โดย ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ กาญจนกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุมวิชาการแห่งชาติ สมาคมสุ ขศึกษา พลศึกษา และ สันทนาการแห่งประเทศไทย (สพสท.) ณ โรงแรมเจริ ญธานี ขอนแก่น 27 ก.พ.

Download Report

Transcript โดย ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ กาญจนกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุมวิชาการแห่งชาติ สมาคมสุ ขศึกษา พลศึกษา และ สันทนาการแห่งประเทศไทย (สพสท.) ณ โรงแรมเจริ ญธานี ขอนแก่น 27 ก.พ.

โดย ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ กาญจนกิจ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประชุมวิชาการแห่งชาติ สมาคมสุ ขศึกษา พลศึกษา และ สันทนาการแห่งประเทศไทย
(สพสท.) ณ โรงแรมเจริ ญธานี ขอนแก่น 27 ก.พ. 2555
1
การสร้ างและพัฒนานวัตกรรม
นวัตกรรมเป็ นคาทีค่ ่ อนข้ างจะใหม่ ในวงการศึกษาของไทย
ซึ่งแต่ เดิมใช้ คาว่ า นวกรรม เป็ นคาที่มาจากภาษาอั งกฤษว่ า
Innovation , Innovate = to renew
2
Inovate แปลตามรู ปศัพท์ได้วา่ “ทาใหม่, เปลี่ยนแปลงโดยนาสิ่ งใหม่ๆ
เข้ามา” คาว่า Innovation อาจจะแปลว่า “การทาสิ่ งใหม่ๆ, สิ่ งใหม่ที่ทาขึ้นมา”
คาบาลี สันสกฤตแทน นว (=ใหม่) + กรรม (= การทา, สิ่ งที่ทา) รวมความแล้ว
แปลได้วา่ “การทาใหม่, สิ่ งที่ทาใหม่”
3
“นวัตกรรม” หมายถึง “การนาสิ่ งใหม่เข้ามาเปลี่ยนแปลง
เพิ่มเติมวิธีการที่ทาอยูเ่ ดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียงิ่ ขึ้น” มุ่งที่จะให้งาน
นั้น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น “นวัต กรรมการศึ ก ษา” (Educational
Innovation) สาหรับผูท้ ี่กระทาหรื อนาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ มา
ใช้น้ ีเรี ยกว่าเป็ น “นวัตกร” (Innovator)
4
ไชยยศ เรื องสุ วรรณ (2531: 14) ได้ให้ความหมาย นวกรรม ไว้วา่ หมายถึง
วิธีการปฏิบตั ิใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการ
ใหม่ๆ ขึ้นมาหรื อมีการปรับปรุ งของเก่าให้เหมาะสมและสิ่ งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับ
การทดลอง พัฒนามาจนเป็ นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบตั ิทาให้ระบบ
ก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิ ทธิภาพขึ้น
จรู ญ วงศ์สายัณห์ (อ้างถึงใน บุญเกื้อ ควรหาเวช, 2542: 13) ได้กล่าวถึง
ความหมายของนวัตกรรม ไว้วา่ แม้ในภาษาอังกฤษเอง ความหมายก็ต่างกันเป็ น 2
ระดับ โดยทัว่ ไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใดๆ จะเป็ นผลสาเร็ จหรื อไม่
มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็ นไปเพื่อจะนาสิ่ งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทา
อยู่เดิ มแล้วกับอี กระดับหนึ่ ง ซึ่ งวงการวิทยาศาสตร์ แห่ งพฤติ กรรมได้พยายาม
ศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มีอยูต่ ่อกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง คาว่า
นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่ งที่ได้นาความเปลี่ยนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ผลสาเร็ จ
และแผ่กว้างออกไป จนกลายเป็ นการปฏิบตั ิอย่างธรรมดาสามัญ
5
การพิจารณาขบวนการของนวัตกรรม
อาจจะแบ่งออกได้เป็ น 3 ระยะ คือ (บุญเกื้อ ควรหาเวช, 2542: 14)
- ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) ขึ้นมาใหม่หรื อจะเป็ นการ
ปรุ งแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัย
- ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลอง
จัดทาอยูใ่ นลักษณะของโครงการทดลองปฏิบตั ิก่อน (Pilot Project)
- ระยะที่ 3 การนาไปปฏิบตั ิในสถานการณ์ทวั่ ไป ซึ่งจัดว่าเป็ นนวัตกรรม
ขั้นสมบูรณ์
6
สรุ ปความหมายของคาว่า นวัตกรรมการศึกษา ได้ว่า เป็ นการ
นาเอาสิ่ งใหม่ ๆ ซึ่ ง อาจจะอยู่ในรู ป ของความคิ ดหรื อ การกระท ารวมทั้ง
สิ่ งประดิษฐ์กต็ ามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลง
สิ่ งที่มีอยูเ่ ดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น
7
แนวคิดเกี่ยวกับลักษณะของนวัตกรรมการศึกษาเอาไว้ 5 ลักษณะด้วยกัน คือ
1. ความคิดหรื อการกระทาใหม่น้ นั
2. ความคิดหรื อการกระทาใหม่น้ นั
8
3. ความคิดหรื อการกระทาใหม่น้ นั เพราะมีสิ่งใหม่ๆ เข้ามาพร้อมๆ
4. ความคิดหรื อการกระทานั้นใหม่ เพราะครั้งหนึ่งเคยถูกทัศนคติของ
ผูใ้ หญ่หรื อผูบ้ ริ หารบดบัง
5. ความคิด หรื อการกระทาใหม่จริ ง ๆ ยังไม่เคยมีคนคิดและ
9
1. จะต้องเป็ นสิ่ งใหม่ท้ งั หมดหรื อบางส่ วน
2. มีการนาวิธีการจัดระบบ (System Approach) มาใช้พิจารณา
3. มีการพิสูจน์ดว้ ยการวิจยั หรื ออยูใ่ นระหว่างการวิจยั ว่าจะช่วยให้
ดาเนินงานบางอย่างมีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น
4. ยังไม่เป็ นส่ วนหนึ่งในระบบงานปั จจุบนั หากกลายเป็ นส่ วนหนึ่งของ
ระบบงานที่ดาเนินอยูใ่ นขณะนี้แล้ว ไม่ถือว่าเป็ นนวัตกรรม
10
บารอน (Barron, 1969 อ้างถึงใน คารณ ศรี นอ้ ย, 2548: 38) เชื่อว่า
นวัตกรรมที่เกิดเป็ นผลจากลักษณะพิเศษของความคิดสร้างสรรค์ในตัวคนที่
เกิดขึ้น ได้ดงั ต่อไปนี้
1. รู้จกั ใช้แนวคิดสร้างสิ่ งต่างๆ
2. สามารถสร้างความคิดออกมาได้เป็ นจานวนมากและรวดเร็ ว
3. สามารถสร้างความคิดแบบธรรมดาและแบบซับซ้อนได้
4. สามารถวิเคราะห์แหล่งที่มาจากเนื้อหาเพื่อใช้ประเมินข้อมูลได้
5. สามารถสร้างความคิดให้มีความโดดเด่นและแตกต่างจากผูอ้ ื่นได้
6. มีความเป็ นกลางทางความคิด (แนวคิดอิสระ)
7. มีความอดทนต่อการคิดวิเคราะห์และ
การค้นหาแนวคิด
8. เคารพในเหตุผลและการตัดสิ นใจ
11
การประเมินผลสื่อและ
นวัตกรรมการเรียนการสอน
การประเมิน : EVALUATION
การตัดสินคุณค่าของปัจจัยนาเข้า และหรือ
กระบวนการ และหรือผลผลิตที่เกี่ยวข้องกับ
เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
EVALUATION
=
MEASUREMENT
+
JUDGEMENT
การประเมิน : EVALUATION
FORMATIVE EVALUATION
SUMMATIVE EVALUATION
การประเมินคุณภาพสื่อ
ผลการเรียนรู/้ ผลการวิจยั ที่
เชื่อถือได้
การประเมินคุณภาพสื่อ
เครือ่ งมือที่ใช้ในการประเมิน
สื่อ/นวัตกรรม
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
การประเมินคุณภาพสื่อ
การหาความตรงเชิงเนื้ อหา
โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ
โดยผูท้ รงคุณวุฒิ
โดยผูม้ ีประสบการณ์
การประเมินคุณภาพสื่อ
ขัน้ ตอนการหาคุณภาพ
ให้ผเู้ ชี่ยวชาญประเมิน
ให้ค่าน้าหนักคะแนน
บันทึกค่าน้าหนักคะแนน
และวิเคราะห์ค่า IOC
การประเมินคุณภาพสื่อ
ให้ผเู้ ชี่ยวชาญประเมิน
รายการ
ความคิดเห็น
เหมาะสม (+1) ไม่แน่ ใจ (0) ไม่เหมาะสม (-1)
ข้อเสนอแนะ
การประเมินคุณภาพสื่อ
ให้ผเู้ ชี่ยวชาญประเมิน
การวิเคราะห์หาค่า IOC
∑R
IOC = N
IOC หมายถึง ค่าดัชนี ความสอดคล้อง
R หมายถึง ค่าน้าหนักคะแนนของผูเ้ ชี่ยวชาญ
∑ R หมายถึง ผลรวมคะแนนของผูเ้ ชี่ยวชาญทุกคน
N หมายถึง จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญทัง้ หมด
การประเมินคุณภาพสื่อ
ให้ผเู้ ชี่ยวชาญประเมิน
รายการ
รวม
ค่า IOC ตัง้ แต่ 0.5 ขึน้ ไป
ถือว่า ใช้ได้
ผูเ้ ชี่ยวชาญ คนที่
1 2 3 4 5 ค่า IOC
แปลผล
+1
+1
-1
+1
+1
1.0
0.8
0.6
0.4
1.0
ใช้ได้
ใช้ได้
ใช้ได้
ปรับปรุง
ใช้ได้
0.76
ใช้ได้
+1
0
+1
+1
+1
+1
+1
+1
+1
+1
+1
+1
+1
0
+1
+1
+1
+1
-1
+1
การประเมินผลสื่อและนวัตกรรมการเรียนการสอน
การประเมินคุณภาพสื่อ
การหาประสิทธิภาพ E1/E2
E1 หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการ
E2 หมายถึง ประสิทธิภาพของผลลัพธ์
การประเมินคุณภาพสื่อ
เกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2
80/80 หรือ 90/90
สาหรับเนื้ อหา ความรู้ ความจา
75/75 หรือ 70/70
สาหรับเนื้ อหา ทักษะ เจตคติ
การประเมินคุณภาพสื่อ เกณฑ์ประสิทธิภาพ 2 นัย
นัยที่ 1
∑X
E1 = A X 100
่ นเกณฑ์ที่กาหนด
E1 หมายถึง ร้อยละของน.ร.ที่ ผา
ระหว่างกระบวนการ
∑X
หมายถึง จานวนน.ร.ที่ผา่ นเกณฑ์เฉลี่ยทุกกิจกรรม
A หมายถึง จานวนน.ร.ทัง้ หมด
การประเมินคุณภาพสื่อ เกณฑ์ประสิทธิภาพ 2 นัย
นัยที่ 1
∑Y
E2 = B X 100
่ นเกณฑ์ที่กาหนด
E2 หมายถึง ร้อยละของน.ร.ที่ ผา
หลังกระบวนการ
∑Y
หมายถึง จานวนน.ร.ที่ผา่ นเกณฑ์หลังเรียน
B หมายถึง จานวนน.ร.ทัง้ หมด
การประเมินคุณภาพสื่อ เกณฑ์ประสิทธิภาพ 2 นัย
นัยที่ 2
∑X
N
E1 = A X 100
E1 หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละของน.ร.ทุกคน
ระหว่างกระบวนการ
∑ X หมายถึง ผลรวมคะแนนน.ร.ทุกคนระหว่างกิจกรรม
N หมายถึง จานวนน.ร.ทัง้ หมด
A หมายถึง ผลรวมคะแนนเต็มทุกกิจกรรม
การประเมินคุณภาพสื่อ เกณฑ์ประสิทธิภาพ 2 นัย
นัยที่ 2
∑Y
N
E2 = B X 100
E2 หมายถึง คะแนนเฉลี่ยร้อยละของน.ร.ทุกคน
หลังกระบวนการ
∑ Y หมายถึง ผลรวมคะแนน น.ร.ทุกคนหลังเรียน
N หมายถึง จานวนน.ร.ทัง้ หมด
B หมายถึง คะแนนเต็มหลังเรียน
การประเมินคุณภาพสื่อ การทดสอบประสิทธิภาพ
ขัน้ ที่ 1 แบบ 1:1
ทดลองกับ น.ร. 3 คน เก่ง ปานกลาง อ่อน อย่าง
ละ 1 คน แล้วหา E1/E2
แล้วหา E1/E2
ปรับปรุง
การประเมินคุณภาพสื่อ การทดสอบประสิทธิภาพ
ขัน้ ที่ 2 แบบ กลุ่มเล็ก
ทดลองกับ น.ร. 6-9-12-15 คน
เก่ง ปานกลาง อ่อน อย่างละ 2-3-4-5 คน
แล้วหา E1/E2
ปรับปรุง
การประเมินคุณภาพสื่อ การทดสอบประสิทธิภาพ
ขัน้ ที่ 3 แบบ ภาคสนาม
ทดลองกับ น.ร. 30 คน หรือ ทัง้ ห้อง
แล้วหา E1/E2
ปรับปรุง
การประเมินคุณภาพสื่อ การทดสอบประสิทธิภาพ
จานวนที่ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ70
น.ร.
1
10
7
7
8
7
7
1
2
3
4
5
รวม
ผ่าน(คน) 5
คะแนนร้อยละ 70
คะแนนทดสอบ/กิจกรรมระหว่างเรียน
รวม
2 3 4 5
10 10 10 10
E1
50
7 8 5 7
34
35
7 7 7 7
7 7 7 7
36
36
9 6 7 7
36
7 8 7 7
177
70.8
5 4 4 5
4
80
คะแนนทดสอบ
หลังเรียน
50
E2
39
37
38
40
42
196
78.4
5
100
การประเมินคุณภาพสื่อ การทดสอบประสิทธิภาพ
วิเคราะห์ นัยที่ 1
จานวนที่ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ70
∑X
4
= 5 X 100
= 80
∑Y
5
= 5 X 100
= 100
E1 = A X 100
400
= 5
E2 = B X 100
500
= 5
ดังนัน้ สื่อมีประสิทธิภาพ 80/100
การประเมินคุณภาพสื่อ การทดสอบประสิทธิภาพ
วิเคราะห์ นัยที่ 2
คะแนนร้อยละ 70
∑X
N
E1 = A X100
∑Y
N
E2 = B X100
177
5
= 50 X100
= 70.8
196
5
= 50 X100
= 78.4
ดังนัน้ สื่อมีประสิทธิภาพ 70.8/78.4
การประเมินการเรียนรู้ การทดสอบประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ สิ่งที่จะประเมิน
ผลสัมฤทธ์ ิ
ผลสัมฤทธ์ ิ
ทางการเรียน ทางการ
วิชา/เรื่อง.......
เรียน/
ผลการเรียนรู้
วิชา/เรื่อง....... ผลการ
เรียนรู้ของ
ผูเ้ รียน
เกณฑ์การประเมิน แหล่งข้อมูล
จานวนผูเ้ รียนที่มี ผูเ้ รียน
ความรู.้ ..ตา่ ลดลง ............
คะแนนทดสอบ
แต่ละครัง้ สูงขึน้
คะแนนทดสอบ
หลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน
วัตถุประสงค์ สิ่งที่จะประเมิน เกณฑ์การประเมิน แหล่งข้อมูล
ผลสัมฤทธ์ ิ
ผล............... จานวนผูเ้ รียนที่มี ผูเ้ รียนชัน้
ทางการเรียน ของผูเ้ รียน ความรู.้ ..ตา่ ลดลง ............
วิชา/เรื่อง.......
ผลการเรียนรู้
วิชา/เรื่อง.......
สามารถ.........
จา............
เข้าใจ..............
นาไปใช้......
วิเคราะห์.........
สังเคราะห์........
ประเมินค่า........
คะแนนทดสอบ
แต่ละครัง้ สูงขึน้
คะแนนทดสอบ
หลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน
วัตถุประสงค์ สิ่งที่จะประเมิน
ทักษะการคิด ทักษะการ
รวบรวมข้อมูล ...................
จัดกระทา
ของผู
เ
้
รี
ย
น
ข้อมูล
ประยุกต์ใช้
ความรู้
บริหารกากับ
ตนเอง
เกณฑ์การประเมิน แหล่งข้อมูล
จานวนผูเ้ รียนที่มี ผูเ้ รียนชัน้
ทักษะ...ตา่ ลดลง ............
คะแนนทดสอบ
แต่ละครัง้ สูงขึน้
คะแนนทดสอบ
หลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน
วัตถุประสงค์ สิ่งที่จะประเมิน
สามารถ................
ทักษะการ
เลียนแบบ........
เปลี่ยนแปลง......... ...................
สร้าง......
ของผู
เ
้
รี
ย
น
ประดิษฐ์...........
เล่น..................รา
........
เกณฑ์การประเมิน แหล่งข้อมูล
จานวนผูเ้ รียนที่มี ผูเ้ รียนชัน้
ทักษะ...ตา่ ลดลง ............
คะแนนทดสอบ
แต่ละครัง้ สูงขึน้
คะแนนทดสอบ
หลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน
วัตถุประสงค์ สิ่งที่จะประเมิน เกณฑ์การประเมิน แหล่งข้อมูล
ความรับผิดชอบ
จานวนผูเ้ รียนที่มี ผูเ้ รียนชัน้
เจตคติ
ระเบียบวินัย
.............ตา่ ลดลง ............
คุณธรรม
ขยันหมันเพี
่ ยร
ฯลฯ
ตระหนัก
เห็นคุณค่า
ความคิดเห็น
ความพึงพอใจ
จริยธรรม
ค่านิยม
ความคิดเห็น
ความพึงพอใจ
คะแนนทดสอบ
แต่ละครัง้ สูงขึน้
คะแนนทดสอบ
หลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน
วิธีการ
ทดสอบ
สังเกต
สอบถาม
สัมภาษณ์
เครื่องมือ
สถิติท่ีใช้
แบบทดสอบ ความถี่ ร้อยละX
tแบบสังเกต , SD
แบบสอบถาม test
แบบสัมภาษณ์
แบบบันทึก
การนาเสนอ
ตาราง/
แผนสถิติ/
แผนภูมิ
ประกอบ
การ
บรรยาย
แบบแผนการประเมินนวัตกรรม
สถิติ
นักเรียน 1 กลุ่ม
ค่าเฉลี่ยคะแนน
ความก้าวหน้ า หลังก่อน
1 ก่อนเรียน เรียนรู้ หลังเรียน
1
-
เรียนรู้ หลังเรียน
t-test
dependent
ความถี่ ร้อยละ
X , SD
แบบแผนการประเมินนวัตกรรม
นักเรียน 2 กลุ่ม
1
2
-
-
สถิติ
เรียนรู้ หลังเรียน
t-test
independent
เรียนรู้ หลังเรียน
ความถี่ ร้อยละ
X, SD
แบบแผนการประเมินนวัตกรรม
นักเรียน 2 กลุ่ม
ค่าเฉลี่ยคะแนนความก้าวหน้ า (หลัง-ก่อน)
ค่าเฉลี่ยคะแนน
ความก้าวหน้ า
ระหว่างกลุ่ม 1
และกลุ่ม 2
ค่าเฉลี่ยคะแนนความก้าวหน้ า (หลัง-ก่อน)
t-test
independent
1 ก่อนเรียน เรียนรู้ หลังเรียน
2
สถิติ
ก่อนเรียน เรียนรู้ หลังเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลและนาเสนอผล
เพือ่ แสดงผลการใช้นวัตกรรม
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. วิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์/ผลการเรียนรู้
ความถี่ ร้อยละ X , SD
ค่าเฉลี่ยคะแนนความก้าวหน้ า หลัง-ก่อน
ค่าเฉลี่ยคะแนนความก้าวหน้ าระหว่างกลุ่ม 1 และกลุ่ม 2
t-test dependent
t-test independent
การวิเคราะห์ข้อมูล
2. วิเคราะห์คณ
ุ ลักษณะอื่ นๆ
ความพึงพอใจ / ความคิดเห็น /
พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์
ความถี่ ร้อยละ X , SD
วิเคราะห์เนื้ อหา
การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
1. การนาเสนอผลเชิงปริมาณ
ตาราง
แผนสถิติ
แผนภูมิ
แผนภาพประกอบการบรรยาย
2. การนาเสนอเชิงคุณภาพ
การบรรยาย /ตาราง /แผนสถิติ
รูปภาพ / ภาพเคลื่อนไหว /
การสรุปผลการใช้นวัตกรรม
1. เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียน
2. เปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือเป้าหมายที่กาหนดไว้
เครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยั
1. นวัตกรรม (innovation)
- สื่ อสิ่ งประดิษฐ์ (invention)
- เทคนิค วิธีการ (instruction)
2. เครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
- แบบสอบถาม
- แบบทดสอบ
การวิเคราะห์ปัญหา/
ความต้องการจาเป็ น
การศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
กับการสร้างนวัตกรรม
การสร้างและพัฒนา
นวัตกรรม
การออกแบบการทดลอง
นวัตกรรม
การพัฒนาเครื่ องมือวัด
การทดลอง/วิเคราะห์/สรุ ปผล
แผนภาพ การสร้างและพัฒนานวัตกรรม
การหาคุณภาพนว ัตกรรม
การตรวจสอบ
สปส.ความแปรผัน
c.v.
โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ
การหาคุณภาพ
นวัตกรรม
การหาประสิ ทธิภาพ
E1/ E2
การหาดัชนี
ประสิ ทธิผล
(E.I.)
ี่ วชาญ
การหาคุณภาพนว ัตกรรมโดยผูเ้ ชย
การตรวจสอบ
โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ
ด้านจุดประสงค์นวัตกรรม
ด้านคาแนะนาการใช้
ด้านเนื้อหาสาระ
ด้านกิจกรรมการเรี ยนรู ้
ด้านการประเมินผล
อื่น ๆ
แบบประเมินมาตรประมาณค่า
(Rating Scale)
Q&A
Thank You
난 당신과 얘기하고 싶어
(Kamsahamnida)
ขอบคุณครับ (Kob Khun Krab)