การดูแลให้การพยาบาลเยาวชนตั้งครรภ์(2)

Download Report

Transcript การดูแลให้การพยาบาลเยาวชนตั้งครรภ์(2)

การดูแลให้การพยาบาลเยาวชนตัง้ ครรภ์
ที่มีภาวะเสี่ยงในการใช้สารเสพติด
• ตะลึง!!! คนไทยป่ วยโรคเอดส์ สะสมทะลุ 1.16 ล้ านราย
เสียชีวติ แล้ ว 6.4 แสนราย ติดเชือ้ ใหม่ ปีละกว่ า 1 หมื่น
ราย ชายรักชายนาโด่ ง อึง้ แม่ วัยรุ่ นอายุต่ากว่ า 20 ปี ติดเชือ้
สูงขึน้ ถึง 16% เมียติดจากผัว ผัวติดจากเมียก็เพิ่มขึน้ เพียบ
อัดโครงการถุงมีชัย 100% เลือนลาง หลังรัฐหั่นงบเกลีย้ ง
ด้ านเอ็นจีโอหนุนปฏิรูปองค์ กรดูแลเอดส์ ขนึ ้ ตรงสานัก
นายกรัฐมนตรี
นสพ.ผู้จัดการรายวัน
สถาบั น ธั ญ ญารั ก ษ์ กรมการแพทย์ กระทรวง
สาธารณสุ ข (สธ.) เปิ ดเผยข้ อ มู ล การสื บ สวนของ
ตารวจปราบปรามยาเสพติดว่ า จ.สิงห์ บุรี เป็ นจังหวัด
หนึ่งในพืน้ ที่ภาคกลางที่มีปัญหาการแพร่ ร ะบาดของ
ยาเสพติดอย่ างรุ นแรง โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียน
นสพ.OKnation
สถิตริ ะบุว่า 3 ปี ที่ผ่านมา เยาวชนอายุต่ากว่ า 17 ปี ติด
ยาเสพติด เพิ่ ม สู ง ขึ น้ มากหากเที ย บกั บ กลุ่ ม อายุ อ่ ื น โดยปี
2551 เยาวชนกลุ่มนีต้ ดิ ยาไม่ ถึง 1% ปี 2552 เพิ่มเป็ น
4% ในปี 2553 เพิ่มขึน้ เป็ น 7% และช่ วง 6 เดือนแรก
ของปี งบประมาณ 2554 ตัง้ แต่ เดือนตุลาคม 2553 ถึง
มีนาคม 2554 เพิ่มเป็ น 12%
นสพ.OKnation
• เดิมตัวเลขเยาวชนติดยาเสพติดประมาณ 1.2 แสนคน แต่ ในช่ วง 6
เดือนแรกปี งบประมาณ 2554 เพิ่มขึน้ จากปี 2553 ถึง 5% หรือ
ราว 6 พันคน
ยาเสพติดที่เยาวชนอายุต่ากว่ า 17 ปี ติด คือ ยาบ้ า ประมาณ 80%
ที่เหลือเป็ นยาไอซ์ และยาเสพติดประเภทอื่น โดยยาไอซ์ เป็ นยาเสพ
ติดที่วัยรุ่ นมีแนวโน้ มเสพมากขึน้
นสพ.OKnation
สถิติร.พ.จุฬา 2554
เยาวชนตั้งครรภ์ 405 ราย จากจานวนสตรีต้งั ครรภ์
4,000 ราย

เยาวชนตั้งครรภ์ ใช้ สารเสพติด 20-30ราย
ยาบ้ า ประมาณ 90% ทีเ่ หลือเป็ น
ยาไอซ์ และยาเสพติดประเภทอืน่
สถิต(ิ ต่ อ)
โดยมากเป็ นการตั้งครรภ์ ที่ไม่ ได้ มีการวางแผน
แก้ ปัญหาโดยการทาแท้ ง
มากกว่ า1/2 ตั้งใจทีจ่ ะเก็บบุตรไว้
มีประมาณ 2-3 % ยกบุตรให้ ตกึ วก.(สถานสงเคราะห์
เด็กกาพร้ าสภากาชาดไทย)
ทาไม???
ปัจจัยทางด้ านครอบครัว
หนีออกจากบ้ าน
สื่ อ สิ่ งพิมพ์ ที่ล่อแหลม
ไม่ มีความรู้เรื่องวิธีการคุมกาเนิด
อิทธิพลจากเพือ่ น
เศรษฐสถานะทางสั งคม
การถูกทารุ ณกรรมทางเพศ
ต้องการใครสักคนที่รักและเข้าใจ
ความเชื่อและค่านิยม
ผลกระทบต่ อการตั้งครรภ์ ของวัยรุ่นทีใ่ ช้ สารเสพติด
คลอดก่ อนกาหนด (STD’s, Drugs, Alcohol, บุหรี่ )
ทารกนา้ หนักน้ อยกว่ าเกณฑ์ ( < 2500 gm )
ภาวะโลหิตจาง( Iron deficiency)
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตัง้ ครรภ์ (PIH )
ผลกระทบต่ อการตั้งครรภ์ ของวัยรุ่นทีใ่ ช้ สารเสพติด(ต่ อ)
การติดเชือ้ เอชไอวี และโรคติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธ์ อ่ ืน ๆ
อัตราตายปริกาเนิด
มารดาทุพพลภาพและเสียชีวิต
การดูแลเยาวชนตั้งครรภ์ ทมี่ ภี าวะเสี่ ยง
ระยะก่ อนคลอด
แนะนาให้ มาANC
ตรวจคัดกรองอายุครรภ์, U/S
ตรวจหาโรคติดต่ อทางเพศสั มพันธ์
 การตรวจทางห้ องปฏิบัตกิ าร
CBC, ABO&Rh, Hemoglobin Typing,
Serology—Anti HIV, VDRL, HBsAg
การดูแลเยาวชนตั้งครรภ์ ทมี่ ภี าวะเสี่ ยง(ต่ อ)
การตรวจสารเสพติดในปัสสาวะ (urine Amp.)
การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมบางอย่ าง เช่ น การสู บบุหรี่
การใช้ ยาหรือสารเสพติด
ให้ คาแนะนาเกีย่ วกับภาวะโภชนาการที่เหมาะสม
การเฝ้ าระวังภาวะแทรกซ้ อนต่ าง ๆ
การวางแผนการคลอด
การดูแลเยาวชนตั้งครรภ์ ทมี่ ภี าวะเสี่ ยง(ต่ อ)
 แพทย์ ทดี่ ูแลจะนัดตรวจครรภ์ เป็ นระยะๆดังนี้
o ช่ วงทีอ่ ายุครรภ์ < 28 wksนัดตรวจทุกๆ 4 wk
o ช่ วงทีอ่ ายุครรภ์ 28 -36 wksนัดตรวจทุกๆ 2 wk
o ช่ วงทีอ่ ายุครรภ์ 36-42 wksนัดตรวจทุก 1 wk
การดูแลเยาวชนตั้งครรภ์ ทมี่ ภี าวะเสี่ ยง(ต่ อ)
ระหว่ างทีฝ่ ากครรภ์ จัดให้ ความรู้ และเตรียมความพร้ อมสาหรับ
การเป็ นแม่
1. สรีระวิทยาการตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์ เกิดขึน้ ได้ อย่ างไร การเปลีย่ นแปลง
ของร่ างกายและจิตใจในขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด
2. การปฏิบัติตัวในขณะตั้งครรภ์ และโภชนาการที่เหมาะสมสาหรับสตรี
ตั้งครรภ์
3. กลไกการเจ็บครรภ์ และการคลอดปกติ
4. ผลของการดื่มสุ รา สู บบุหรี่และการใช้ สารเสพติดระหว่ างตั้งครรภ์ และ
สุ ขภาพของทารก
การดูแลเยาวชนตั้งครรภ์ ทมี่ ภี าวะเสี่ ยง(ต่ อ)
5. การออกกาลังกายที่เหมาะสมกับสตรีต้ งั ครรภ์
6. ผลเสี ยของการตั้งครรภ์ ที่ไม่ พร้ อมและการป้ องกันการ
ตั้งครรภ์ ทถี่ ูกวิธี
7. การติดเชื้อทางเพศสั มพันธ์ และการป้ องกันการติดเชื้อ
ทางเพศสั มพันธ์ ทถี่ ูกวิธี
การดูแลเยาวชนตั้งครรภ์ ทมี่ ภี าวะเสี่ ยง(ต่ อ)
ระยะคลอด
การดูแลด้ านจิตใจ การเอาใจใส่ ให้ กาลังใจแก่ วยั รุ่น
จะทาให้ การดาเนินการคลอดเป็ นไปอย่ างราบรื่น
การให้ ความรู้ การสอนเบ่ ง
การดูแลเยาวชนตั้งครรภ์ ทมี่ ภี าวะเสี่ ยง(ต่ อ)
ระยะหลังคลอด
เฝ้ าระวังภาวะแทรกซ้ อนหลังคลอด เช่ น
PPH, wound infection, ภาวะทุโภชนาการ
- ปวดมดลูก ปวดแผลผ่ าตัด ปวดแผลฝี เย็บ
- ปวดตึงคัดเต้ านม
- ท้ องผูก
- ความวิตกกังลต่ อรู ปลักษณ์ ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป
การดูแลเยาวชนตั้งครรภ์ ทมี่ ภี าวะเสี่ ยง(ต่ อ)
ระยะหลังคลอด
Breast feeding
Vaccines
 Mental Support
ระบบการส่ งต่ อทีเ่ หมาะสม
 Birth Control
แบบไหนดีกว่ า???
Q&A
Thank You