โดย ผส.ดร.สมภพ

Download Report

Transcript โดย ผส.ดร.สมภพ

เทคนิคและแนวทางการจัดการเรียนรู้
ทีเ่ น้ นผ้ ูเรียนเป็ นสาคัญ
ผศ.ดร.สมภพ อินทสุ วรรณ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
สถานการณ์ การศึกษาของไทย
• สมรรถนะในการแข่ งขันด้ านการศึกษา
พ.ศ.2549
• ได้ ลาดับที่ 48 จากทั้งหมด 49 ประเทศ
• จัดอันดับโดยInternational Institute for
Management Development (IMD)
สถานการณ์ การศึกษาของไทย
• พ.ศ.2552 ได้ ลาดับที่ 42 จากทั้งหมด 57 ประเทศ
• 1.สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน
• 2.เทคโนโลยีพนื้ ฐาน
• 3.วิทยาศาสตร์ พนื้ ฐาน (40)
• 4.สุ ขภาพและสิ่ งแวดล้ อม
• 5.การศึกษา (47)
สถานการณ์ การศึกษาของไทย
• จากการทดสอบของPISA(Programme for International
Student Assessment)
• พ.ศ. 2546 ได้ ลาดับที่ 30 จาก 39 ประเทศ
• ผ่ านเฉพาะเด็กนักเรียนโรงเรียนสาธิตและโรงเรียนใน
กรุงเทพฯ
• ตา่ สุ ดคือโรงเรียนเอกชนและโรงเรียนขยายโอกาส
• ตา่ สุ ดคือโรงเรียนในภาคอิสานและภาคใต้
Mean science scores – OECD countries
300
350
400
450
500
550
600
Finland
Canada
Japan
New Zealand
Australia
Netherlands
Korea
Germany
United Kingdom
Czech Republic
Switzerland
Austria
Belgium
Ireland
Hungary
Sweden
Poland
Denmark
France
Iceland
United States
Slovak Republic
Spain
Norway
Luxembourg
Italy
Portugal
Greece
Turkey
Mexico
44-47 Thailand
OECD (2007), PISA 2006 – Science Competencies for Tomorrow’s World, Table 2.1c
PISA Proficiency Levels in Science
OECD
Level 6
OECD
Th
1%
0.0
Level 5
8%
Level 4
20%
Level 3
Level 2
Level 1
Below
Level 1
0.4%
4%
27%
24%
14%
16.3%
33.2%
Science Level 6
Student can consistently
identify, explain and apply
scientific knowledge and
knowledge about science in a
variety of complex life
situations
Science Level 1
Student have such a limited
scientific knowledge that it can
only be applied to a few, familiar
situations
33.5%
Below Level 1
5%
12.6%
Unable to use scientific skills
in ways required by easiest
PISA tasks.
OECD (2007), PISA 2006 – Science Competencies for Tomorrow’s World, Table 2.1a
Mean reading scores – OECD countries
300
350
400
450
500
550
600
Korea
Finland
Canada
New Zealand
Ireland
Australia
Poland
Sweden
Netherlands
Belgium
Switzerland
Japan
United Kingdom
Germany
Denmark
Austria
France
Iceland
Norway
Czech Republic
Hungary
Luxembourg
Portugal
Italy
Slovak Republic
Spain
Greece
Turkey
Mexico
41-42Thailand
OECD (2007), PISA 2006 – Science Competencies for Tomorrow’s World, Table 6.1c
Mean mathematics scores – OECD countries
300
350
400
450
500
550
600
Finland
Korea
Netherlands
Switzerland
Canada
Japan
New Zealand
Belgium
Australia
Denmark
Czech Republic
Iceland
Austria
Germany
Sweden
Ireland
France
United
Poland
Slovak
Hungary
Luxembourg
Norway
Spain
United States
Portugal
Italy
Greece
Turkey
Mexico
43-46Thailand
OECD (2007), PISA 2006 – Science Competencies for Tomorrow’s World, Table 6.2c
สมรรถนะวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนไทย
• พ.ศ.2550 ได้ อนั ดับที่ 47 จาก 57 ประเทศ
• อันดับ1-2-3= ฟิ นแลนด์ ฮ่ องกง แคนาดา
• แล้ วเรื่องอะไรทีป่ ระเทศไทยมีอนั ดับดีขนึ้
เรื่อยๆ?
ข้ อมูลจากการสอบNT,O-netและA-net
• คะแนนเฉลีย่ ในสาระวิทยาศาสตร์ และ
สาระอืน่ ๆ อยู่ระหว่ าง 30-40 %
• พวกเราทุกคนมีส่วนในการรับผิดชอบและ
แก้ ไขปัญหา?
• เพราะครูเป็ นปัจจัยทีส่ าคัญที่สุดของ
คุณภาพและการปฏิรูปการศึกษา
ปัญหาครู 3จังหวัดชายแดนภาคใต้
• 1.คุณวุฒไิ ม่ สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ
• 2.ขาดความรู้ ด้านหลักสู ตรและการจัดการเรียนรู้
• 3.มีความรู้ ไม่ ตรงตามสาขาวิชาทีส่ อน
• 4.มีความรู้ ไม่ ลกึ ซึ้งและไม่ กว้ างขวาง
• 5.มีความเข้ าใจเนือ้ หาคลาดเคลือ่ น
ปัญหาครู 3จังหวัดชายแดนภาคใต้
• 6.ขาดโอกาสการพัฒนาความรู้ และทักษะการสอน
• 7.มีภาระงานงานสอนและงานธุรการมากจนไม่ มี
เวลาพัฒนาตนเอง
• 8.ขาดงบประมาณสนับสนุนเพือ่ การพัฒนาครู เช่ น
การศึกษาต่ อ อบรม ดูงาน การพัฒนาวิทยฐานะ
• (สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษายะลา เขต1, 2550)
ปัญหาการจัดการศึกษาอุดมศึกษาในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้
• 1.ขาดโปรแกรมหรือหลักสู ตรทีส่ นองความต้ องการของ
ผู้เรียน
• 2.ขาดพืน้ ฐานความรู้ วชิ าสามัญ
• 3.ขาดครู อาจารย์ ทมี่ ีความรู้ความสามารถในการ
สอน ประสบการณ์ และองค์ ความรู้
• (เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (2552). รายงานการวิจัย สภาพการ
จัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้)
บทบาทของครูยุคปัจจุบันเปลีย่ นไปแล้ ว
• จากการเป็ นผู้ส่งทอดความรู้ เป็ น ผู้ร่วมค้ นหาความรู้
• จากการตกปลา(ความรู้) เป็ น การเพาะเลีย้ งปลา
(ความรู้)
• จากการเน้ นเนือ้ หา เป็ นการเน้ น ความเข้ าใจ
• จากการเป็ นผู้ สอนวิชา(หนังสื อ) เป็ นผู้สอนวิธีเรียนรู้
และจัดประสบการณ์ การเรียนรู้
• หัวใจการเรียนรู้ –สุ จิ ปุ ลิ
บทบาทของครูยุคปัจจุบันเปลีย่ นไปแล้ ว
• จาก ครู เป็ นศูนย์ กลาง
• เป็ น ผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
• จาก การสอนให้ จาเนือ้ หา
• เป็ น การสอนให้ รู้ จกั คิด รู้ จกั วิธีเรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของครู ทตี่ ้ องได้ รับการ
พัฒนาต่ อเนื่อง
• 1.ความสามารถในการพัฒนาและประเมินหลักสู ตร
• 2.ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ น
ผู้เรียนเป็ นสาคัญ
• 3.ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีในการจัดการ
เรียนการสอน
• 4.ความสามารถและมีส่วนร่ วมในการประกัน
คุณภาพการเรียนการสอน
สมรรถนะสาคัญของครู ทตี่ ้ องได้ รับการพัฒนา
ต่ อเนื่อง
• 5.ความสามารถในการทาให้ เกิดประสิ ทธิผลการสอน
• 6.ความสามารถในการปฏิบัติหน้ าที่ที่ดีในการสอน
และเป็ นแบบอย่ างได้
• 7.ความสามารถในการศึกษา ค้ นคว้ า วิจัยเพือ่
พัฒนาการเรียนการสอน
• 8.ความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการ
สอน
• เด็กจึงต้ อง ปรับวิธีเรียน และ
• ครู ต้ อง เปลีย่ นวิธีสอน
ความจาเป็ นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้ น
ผู้เรียนเป็ นสาคัญ
• 1.นโยบายการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
กาหนดยุทธศาสตร์ การปฏิรูปทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
• 2.พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542
• หมวด4 ม.22 แนวการจัดการศึกษา ยึดหลักว่าผู้เรียน
ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองและถือว่ า
ผู้เรียนมีความสาคัญทีส่ ุ ด การจัดการศึกษาต้องส่ งเสริมให้
ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ
ความจาเป็ นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้ น
ผู้เรียนเป็ นสาคัญ
• 3.นโยบายการพัฒนาข้ าราชการครูของ ก.ค. กาหนด
ไว้ ในเป้ าหมายและมาตรการทีม่ ่ ุงให้ ครูสอนโดยยึด
ผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
• 4.เกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพครูของคุรุสภา กาหนด
มาตรฐานวิชาชีพที่เกีย่ วกับการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลางไว้ หลายมาตรฐาน
การจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
• เกิดจากแนวคิดของนักการศึกษา
• John Dewey
• Learning by Doing (1963)
• การเรียนรู้ โดยการกระทา
John Dewey (1859-1952)
• ปรัชญาหรือทฤษฎีการสร้ างความรู้(constructivism)
• :การเรียนรู้เป็ นกระบวนการทีข่ นึ้ ภายในตัวผู้เรียน
จะสร้ างความรู้จากสิ่ งทีพ่ บกับความรู้ความเข้ าใจทีม่ ี
อยู่เดิม
• กลุ่มปรัชญาHumanism(wholistic)
• :การเรียนรู้เป็ นการพัฒนาองค์รวมของผู้เรียน
ลักษณะสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้ น
ผู้เรียนเป็ นสาคัญ
•
•
•
•
•
1.สนองความแตกต่ างระหว่ างบุคคล
2.เพิม่ พูนพหุปัญญา(IQ,EQ,SQ,MQ)
3.รวมการประเมินการพัฒนาไว้ ด้วยกัน
4.ใช้ วธิ ีการและสื่ อที่หลากหลาย
5.มุ่งให้ ผู้เรียนพัฒนาตนเองเป็ นพัฒนาตนเองได้
จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ น
ผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
• 1.เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรียนการ
สอนมากขึน้ (Active)
• 2.เพือ่ ให้ ผู้เรียนได้ พฒ
ั นาความสามารถด้ านต่ างๆ
ตามความสามารถ
• 3.เพือ่ ให้ ผู้เรียนได้ เรียนรู้จากการลงมือกระทา ปฏิบัติ
หรือศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตัวเอง
จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ น
ผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
• 4.เพือ่ ให้ ผู้เรียนได้ เรียนตามความสนใจและ
ความสามารถของตนเอง
• 5.เพือ่ ให้ ผู้เรียนได้ เชื่อมโยงการเรียนรู้ กบั
ประสบการณ์ เดิมและสภาพชีวติ ประจาวัน
• 6.เพือ่ ให้ ผู้เรียนได้ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ความรู้ ความคิด
กับเพือ่ น
ลักษณะการจัดการเรียนการสอนโดยเน้ นผู้เรียน
เป็ นสาคัญ
• 1.จัดตามความสนใจ ความสามารถ ในทุกขั้นตอน
ของการเรียนการสอน (ร่ วมกาหนดวัตถุประสงค์ –
การประเมินผล)
• 2.จัดให้ ผู้เรียนได้ ลงมือทากิจกรรมปฏิบัติ แก้ ปัญหา
หรือค้ นคว้ าด้ วยตัวเองจากแหล่ งต่ างๆ
ลักษณะการจัดการเรียนการสอนโดยเน้ นผู้เรียน
เป็ นสาคัญ
• 3.จัดให้ ผู้เรียนได้ ฝึกทักษะต่ างๆ (การคิดวิเคราะห์ การ
สั งเกต การออกแบบการทดลอง การทดลอง การจด
บันทึก การสั งเคราะห์ การสรุป การนาเสนอ)
• 4.จัดให้ ผู้เรียนได้ มีโอกาสนาความรู้ทไี่ ด้ ไปใช้ ประโยชน์
ในชีวติ ประจาวัน
• 5.จัดให้ ผู้เรียนได้ มีโอกาสสร้ างความสั มพันธ์ และ
เปลีย่ นความรู้และร่ วมทากิจกรรมต่ างๆกับเพือ่ น
ลักษณะการจัดการเรียนการสอนโดยเน้ นผู้เรียน
เป็ นสาคัญ
• 6.เป็ นการทางานเป็ นกลุ่ม
• 7.ผู้เรียนมีส่วนร่ วมในการแสดงออก
• 8.เป็ นการเรียนรู้ตามทรัพยากรทีม่ ีอยู่
• 9.ผู้สอนเป็ นผู้ชี้แนะหรือประสานการเรียน
• 10.ผู้เรียนเป็ นเจ้ าของความคิดหรือชิ้นงาน
ลักษณะการจัดการเรียนการสอนโดยเน้ นผู้เรียน
เป็ นสาคัญ
• 11.ผู้เรียนเรียนรู้โดยการปฏิบัตจิ ริง
• 12.ผู้เรียนต้ องมีวนิ ัยในตัวเอง
• 13.ผู้เรียนทราบแหล่ งความรู้และความคิด
• 14.ผู้เรียนมีส่วนในการพัฒนาและวางแผนหลักสู ตร
การเรียนการสอน
• 15.ใช้ รูปแบบการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
• 1.แบ่ งตามกิจกรรมการเรียนการสอน
• 2.แบ่ งตามการใช้ สื่อ
แบบเน้ นกิจกรรมการเรียนการสอน
• 1.แบบใช้ ปัญหาเป็ นหลัก(Problem Based Learning
PBL)
• 2.แบบ Constructivism
• 3.แบบสร้ างความคิดรวบยอด(Concept
Attainment)
•
•
•
•
•
•
•
•
4.แบบร่ วมมือร่ วมใจ(Co –operative learning)
4.1 คู่คดิ (Match mind)
4.2 คู่ตรวจสอบ(Pairs check)
4.3 Three steps interview
4.4 Think pair share
4.5 Team word webbing
4.6 Round table
4.7Jjigsaw
•
•
•
•
5.แบบสื บเสาะหาความรู้ (Inquiry)
6.แบบCIPPA
7.แบบทดลอง
8.แบบโครงการ
แบบเน้ นการใช้ สื่อเป็ นหลัก
• 1.การใช้ บทเรียนสาเร็จรู ป
• 2.แบบศูนย์ การเรียน
• 3.แบบใช้ โปรแกรม CAI
รูปแบบทีน่ ิยมใช้ ในระดับอุดมศึกษา
• 1.แบบสอนโดยตรง(Direct instruction)
• แบบบรรยาย
• 2.แบบอภิปราย(Discussion)
• 3.แบบทางานกลุ่ม(Group work)
•
•
•
•
4.แบบร่ วมมือ(Co –operative)
5.แบบแก้ปัญหา(Problem solving)
5.แบบค้ นคว้ าวิจัย(Student research)
6.แบบลงมือปฏิบัติ(Performance activities)
สรุปกิจกรรมการเรียนรู้ แบบเน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
• 1.ค้ น หาความรู้ จากแหล่งต่ างๆ
• 2.คว้ า จดบันทึก ถ่ ายเอกสาร
• 3.คิด นามาวิเคราะห์ สรุ ป รวบรวม เรียบเรียง
• 4.คาย เขียนรายงาน นาเสนอ
• 5.คณะ การเป็ นสมาชิกกลุ่ม
การวัดและการประเมินผลการจัดการเรียนการ
สอนแบบเน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
• นิยมใช้ การวัดและการประเมินผลตามสภาพแท้ จริง
ในห้ องเรียน(Authentic assessment) ได้ แก่
•
•
•
•
•
1.การใช้ Portfolio
2.การใช้ แบบทดสอบความสามารถจริง(Authentic test)
3.การสั งเกต
4.การบันทึกพฤติกรรม
5.การสั มภาษณ์
บทบาทผู้สอนตามแนวการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
• 1.ผู้จัดการ กาหนดบทบาทให้ ผู้เรียน
• 2.ผู้ช่วยเหลือและแหล่งความรู้
• 3.ผู้สนับสนุน จัดหาสื่ อ วัสดุ อุปกรณ์ และให้
คาแนะนา
• 4.ผู้ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมิน
• 5.ผู้สร้ างบรรยากาศ
บทบาทผู้เรียนตามแนวการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ น
สาคัญ
• 1.เป็ นผู้ลงมือทา
• 2.เป็ นผู้มสี ่ วนร่ วม
• 3.เป็ นสมาชิกของกลุ่ม
• 4.เป็ นผู้ประเมิน
ประโยชน์
•ความสุข ของ
• 1.ผู้เรียน
• 2.ผู้สอน
• 3.ผู้บริหาร
• 4.ผู้ปกครอง
ปัจจัยแห่ งความสาเร็จของการจัดการเรียนการ
สอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
• ความเป็ นครูมืออาชีพ
• เปลีย่ นทัศนคติ ยอมรับ ตระหนัก มุ่งมั่น แสวงหา
ทดลอง
• เพือ่ ช่ วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพ
ครบถ้ วนตามมาตรฐาน
• ด้ วยความรัก ความเมตตา
FAQ
• 1.มีรายวิชาและชั่วโมงสอนมาก ถ้ าสอนแบบนีจ้ ะ
สอนไม่ ทนั และเด็กก็จะไม่ ได้ ความรู้
• 2.กลุ่มสอนใหญ่ มาก (มีจานวนผู้เรียนมาก) จะสอน
แบบนีไ้ ด้ อย่ างไร?
• 3.เป็ นรายวิชาทีม่ ีผู้สอนหลายคน ถ้ าสอนแบบนีก้ จ็ ะ
สอนไม่ ทนั กลุ่มอืน่ เด็กกลุ่มทีเ่ ราสอนจะสอบตก
• 4.มีงานวิจัยยืนยันหรือไม่ ว่าการจัดการเรียนการ
สอนแบบนีไ้ ด้ ผลดีกว่ าการสอนแบบบรรยาย
• 5.ผู้ปกครองไม่ ต้องทาอะไร วุ่นอยู่กบั การช่ วยลูก
ติดกระดาษ พิมพ์รายงาน
สั จจะการจัดการเรียนการสอน
• 1.ผลสั มฤทธิ์ของการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียน
เป็ นสาคัญดูจากผลสั มฤทธิ์ทเี่ กิดกับผู้เรียน ไม่ ใช่ วธิ ีการ
สอนทีผ่ ้ ูสอนเลือกใช้
• 2.วิธีการสอนแบบบรรยายไม่ ใช่ ผ้ ูร้ายทีน่ ามาใช้ กบั การ
จัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลางไม่ ได้
• 3.ไม่ มรี ู ปแบบหรือวิธีการสอนใดทีด่ ที สี่ ุ ด ผู้สอนต้ องเลือก
รู ปแบบ วิธีและเทคนิคทีเ่ หมาะสมเอาเอง
• คาถาม?
• ขอบคุณทีใ่ ห้ โอกาสมาแลกเปลีย่ นเรียนรู้กนั
• หวังว่ าคงได้ สาระที่เป็ นประโยชน์ ตามควร
• [email protected]