นวัตกรรมทางด้านการเรียนการสอน EDUCATIONAL (INNOVATION)

Download Report

Transcript นวัตกรรมทางด้านการเรียนการสอน EDUCATIONAL (INNOVATION)

นวัตกรรมทางด้านการเรียนการสอน
EDUCATIONAL INNOVATION
ดร. เดชกุล มัทวานุกลู
รองคณบดีบณ
ั ฑิตวิทยาลัยฝ่ายพัฒนา
บัณฑิตและวิเทศสั มพันธ ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรน
ิ ทร ์
ความหมาย
สื่อการสอนที่ได้รบั การพัฒนาอย่ างเป็ น
ระบบโดยผ่านการผลิตการทดลองใช้ ปรับปรุง
จนมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แล้ว จึ ง น าไปใช้จ ริ ง อย่ า ง
ได้ผล
สุนนั ทา สุนทรประเสริฐ. 2547 : 9)
ความหมาย (ต่อ)
สิ่งใหม่ๆ ที่สร้างขึ้ นมา เพือ่ ช่ ว ยแก้ปัญหา
เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนหรือพัฒนาผู ้เรียน
ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู ้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ได้แ ก่
แนวคิ ด รู ป แบบ วิ ธี ก าร กระบวนการสื่อ ต่ า งๆ ที่
เกีย่ วกับการศึกษา
(สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ .2551:8)
ความหมาย (ต่อ)
การน าสิ่ ง ใหม่ ๆ ซึ่ ง อาจอยู่ ใ นรู ป ของความคิ ด
หรื อ การกระท ารวมทั้ง สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์เ ข้า มาในระบบ
การศึกษา เพือ่ มุ่งหวังที่จะเปลีย่ นแปลงสิ่ งที่มีอยู่เดิม
ให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้ น
(บุญเกือ้ ควรหาเวช : 2543)
คุณลักษณะของนวัตกรรมทางการเรียนการสอน
1. เป็ นสิง่ ใหม่เกีย่ วกับการเรียนการสอนทั้งหมด เช่น วิธีการสอนใหม่
สือ่ การสอนใหม่
2. เป็ นสิง่ ใหม่เพียงบางส่วน เช่น ชุดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ แต่ยงั คงมี
รูปแบบเดิมเป็ นหลักอยู่
3. เป็ นสิง่ ใหม่ที่ยงั อยู่ในบูรณาการทดลองว่าจะมีประสิทธิภาพในการนาไปใช้
อย่างไร
4. เป็ นสิง่ ใหม่ที่ได้รบั การยอมรับและนาไปใช้บา้ งแล้วแต่ยงั ไม่แพร่หลาย
5. เป็ นสิง่ ที่เคยปฏิบตั ิมาแล้ว แต่ไม่ค่อยได้ผล เนือ่ งจากขาดปั จจัยสนับสนุ น
ต่อมาได้ปรับปรุงใหม่และทดลองใช้และเผยแพร่
ครู ดดั แปลงหรื อ
ปรับปรุ งวิธีการใช้
จากสื่ อเดิม
ครู สร้างขึ้นมา
ด้วยตนเอง
แหล่งทีม่ าของ
นวัตกรรมทาง
การเรียนการสอน
ครู นาวิธีการหรือสื่ อ
ทีม่ ีมาตรฐานแล้ว
มาใช้
ครู นาวิธีการหรื อสื่ อ
จากที่อื่นมาดัดแปลง
ให้เหมาะกับผูเ้ รี ยน
ประเภทของนวัตกรรมทางการเรียนการสอน
นวัตกรรมประเภทสิ่ งประดิษฐ์
- ชุดการเรี ยน / ชุดการสอน
- หนังสื อเรี ยน แบบเรี ยน
- แบบฝึ กทักษะ / ชุดการฝึ ก
- ชุดฝึ กทักษะการเรี ยนรู้
- แบบเรี ยนสาเร็ จรู ป แบบสื่ อผสม
- บทเรี ยนโปรแกรม
- เกม / การ์ตูน / นิทาน
- เอกสารประกอบการเรี ยนรู้
นวัตกรรมประเภทรู ปแบบ/
เทคนิค /วิธีสอน
- การจัดการเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
- การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด
- CIPPA MODEL
- 4 MAT
- การสอนตามแนวพุทธวิธี
- การสอนแบบบูรณาการ
- การสอนโครงงาน
- การสอนโดยตั้งคาถาม
(พิชิต ฤทธิ์จรู ญ.2550)
การพัฒนานวัตกรรมด้ านการเรียนการสอน
ระบุปัญหา (Problem)
กาหนดจุดหมาย (Objective)
ศึกษาข้อจากัด (Constraints)
คิดค้นนวัตกรรม (Innovation)
ทดลองใช้ (Experimentation)
เผยแพร่ (Dissemination)
ทิศนา แขมมณี. 2548 : 423
ประโยชน์ ของนวัตกรรมทางด้ านการเรียนการสอน
•
•
•
•
•
•
ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ได้เร็ วขึ้น
ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจ บทเรี ยนเป็ นรู ปธรรม
ช่วยให้บรรยากาศการเรี ยนรู ้สนุกสนาน
ช่วยให้บทเรี ยนน่าสนใจ
ช่วยลดเวลาในการสอน
ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
กระบวนการสร้ างนวัตกรรมทางด้ านการเรียนการสอน
กาหนดจุดประสงค์ การเรียนรู้
กาหนดกรอบแนวคิด
สร้ างต้ นแบบนวัตกรรม
หาประสิ ทธิภาพของนวัตกรรม
ทดลองใช้ นวัตกรรม
เผยแพร่ นวัตกรรม
การหาประสิ ทธิภาพของนวัตกรรม
ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบโดยการนาไปทดลองใช้
ทดลองแบบ 1: 1
ทดลองกลุ่มเล็ก (5-10 คน)
ทดลองกลุ่มใหญ่ 20 คนขึน้ ไป
ชุดฝึ กทักษะ
สิ่ งที่สร้ างขึ้นเพื่อให้ นักเรี ยนได้ ทากิจกรรมที่
เป็ นการทบทวนหรื อเสริ มเพิ่มเติมความรู้ ให้ แก่ นักเรี ยน
หรื อให้ นักเรี ยนได้ ฝึกทักษะการเรี ยนรู้ หลายๆ รู ปแบบ
เพื่อสร้ างเสริ มประสบการณ์ การเรี ยนรู้ ให้ แก่ ผ้ ูเรี ยนได้ มี
คุณลักษณะตามทีต่ ้ องการ
หลักการสร้ างชุดฝึ กทักษะ
1. จัดเนือ้ หาสาระในการฝึ กตรงตามจุดประสงค์ การเรียนรู้
2. เนือ้ หาสาระและกิจกรรม การฝึ กเหมาะสมกับวัยและความสามารถ
ของผู้เรียน
3. รูปแบบของการฝึ กทักษะมีความสั มพันธ์ กบั โครงเรื่องและเนือ้ หาสาระ
4. มีคาชี้แจงสั้ นๆ ง่ ายๆ เพือ่ ให้ ผู้เรียนอ่านเข้ าใจ เรียนจากง่ ายไปยาก
น่ าสนใจและท้ าทายให้ ผู้เรียนแสดงความสามารถ
5. กาหนดเวลาทีใ่ ช้ ชุ ดฝึ กทักษะแต่ ละตอนให้ เหมาะสม
ประโยชน์ ของชุดฝึ กทักษะ
1. ช่ วยให้ ผู้เรียนเรียนรู้ได้ ด้วยตนเองตามความสามารถและลักษณะการเรียนรู้
2. ช่ วยเสริมให้ ผู้เรียนเกิดทักษะที่คงทน การฝึ กซ้าหลายครั้งเพือ่ ความแม่ นยา
ในเรื่องที่ต้องการฝึ ก
3. เป็ นเครื่องมือวัดผล หลังจากที่ผู้เรียนเรียนจากบทเรียนในแต่ ละครั้ง
4. เป็ นสื่ อช่ วยเสริมบทเรียนตามคาสอนของครู
5. สามารถนาไปใช้ ได้ ไม่ จากัดเวลาและสถานที่
6. ลดภาระครูผู้สอน ฝึ กความรับผิดชอบของผู้เรียนและสร้ างเจตคติทดี่ ีต่อ
การเรียนรู้
เกมประกอบการสอน
กิ จ กรรมที่ ส ร้ างความสนใจ และความ
สนุ กสนานให้ แก่ ผู้เรี ยน มีกฎเกณฑ์ กติกา ส่ งเสริ มให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เข้ าใจและจดจาบทเรียนได้ ง่ายและ
พั ฒ นาทั ก ษะต่ า งๆ รวดเร็ ว อี ก ทั้ ง ส่ งเสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย น
ได้ รู้ จักทางานร่ วมกัน มีกระบวนการในการทางานและ
อยู่ร่วมกัน
หลักการเลือกเกมในการสอน
1. เลือกเกมทีเ่ หมาะกับสภาพชั้นเรียน จานวนผู้เรียน อายุ เวลา
เนือ้ หาสาระ จุดประสงค์ การเรียนรู้
2. คานึงถึงความสนใจ ความพอใจ และความสามารถของผู้เรียน
3. คานึงถึงความมุ่งหมายของการเล่ นเกมในแต่ ละชนิด
4. เปิ ดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ มีส่วนร่ วมในการเลือกเกม
5. เปิ ดโอกาสให้ ผู้เรียนทุกคน ได้ เล่ นอย่ างเสมอภาค
ประโยชน์ ของเกม
1. เร้ าความสนใจ จูงใจ ผู้เรียนให้ อยากเรียนรู้ เป็ นการสร้ างบรรยากาศการเรียนรู้
2. ช่ วยให้ ผู้เรียนได้ ฝึกทักษะการคิด การใช้ ภาษาด้ านการฟัง พูด อ่านและเขียน
3. ส่ งเสริมให้ ผู้เรียนใช้ ความสามารถในด้ านต่ างๆ ได้ เต็มที่
4. ส่ งเสริมให้ ผู้เรียนรู้ จักการทางานร่ วมกัน
5. ช่ วยลดเวลาในการเรียนรู้ เนือ้ หาเพราะกิจกรรมเกมช่ วยสร้ างความกระจ่างชัด
6. ก่ อให้ เกิดสั มพันธภาพ ระหว่ างผู้สอนและผู้เรียน และระหว่ างผู้เรียนด้ วยกัน
7. ฝึ กให้ ผู้เรียนมีวนิ ัยในตนเอง เคารพกติกาการเล่ น
หนังสื ออ่านเพิม่ เติม
หนั ง สื อ ที่ จั ด ท าขึ้น เพื่ อ ส าหรั บ การอ่ า น ศึ ก ษา ค้ น คว้ า
ประกอบการเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ต่างๆ ซึ่ งมีเนื้อหาสาระการ
เรี ยนรู้ เพิ่มเติม นอกเหนือจากหลักสู ตรหรื อมีเนื้อหาสาระที่สอดคล้ อง
กับหลักสู ตร เพือ่ ให้ ผู้เรียนได้ ศึกษาความรู้ให้ กระจ่ างชัดเจนมากขึน้ การ
เรี ย บเรี ย งหนั งสื อ อ่ า นเพิ่ม เติ ม จะมี ส านวน เนื้ อ หา ภาพประกอบที่
เหมาะสมกับวัยของเด็กหรือเยาวชนในแต่ ละช่ วงชั้นการศึกษา
(สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ . 2551 : 135)
ประเภทของหนังสื ออ่านเพิม่ เติม
หนังสื อเรียน
 หนังสื อที่กระทรวงศึ กษาธิการกาหนดให้ ใช้ สาหรั บการเรียน
มีสาระตรงตามที่ระบุไว้ ในหลักสู ตรอย่ างถูกต้ อง
หนังสื อเสริมประสบการณ์
 หนังสื ออ่ านนอกเวลา
 หนังสื ออ่ านเพิม่ เติม
 หนังสื ออุเทศ
 หนังสื อส่ งเสริมการอ่ าน
 แบบฝึ กหัด
บันลือ พฤกษะวัน (2536 : 56-65) จาแนกหนังสื อส่ งเสริมการอ่ านเป็ น 3 ประเภท
 หนังสื อเสริมทักษะการอ่ าน
- เพิ่มทักษะในการใช้ ถ้อยคา ภาษา ส่ งเสริ มความพร้ อมในการอ่ าน
เช่ น หนังสื อพจนานุกรมภาพ พจนานุกรมเสี ยง สมุดภาพ แบบฝึ กหัด
แบบฝึ กทักษะ
 หนังสื อเสริมประสบการณ์
- อ่ านเพิม่ เติม เพิม่ ประสบการณ์ เจาะลึกในเนือ้ หาสาระ
ความรู้เฉพาะวิชา
 หนังสื อเสริมความสนใจและความเพลิดเพลิน
- นวนิยาย นิทาน เรื่องสั้ นสาหรับเด็ก
ประโยชน์ ของหนังสื ออ่านเพิม่ เติม
1
ส่ งเสริมให้ ผ้ เู รียนได้ ศึกษาหาความรู้ เพิม่ เติม เข้ าใจในเรื่อง
ทีศ่ ึกษาชัดเจนขึน้
2
ฝึ กทักษะการคิดอย่างหลากหลายตามลักษณะการนาเสนอ
ของผู้เรียบเรียงในหนังสื ออ่ านเพิม่ เติมแต่ ละเล่ม
3
ฝึ กฝนตนเองในการอ่านจับใจความสาคัญและการเขียน
สรุ ปเนือ้ เรื่อง
ชุดการเรี ยนการสอน
รู ป แบบของการสื่ อ สารระหว่ า งผู้ ส อน และ
ผู้เรี ยนซึ่ งประกอบด้ วยคาแนะนา ให้ ผ้ ู เรี ยนทากิจกรรม
ต่ างๆ อย่ างมีข้ันตอนเป็ นระบบชั ดเจน จนสามารถบรรลุ
ตามวัตถุประสงค์ ที่กาหนดไว้ โดยผู้เรี ยนเป็ นผู้ศึกษาชุ ด
การสอนด้ วยตนเอง
1. ชุ ดการเรียนการสอนสาหรับ
ครูผู้สอน
ประเภทของ
ชุดการเรียนการสอน
2. ชุ ดการเรียนการสอนสาหรับ
กิจกรรมกลุ่ม
3. ชุ ดการเรียนการสอนรายบุคคล
4. ชุ ดการเรียนการสอนแบบผสม
องค์ประกอบชุดการเรียนการสอน
 คาชี้แจงในการใช้ ชุดการเรียนการสอน
 บัตรคาสั่ง
 บัตรกิจกรรม หรือบัตรปฏิบัติการ
 บัตรเนื้อหา
 บัตรแบบฝึ กหัดหรืองาน
 บัตรเฉลย บัตรแบบฝึ กหัด
 บัตรทดสอบ
 บัตรเฉลย บัตรทดสอบ
ขั้นตอนการสร้ างชุดการเรียนการสอน
1. เลือกหัวข้อ
2. กาหนดเนื้ อหา
3. เขียนจุดประสงค์ในการจัดการเรียนการสอน
4. สร้างแบบทดสอบ
4.1 แบบทดสอบวัดความรูพ้ นฐาน
ื้
4.2 แบบทดสอบย่อย
4.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
5. จัดทาชุดการเรียนการสอน
6. วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
6.1 ผู้เรียนทากิจกรรมด้ วยตนเอง ผู้สอนให้ คาแนะนา
6.2 เลือกกิจกรรมที่หลากหลาย ที่เหมาะสมกับชุดการเรียนการสอน
6.3 ฝึ กให้ ผ้ ูเรียน เรียนรู้ด้วยการคิด
6.4 กิจกรรมฝึ กให้ ผ้ ูเรียน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (รายบุคคล-คู่-กลุ่ม)
ขั้นที่ 1 เร้ าความสนใจของผู้เรียน
ขั้นที่ 2 แจ้ งจุดประสงค์ การเรียนรู้
ขั้นที่ 3 ให้ ผ้ ูเรียนศึกษาชุดการเรียนการสอน
3.1 ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ ชุดการเรียนการสอน
3.2 ศึกษาบัตรคาสั่ง
3.3 ปฏิบัติกจิ กรรมตามที่กาหนด
3.4 ศึกษาบัตรเนื้อหา
3.5 ทาบัตรฝึ กหัดและตรวจคาตอบ
3.6 ทาบัตรทดสอบ
3.7 ประเมินตนเองโดยตรวจคาตอบ
ประโยชน์ ของชุดการเรี ยนการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
ผู้เรียนได้ ใช้ ความสามารถในการศึกษาชุ ดการเรียนการสอนด้ วยตนเอง
ฝึ กทักษะในการแสวงหาความรู้ ทักษะการอ่ าน ทักษะการสรุปความรู้
การทาแบบฝึ กทักษะการเรียนรู้ ท้ ายชุ ดการเรียนการสอน ทาให้ ผู้เรียนคิด
แก้ ปัญหาเป็ น
ผู้เรียนมีวนิ ัยในตนเอง จากการปฏิบตั ติ ามคาสั่ งในขั้นต่ างๆ ทีก่ าหนดทาให้
ผู้เรียนรู้ จักฝึ กตนเองให้ ทาตามกติกา
ผู้เรียนรู้ จักการทางานร่ วมกัน รับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ฝึ กความเป็ น
ประชาธิปไตย
ผู้เรียนสามารถใช้ ชุดการเรียนการสอน นอกเวลาเรียนได้
บรรณานุกรม
กุศยา แสงเดช. การวิจัยในชั้นเรียนสาหรับครู ประถมศึกษา. กรุ งเทพฯ : 11 มี.ค. 2545
นพเก้า ณ พัทลุง. การวิจัยในชั้นเรียน : หลักการและแนวคิดสู่ การปฏิบตั ิ. ภาควิชา
หลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ประวิต เอราวรรณ์.(2542). การวิจัยในชั้นเรียน.กรุ งเทพฯ : บริ ษทั สานักพิมพ์ดอกหญ้า.
พิมพ์พนั ธ์ เตชะคุปต์ และคณะ.(2544). การวิจัยในชั้นเรียน : หลักการสู่ การปฏิบตั ิ.กรุ งเทพฯ :
บริ ษทั เดอะมาสเตอร์ กรุ๊ ป แมเนจเม้นท์:
มนสิ ช สิ ทธิสมบูรณ์.(2547). ชุ ดฝึ กปฏิบตั ิการเหนือตารา : การทาการวิจัยในชั้นเรียน.
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2546). พืน้ ฐานการวิจัย . กรุ งเทพฯ : สุ วรี ิ ยาสาส์น.
บรรณานุกรม (ต่ อ)
วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2546). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุ งเทพฯ : สุ วรี ิ ยาสาส์น.
สุ คนธ์ สิ นธพานนท์ (2551). นวัตกรรมการเรียนการสอน เพือ่ พัฒนา
คุณภาพของเยาวชน. กรุ งเทพฯ : เทคนิคพริ้ มติ้ง.
สุ วมิ ล ว่องวานิช. (2544). การวิจัยปฏิบัตกิ ารในชั้นเรียน. กรุ งเทพฯ :
ศูนย์หนังสื อจุฬาฯ.
อานวย เดชชัยศรี .(2544). นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา.
กรุ งเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา.
ดร. เดชกุล มัทวานุกลู
กรรมการและเลขานุการสาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน
คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุ รินทร์ 32000
โทรศัพท์ : 044-521390
เบอร์มือถือ : 089-8460062
อีเมล์ : [email protected]
Website : srru.ac.th.
หลักสูตร
และการสอน
Thank you!