การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Download Report

Transcript การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การปรับตัวขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นสู่ AEC
นายอมร
วงศ์วรรณ
ท้ องถิ่นจ.
สงขลา
เป้ าประสงค์ของการบรรยาย
• AEC >ต่อประเทศ อย่างไร?
• AEC> ต่อจังหวัดสงขลา อย่างไร?
• AECเกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองท้องถิ่น อย่างไร?
และจะรับมือ อย่างไร?
กิจกรรมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
๑. เป็ นตลาดและฐานการผลิตร่ วม
- เคลื่อนย้ายสิ นค้าเสรี
- เคลื่อนย้ายบริ การอย่างเสรี
- เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี
- เคลื่อนแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
- เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี มากขึ้น
๒. สร้างเสริ มขีดความสามารถแข่งขัน
- e-ASEAN
- นโยบายภาษี
นโยบายการแข่งขัน
- สิ ทธิทรัพย์สินทางปั ญญา
- การคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค
- พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
๓. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างเสมอภาค
- ลดช่ องว่ างการพัฒนา
- ระหว่ างสมาชิกเก่ า-ใหม่
- สนับสนุนการพัฒนา SMEs
๔. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
• ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
• สร้างเครื อข่ายการผลิต จาหน่าย
• จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ปี ๒๕๕๘
• เศรษฐกิจเอเชียขยายตัวเร็ วกว่า- การผลิตมากขึ้น การบริ โภคมากขึ้น
- เงินทุนไหลเข้าประเทศกาลังพัฒนาโดยเฉพาะเอเชีย
- ระบบการเงินตราในโลกเปลี่ยน เอเชียบทบาทมากขึ้น
- การสร้างโครงสร้างพื้นฐาน พร้อมขยายตัวต่อไปขึ้น
• โครงสร้างแต่ละอุตสาหกรรมเปลี่ยนแปลงทั้งโลก
• ความมัน่ คงด้านอาหาร และน้ า
• ความมัน่ คงด้านพลังงาน
• ความมัน่ คงด้านวัตถุ-มีสินค้า และเส้นทางลาเลียง
ผลของการขยายตัวของเศรษฐกิจในเอเชียต่อไทย
• ความต้องการพลังงาน
- น้ ามันยังเป็ นแหล่งพลังงานหลัก
- แร่ ธาตุต่างๆ และวัสดุต่างๆ เช่น ยางธรรมชาติ
- ประชากรเพิม่ ขึ้น รายได้เพิม่ ขึ้น กินมากขึ้น ผลผลิตเพิม่ ไม่ทนั
• การค้าขายเพิม่ ขึ้น
- นาเข้าพลังงาน วัตถุดิบ อาหาร ส่ งออกสิ นค้าสาเร็ จรู ป
• ระบบการเงินที่มนั่ คงสาหรับภูมิภาค
• การรักษาความยัง่ ยืนของสิ่ งแวดล้อม
ผลกระทบของการเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
• ผลกระทบโดยตรงการเพิ่มขึ้นของการค้าชายแดน > จังหวัด
ชายแดนจะมีอตั ราการโตที่สูงในอนาคต
• ภาคราชการตามพื้นที่ชายแดนควรจะต้อง
- มีระบบที่จะรองรับการขยายตัวของการทาธุรกิจ เช่น การจด
ทะเบียนบริ ษทั การชาระภาษีศุลกากร ตลอดจนความมัน่ คง เป็ น
ต้น
- คัดเลือกบุคลากรที่มีทกั ษะให้เหมาะสมกับภารกิจ เช่น ความรู้
ด้านภาษา กฎหมายและวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน การค้า
การลงทุน
การคาดการณ์ในปี ๒๕๕๘
๑. ธุรกรรมกับต่างประเทศเพิ่มขึ้น > การค้า ลงทุน การเงิน แรงงาน
> โครงสร้างการค้าเปลี่ยนไป
๒. วิธีการทาการค้าเปลี่ยนไป > รู ปแบบของการทาและ
บริ หารธุรกิจ/เข้าสู่ระบบ
๓. การค้าตามแนวชายแดนสูงขึ้น > ข้อมูลการค้าชายแดน
> ประเภทของผูป้ ระกอบการ/เล็ก/กลาง
๔. ระบบการบริ หารตามชายแดน > บทบาทของหน่วยการปกครองในพื้นที่
๕. ความสัมพันธ์ทางสังคมเปลี่ยนไป > ของบุคคลระหว่างประเทศ
> ระหว่างบุคคลกับเจ้าหน้าที่
เป้ าหมายของประเทศไทย
• ค้าปลีกและค้าส่ ง > ไทยเป็ นผูน้ าย่านอินโดจีน
• การก่อสร้างและวัสดุภณ
ั ฑ์ > เป็ นผูน้ าในด้านวิศวสถาปัตย์ในการ
ก่อสร้าง และเป็ นศูนย์กลางการพัฒนาผลิตภัณฑ์วสั ดุก่อสร้างในเอเชีย
• อุตสาหกรรมอาหาร และวัตถุดิบด้านการเกษตร>เป็ นเจ้าของและ
ผูจ้ ดั การระบบการแปรรู ปอาหารและผลิตผลการเกษตรของอินโดจีน
และเป็ นศูนย์กลางการจัดจาหน่ายให้เอเชียและประเทศอื่นๆ
• การบริ การด้านโลจิสติกส์ > เป็ นเจ้าของธุรกิจเครื อข่ายบริ การขนส่ งทาง
บก มีระบบโลจิสติกส์ที่ยดื หยุน่ เพื่อสนองความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ ว
• ท่องเที่ยวและบริ การสุ ขภาพ > เป็ นผูป้ ระสานงานในอาเซียนสาหรับ
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมบริ การสุ ขภาพขนาดใหญ่
บทบาทของภาคราชการ
• การขยายตัวทางเศรษฐกิจตามแนวชายแดนทาให้เกิดความต้องการของ
เจ้าหน้าที่ภาครัฐทาหน้าที่ “อานวยความสะดวก” ทางธุรกิจ
• เป็ นสื่ อประสานงานกับหน่วยงานในส่ วนกลางและหน่วยงานอื่นๆ
• เป็ นตัวแทนของประเทศไทยในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานใน
ประเทศเพื่อนบ้าน(ทูต)
• เข้าใจในระเบียบการค้า การลงทุน การทาธุรกิจ และข้อตกลงเกีย่ วกับ
การค้าการลงทุนในอาเซียน เพราะต้องเกี่ยวข้องกับการบริ หารงาน
โดยตรงและโดยอ้อม
AEC กับจังหวัดสงขลา
• ความได้เปรี ยบทางภูมิศาสตร์
• ความได้เปรี ยบทางทรัพยากร
• ความได้เปรี ยบทางเชื้อชาติ ศาสนาและวัฒนธรรม
• ปั ญหาจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดน
การเตรี ยมความพร้อมของ อปท.
• พันธกิจและบทบาทต่อสังคมคืออะไร
- การบริ การสาธารณะ ในอานาจหน้าที่มีอะไรบ้าง?
- เกี่ยวข้องกับคนกลุ่มใดบ้างในสังคม และคนเหล่านั้นมี
ความสัมพันธ์กบั AEC อย่างไรบ้าง ?
• ถึงเวลาที่ตอ้ งปรับเปลี่ยนกรอบแนวคิดหรื อไม่?
• วิสยั ทัศน์มีความจาเป็ นต่อการทางานยุคใหม่อย่างไร
ASEAN+++ กลุ่มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจทีม่ ีขนาดใหญ่ ทสี่ ุ ดในโลก
ครอบคลุม 2 มหาสมุทร ขนาดเศรษฐกิจ 13.973 พันล้านเหรียญสหรัฐ
เท่ ากับร้ อยละ 22.6 ของ GDP โลก
AEC กับจุดอ่อนของประเทศไทย
• AEC Alert : คนไทยไม่ ค่อยตืน่ ตัวต่ อการเปิ ดเสรีอาเซียน
• AEC Competitiveness : ธุรกิจไทยส่ วนใหญ่ ยงั ไม่ ได้ เตรียมการเพิม่ ขีด
ความสามารถในการแข่ งขัน
• AEC Opportunity : ธุรกิจไทยไม่ เข้ าใจต่ อโอกาสของการเป็ นประชาคม
อาเซียน ภายใต้ การเปิ ดเสรี 5 ด้ าน (สิ นค้ า บริการ การลงทุน การเคลือ่ นย้ า
นแรงงาน และโลจิสติกส์ ) ทาให้ พลาดโอกาสต่ อการได้ ประโยชน์ จากการเป็ น
AEC
• Neighbor Countries Knowledge : คนไทยรู้ จักประเทศเพือ่ นบ้ านน้ อยมาก
ทั้งด้ านภาษา วัฒนธรรม และโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน
• Inconvenient Doing Business in Thailand : การขาดความไม่ สะดวกในการ
ดาเนินธุรกิจในไทย ปัญหาด้ านภาษา ปัญหาคอรัปชั่นและระบบราชการ และ
ต้ นทุนด้ านแรงงานทีส่ ู งเป็ นอันดับ 3 ของประเทศอาเซียน (มาเลเซียอันดับ ที่2 ค่า
แร318 บาท /วัน)
ดร. สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน และ ประธานสถาบันออกแบบ
อนาคตแห่งประเทศไทย ปาฐกถาพิเศษ ในหัวข้อ “ก้าวย่ างทีม่ ั่นคงของประเทศไทย
กับการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซี่ยนในทศวรรษหน้ า” ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการ
จัดตั้งคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ เมื่อ 11 มิถุนายน 2556
“........การเข้ าสู่ “ประชาคมอาเซียน” เป็ นทัง้ โอกาสและสิง่ ท้ าทาย แม้ ว่าจะมีการเปิ ดเสรี ในการ
ประกอบอาชีพใน 8 สาขา คือ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล วิศวกร สถาปนิก การท่ องเทีย่ ว
บัญชี และ นักประเมินทรั พย์ สนิ แต่ ถ้าคนไทยขาดความพร้ อมและขาดความสามารถก็จะ
ไม่ ได้ ประโยชน์ จากการรวมตัว ครั้ งนี้ กลับทั้งยังเปิ ดโอกาสให้ ชาติอาเซียนอืน่ ๆ เข้ ามา
แข่ งขันในการประกอบอาชีพในประเทศได้ ... ในระยะเวลาอีกเพียง 2 ปี ก่ อนการรวมตัวใน
ปี 2558 คนไทยส่ วนหนึ่งกลับเตรี ยมรั บมือด้ วยความ “ตืน่ ตระหนก” มากกว่ า “ตืน่ ตัว” และ
ยังขาดความพร้ อมอยู่หลายด้ าน เช่ น ภาษาอังกฤษ ซึง่ “ประชาคมอาเซียน” จะใช้ เป็ น
“working language” หรื อใช้ ในการสื่อสาร การประชุม และกิจกรรมทีเ่ ป็ นทางการ
อื่นๆ และความพร้ อมในการออกไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้ าน เพราะการต่ อสู้ทยี่ งิ่ ใหญ่
คือการต่ อสู้ในเวทีประชาคมโลก......”
“........การเตรี ยมตัวในการก้ าวสู่ประชาคมอาเชี ยน นั้น ต้ องปรั บตัวในด้ านต่ างๆ สิ่ งแรก ต้ อง
เปลี่ยนทัศนคติ เพื่อ พร้ อมออกไปหาโอกาส แสวงหาการลงทุนในเศรษฐกิจเพื่อนบ้ าน เป็ น
โอกาสของธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง ที่ต้องไปลงทุนหาลูกค้ ากลับเข้ ามาในไทย ซึ่ งต้ อง
มีการเตรี ยมตัวอย่ างดียิ่ง ถัดมา ต้ อง มีความเชี่ยวชาญเป็ นเลิศในสาขาวิชานั้นๆ การอยู่รอด
ของประเทศต้ องไปสู่เวทีภมู ิภาคนอกประเทศ จึ งต้ องรี บเร่ งเป็ นเลิศให้ ได้ ในทุกสาขาวิชา
ดังนั้นจึ งเป็ นหน้ าที่ของผู้ปกครอง และ ครู ที่จะต้ องสร้ างความพร้ อม ความเป็ นเลิศให้ กับเด็ก
รวมทั้งเด็กต้ องพร้ อมที่จะท้ าทาย รู้ จักคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ในการตัดสิ นใจ เป็ นการเรี ยน
แบบสอนให้ คิดไม่ ใช่ เรี ยนแบบสอนให้ จา ......”
“.....ต้ องมีทกั ษะในการใช้ ภาษาและการสื่อสาร ทัง้ ภาษาอังกฤษและภาษามลายู
เพื่อการเจรจาต่ อรองเป็ นทุนทางสังคม ภาษาต่ างประเทศเป็ นภาษาที่สาคัญ
มากในเวทีอาเซียน และ เวทีโลก ต้ องพูดให้ ชัดเจน น่ าเชื่อถือ มีนา้ หนัก โน้ ม
น้ าวผู้อ่ ืนได้ ภาษาจีนก็สาคัญ ภาษามาลายู เป็ นภาษาที่ใช้ ในประชาคม
อาเซียน เช่ นกัน ต้ องมีการเปลี่ยนวิธีการทางาน ข้ อมูลต่ างๆ ต้ องแบ่ งปั น
และบูรณาการเข้ าหากัน สังคมและประเทศไทยจึงจะได้ ประโยชน์ สูงสุด....”
“.........การที่จะก้ าวเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน ต้ องเตรียมสาหรับการประกอบ
อาชีพ มากกว่ า 1 อาชีพ โดยพร้ อมที่จะออกจากงานเดิมเพื่อไปทาในสิ่งที่
ท้ าทายยิ่งกว่ า และพร้ อมในการทาหน้ าที่หลายอย่ าง หลายบทบาทพร้ อม
กัน ต้ องเปลี่ยนวิธีคิด มุมมอง และ การวิเคราะห์ ต้ องมีความพร้ อมและ
ตัง้ ใจจริง..... สอนให้ เด็กคิดวิเคราะห์ เรียนรู้ และ แก้ ปัญหาได้ เตรียมพร้ อม
ที่จะสามารถทางาน ปฏิบัตหิ น้ าที่ภารกิจ พร้ อมกันหลายอย่ างได้ ......
• “ความพร้อมที่กล่าวมานี้จะพบความสาเร็ จตามจดุ ม่ งุ หมายในอีกกีป่ ี ไม่ ใช่ เรื่ อง
สาคัญ เพราะไม่ มีที่ใดทีเ่ ขียนพิมพ์เขียวแล้ วสามารถก่อสร้ างได้ ในทันที แต่ขอให้
ตื่นขึ้นและเริ่ มก้าวเดินสู่จุดหมายเสี ยแต่บดั นี้ บนพื้นฐานของเหตุและผล ให้สม
กับที่อยูใ่ นประเทศซึ่งเป็ นเจ้าของความคิด ในการจัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน”
คน อปท.ในสงขลาต้ องทาอะไร?
• ตระหนักว่าภารกิจเราคืออะไร ?
• จาเป็ นไหมที่จะต้ องทาความเข้ าใจเรื่ อง AEC อย่างเอาจริงเอาจัง?
(การคาดการณ์/ทานาย/จินตนาการ/วิสยั ทัศน์)
• ใครบ้ างที่ต้องเกี่ยวข้ องกับ AEC แล้ วจะเริ่มต้ นอย่างไร ถ้ าคนนันคื
้ อเรา
• ภารกิจ/หน้ าที่เรามีบทบาทและความสาคัญอย่างไร กับใคร?
• เราคนเดียวหรื อมีใครเกี่ยวข้ องอีกไหม?
• ทาอย่างไรให้ ผ้ บู ริหาร/สมาชิกและเพื่อนร่วมงานคิด/ตระหนักและเข้ าใจสิง่
ที่เราคิด?