า ง จึ ง มีแ รงดึ ง ดู ด
ระหว่ างประจุบวกที่นิวเคลียส
กั บ อิ เ ล็ ก ตรอนที่ เ พิ่ ม เข้ า ใน
อะตอมได้ มากกว่ า ระยะทาง
จากนิวเคลียสถึงขอบเขตของ
อะตอมสั้ นกว่ าอะตอมที่ มี
ขนาดใหญ่ ที่ อ ยู่ ข้ า งล่ า งของ
ห มู่ ธ า ตุ ข้ า ง บ น รั บ
อิ เ ล็ ก ต ร อ น ไ ด้ ดี ก ว่ า ธ า ตุ
ข้ างล่ าง EA จึงมากกว่ า
ธาตุในคาบเดียวกัน ค่ า EA เพิม่ ขึน้ จากซ้ ายไปขวาของตารางธาตุ
เพราะธาตุทางขวามีขนาดเล็กกว่ าธาตุทางซ้ าย จึงรับ e- ได้ ดกี ว่ า eทีเ่ ข้ ามาใหม่ จะถูกดึงดูดด้ วย Nucleus ได้ มากกว่ า EA จึงมากกว่ า
เพราะเหตุใดโลหะหมู่ 2A จึงรับอิเล็กตรอนได้ ยากกว่ าโลหะหมู่ 1A
โลหะหมู่ 2A มีอิเล็กตรอนอยูเ่ ต็ม subshell s แล้ว อิเล็กตรอนที่เข้ามา
ใหม่จะอยูห่ ่างจากนิวเคลียสและถูก shield มากกว่า ในกรณี ของ
โลหะหมู่ 1A ที่ยงั มีที่วา่ งใน subshell s
ธาตุใดมีค่า electron affinity สู งกว่ า
* Li or Na
* O or F
Electronegativity
อิเล็กโตรเนกาติวติ ี้ ( Electronegativity ) เป็ นค่าสมมติที่แสดงความสามารถใน
การดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะจาก Nucleus
 e- คู่ร่วมพันธะของอะตอมทีม่ ขี นาดเล็ก จะได้ รับแรงดึงดูดจาก Nucleus มาก
 EN สู ง
 e- คู่ร่วมพันธะของอะตอมทีม่ ขี นาดใหญ่ จะได้ รับแรงดึงดูดจาก Nucleus น้ อย
 EN ต่า
อะตอมที่มีสภาพไฟฟ้าลบมาก จะดึงอิเล็กตรอนที่ใช้ ร่วมกันในการเกิ ดพันธะ
โคเวเลนต์ เข้ าหาตัวเองได้ มากกว่ า ได้ มีผ้ ูหาค่ าสภาพไฟฟ้าลบไว้ หลายแบบ แต่ ที่นิยม
ใช้ อ้างอิงมากที่สุด คือ ของพอลิง โดยกาหนดให้ ฟลูออรี นมีค่าสภาพไฟฟ้าลบมาก
ทีส่ ุ ด คือ เท่ ากับ 4.0 และซีเซียม ( Cs ) มีสภาพไฟฟ้าลบน้ อยทีส่ ุ ด คือเท่ ากับ 0.7
Electronegativity
ธาตใุ นคาบเดียวกัน ค่ า EN จะเพิม่ ขึน้ จากซ้ ายไปขวา เพราะขนาดอะตอมเล็กลง
ทาให้ ได้ รับแรงดึงดูดจากนิวเคลียสมากกว่ าอะตอมทีม่ ขี นาดใหญ่ EN จึงสู งขึน้
ธาตุ ห ม่ ู เ ดี ย วกั น ค่ า
EN จะลดลงจากบน
ลงล่ า ง เพราะขนาด
อะตอมใหญ่ ขึ้น ท าให้
นิ ว เ ค ลี ย ส มี โอ ก า ส
ดึ ง ดู ด อิ เ ล็ ก ตรอนได้
น้ อยกว่ าอะตอมที่ มี
ขนาดเล็ก EN จึง
ต่าลง
จุดหลอมเหลวและจุดเดือด
ก. โลหะในหม่ เู ดียวกัน คือ หมู่ IA , IIA, และ IIIA “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมี
แนวโน้ มลดลง เมือ่ เลขอะตอมเพิม่ ขึน้ ” เนื่องจากความแข็งแรงของพันธะโลหะลดลง เพราะมีขนาด
อะตอมใหญ่ ขนึ้
ข. โลหะในคาบเดียวกัน คือ โลหะในหมู่ IA , IIA, และ IIIA ในคาบต่ างๆ “จุดหลอมเหลว
และจุดเดือดมีแนวโน้ มสู งขึน้ เมือ่ เลขอะตอมเพิม่ ขึน้ ” เนื่องจากมีพนั ธะโลหะที่แข็งแรงมากขึน้ ทั้งนี้
เพราะอะตอมมีขนาดเล็กลงและมีจานวนเวเลนต์ อเิ ล็กตรอนเพิม่ ขึน้
หมายเหตุ สาหรับธาตุหมู่ IVA และ VA จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโน้ มของการ
เปลีย่ นแปลงไม่ ชัดเจน เนื่องจากมีโครงสร้ างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างอะตอมทีแ่ ตกต่ างกัน
หมู่ IA
หมู่IVA
สูง
(โลหะ)
ต่า
จุดหลอมเหลวและจุดเดือด
ก.อโลหะในหม่ เู ดียวกัน คือ หมู่ VIA , VIIA, และ VIIIA “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมี
แนวโน้ มเพิม่ ขึน้ เมือ่ เลขอะตอมเพิม่ ขึน้ ” เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลคือแรงวันเดอร์ วาลส์
เพิม่ ขึน้ เพราะมวลโมเลกุลและขนาดโมเลกุลเพิม่ ขึน้
ข. อโลหะในคาบเดียวกัน คือ อโลหะ หมู่ VA, VIA , VIIA, และ VIIIA “จุดหลอมเหลวและ
จุดเดือดมีแนวโน้ มลดต่าลงเมือ่ เลขอะตอมเพิม่ ขึน้ ” เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลคือ แรง
วันเดอร์ วาลส์ มคี ่ าลดลง เพราะขนาดของโมเลกุลเล็กลง โดยเฉพาะก๊ าซเฉื่อยเป็ นก๊ าซประเภทโมเลกุล
เดีย่ ว และมีขนาดเล็ก มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ามาก
หมู่ VA
หมู่VIIIA
ต่า
(อโลหะ)
สูง
Oxidation Number
เลขออกซิเดชัน ( Oxidation Number ) เป็ นตัวเลขเพือ่ แสดงค่ าประจุไฟฟ้าหรือ
ประจุไฟฟ้าสมมติของไอออนหรืออะตอมของธาตุ ซึ่งส่ วนใหญ่ เป็ นเลขจานวนเต็ม
รวมทั้งศูนย์ และอาจมีเครื่องหมายเป็ นบวกหรือลบก็ได้
การกาหนดค่ าเลขออกซิเดชัน มีกฎดังนี้ คือ
1. อะตอมของธาตุต่าง ๆ ในสภาวะอิสระ ไม่ ว่าจะอยู่ในรู ปทีเ่ ป็ นอะตอม
เดียว หรือโมเลกุล จะมีเลขออกซิเดชันเท่ ากับศูนย์ เช่ น Na Be He O2 S8
2. ไอออนทีม่ อี ะตอมเดีย่ วเลขออกซิเดชันจะมีค่าเท่ ากับประจุของไอออนนั้น
เช่ น
Na+ มีเลขออกซิเดชัน เท่ ากับ +1
Be2+ มีเลขออกซิเดชัน เท่ ากับ +2
O2- มีเลขออกซิเดชัน เท่ ากับ -2
3. เลขออกซิเดชันของโลหะอัลคาไล ( หมู่ IA ) และโลหะอัลคาไลน์ เอิร์ท
(หมู่ IIA ) ในสารประกอบต่ าง ๆ มีค่าเท่ ากับ +1 และ +2 ตามลาดับ
Oxidation Number
4. เลขออกซิเดชันของออกซิเจนในสารประกอบส่ วนมาก มีค่าเท่ ากับ -2 ยกเว้ น
•สารประกอบเปอร์ ออกไซด์ เช่ น H2O2 และ Na2O2 ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน
-1
•สารประกอบซุ ปเปอร์ ออกไซด์ เช่ น KO2  ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน -1/2
•สารประกอบ OF2  ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน +2
5. เลขออกซิเดชันของไฮโดรเจนในสารประกอบส่ วนมากมีค่าเท่ ากับ +1 ยกเว้ นใน
สารประกอบพวกไฮไดรด์ ไอออนิก ซึ่งไฮโดรเจนมีค่าเลขออกซิเดชันเท่ ากับ -1 เช่ น
LiAlH4 และ NaBH4
6. ผลรวมทางพีชคณิตของเลขออกซิเดชันของอะตอมทั้งหมดในสู ตรเคมีใด ๆ จะมีค่า
เท่ ากับประจุสาหรับกลุ่มของอะตอมทีเ่ ขียนแสดงในสู ตรนั้น ๆ เช่ น ผลรวมของเลข
ออกซิเดชันของ KMnO4 เท่ ากับ 0 ผลรวมของเลขออกซิเดชันของ NO3- เท่ ากับ -1
Oxidation Number
ตัวอย่ างที่1 จงหาเลขออกซิเดชันของ S ใน H2SO4
สมมติเลขออกซิเดชันของ S = x
ตัวอย่ างที2่ จงหาเลขออกซิเดชันของ Co ใน
[Co(CN)6]4-
เลขออกซิเดชันของ H = +1
สมมติเลขออกซิเดชันของ Co = x
2 อะตอมของ H มีเลขออกซิเดชันรวม = (+1  2) = +2
เลขออกซิเดชันของ CN- = -1
เลขออกซิเดชันของ O = -2
ผลรวมเลขออกซิเดชันของ CN = (-1  6) = -6
4 อะตอมของ O มีเลขออกซิเดชันรวม = (-2 4) = -8
ผลรวมเลขออกซิเดชันธาตุท้งั หมดในไอออนเท่ ากับ
ประจุของไอออน
ผลรวมของเลขออกซิเดชันธาตุท้งั หมดในสารประกอบ
เท่ ากับ 0
ดังนั้น +2 + x + (-8) = 0
x = +6
เลขออกซิเดชันของ S ใน H2SO4 = +6
เท่ ากับ -4
ดังนั้น x + (-6) = -4
x = +2
เลขออกซิเดชันของ Co ใน [Co(CN)6]4- = +2
Oxidation Number
Oxidation Number
ตัวอย่ าง จงหาเลขออกซิเดชันธาตุทขี่ ีดเส้ นใต้ ต่อไปนี้
1) Na2S (-2)
6) CO32- (+4)
2) HClO4 (+7)
7) OF2 (+2)
3) NaBrO3 (+5)
8) H2O2 (-1)
4) NO3- (+5)
9) CH3OH (-2)
5) (NH4)2SO4 (+6)
10) S8 (0)
Find the oxidation number of sulphur in the following compoundsSO4 2- , S2O32- , H2S2O7 , S4O62-, SO32-
Find the oxidation number of the metal in the following complexesAlF63-, KClO2, KHSO4, CrF63-, AlCl3