การจัดการห่วงโซ่อุปทาน

Download Report

Transcript การจัดการห่วงโซ่อุปทาน

278346
Electronic Commerce Management
บทที่ 10
การจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน
อ.ธารารั ตน์ พวงสุวรรณ
[email protected]
ความหมายของห่ วงโซ่ อุปทาน
• ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) หมายถึง การไหลของวัสดุ/วัตถุดิบและ
ทรัพยากรต่างๆ เพื่อผลิตและจัดส่ งผลิตภัณฑ์ไปสู่ผบู ้ ริ โภคขั้นสุ ดท้าย
(แมนเฮม 1994, เทดซี่และไวร์มา 1993)
• โซ่อุปทาน (Supply Chain) หมายถึง ลาดับของกิจกรรมต่างๆ ภายใน
องค์กรและการติดต่อระหว่างกิจกรรมนั้นๆ (เจอเรฟี่ และเคอเซนเนวิส
1994)
ห่ วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain)
• ห่วงโซ่อุปทาน หมายถึง การศึกษาถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุดิบ
สารสนเทศ และบริ การจากผูจ้ ดั จาหน่าย (Supply Chain) ผ่านโรงงานจน
ไปถึงผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้าย
• Supply Chain ประกอบขึน้ มาจากแนวคิด 2 ด้ าน
• ได้ แก่ แนวคิดเกีย่ วกับการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุดิบจากแหล่งผลิตเข้ าสู่ ระบบ
การผลิต ผ่ านกระบวนการผลิตจนเป็ นผลิตภัณฑ์ และสิ้นสุ ดทีผ่ ู้บริโภค
คนสุ ดท้ าย
• รวมเข้ ากับแนวคิดเกีย่ วกับห่ วงโซ่ อุปสงค์ ที่ได้ อธิบายเกีย่ วกับการสั่ งซื้อ
สิ นค้ าจนกระทัง่ การสั่ งซื้อนั้นได้ รับการตอบสนอง
รู ปแบบธุรกิจ E-commerce
ทีเ่ กีย่ วข้ องกับห่ วงโซ่ อุปทาน
หน่ วยงาน/ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องในโซ่ อุปทาน
•
•
•
•
•
ผูจ้ ดั หาวัตถุดิบ (Raw Material Suppliers)
ผูผ้ ลิต/โรงงาน (Manufacturers)
ผูค้ า้ ส่ ง / ผูก้ ระจายสิ นค้า (Wholesalers / Distributors)
ผูค้ า้ ปลีก (Retailers)
ลูกค้า / ผูบ้ ริ โภคขั้นสุ ดท้าย (Customers / Consumers)
การไหลของสารสนเทศในห่ วงโซ่ อุปทาน
ซัพพลายเออร์
โรงงาน
ผู้จัดจาหน่ าย
ซัพพลายเชน
ร้ านค้ าปลีก
ลูกค้ า
กิจกรรมหลักในห่ วงโซ่ อุปทาน
•
•
•
•
การจัดหา(Procurement)
การขนส ง ( Transportation)
การจัดเก็บ (Warehousing)
การกระจายสิ นค า (Distribution)
ป ญหาความผันผวนในห วงโซ อุปทาน
• ผูผ้ ลิตส่ วนใหญ มุ่งนโยบายการผลิตด้วยปริ มาณสูงสุ ด(Maximizing
throughput) เพื่อประหยัดต้นทุนต อหน่วย
• อาจไม่สอดคล้องกับอุปสงค์ของตลาด (Market demand) และส งผล
ต่อปัญหาการจัดเก็บสิ นค าคงคลัง
• หรื อเกิดความไม สอดคล้องขึ้นในห วงโซ อุปทาน
• เป็ นผลจากความผันผวนทางอุปสงค และต้องดาเนินการแก ไขเพื่อ
ขจัด ป ญหาระดับการให บริ การลูกค า และต้นทุนที่สูงขึ้น
• เกิดปรากฏการณ์ “Bullwhip Effect”
ปัจจัยทีส่ ่ งผลกับปรากฏการณ์ แส้ ม้า (Bullwhip Effect)
1. การประมาณการความต้องการ (Demand Forecasting)
2. การปันส่ วนสิ นค้า (Product Sharing)
3. การจัดชุดคาสัง่ ซื้อ (Order Batching)
4. การตั้งราคาสิ นค้า (Product Pricing)
5. การวัดสมรรถนะของการทางาน
ผลกระทบของการเกิด Bullwhip Effect
• สิ นค้าคงคลังมีจานวนมาก ทาให้ตอ้ งสูญเสี ยค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ
สิ นค้าและพื้นที่ในการจัดเก็บ
• การออกแบบผลิตภัณฑ์ไม่ดี ไม่มีคุณภาพและมีประสิ ทธิภาพต่า ไม่ตรง
ตามความต้องการของลูกค้า
• การปฏิบตั ิการที่ไม่มีประสิ ทธิภาพ ทางานไม่สอดคล้องกันทาให้เกิด
ความล่าช้าในบางกระบวนการ
• การส่ งมอบที่ชา้ ใช้เวลานานในการขนส่ ง และขาดความน่าเชื่อถือ
เพราะไม่สามารถส่ งมอบได้ตามที่สญ
ั ญาไว้
• การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ไม่ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงหรื อการ
พัฒนาของตลาดของคู่แข่ง
ความหมายของการจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน
• การจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain Management) หมายถึง
กระบวนการบูรณาการ การประสานงาน และควบคุมการเคลื่อนย้าย
สิ นค้าทั้งที่เป็ นวัตถุดิบและสิ นค้าสาเร็ จรู ป/สิ นค้าแปรรู ป รวมถึง
สารสนเทศที่เกี่ยวข้องในกระบวนการตั้งแต่ผจู ้ ดั หาวัตถุดิบ ไปจนถึง
ผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้าย
ความหมายของการจัดการโซ่ อุปทาน
• อาร์.ไมเคิล โดโนแวน ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการบริ หาร Supply Chain ระบุ
สาระเอาไว้ดงั นี้
• วัตถุประสงค์ของการบริ หารระบบการจัดส่ งสิ นค้า (Supply Chain) ก็
คือ เพื่อทาให้เกิดการไหลเวียนของข้อมูลข่าวสารที่มีคุณภาพสูงด้วย
ความเร็ วสูง ซึ่งจะทาให้ซพั พลายเออร์สามารถจัดส่ งสิ นค้าไปถึงมือ
ลูกค้าได้ทนั ตามกาหนดเวลาโดยไม่มีการติดขัด
ประโยชน์ ของการจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน
•
•
•
•
•
•
•
การไหลลื่นของกระบวนการเติมเต็มคาสัง่ ลูกค้า
ความพอใจของลูกค้า
ลดเวลานา (Lead time)
ลดสิ นค้าคงคลัง
ลดของเสี ย
กาจัดความผันผวนในโซ่อุปทานที่เรี ยกว่า “Bullwhip Effect”
เพิ่มความสามารถในการแข่งขันและการรวมพลังทางธุรกิจ
การจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน
องค์ ประกอบของห่ วงโซ่ อุปทาน
• Upstream Supply Chain (ห่วงโซ่อุปทานที่เข้าสู่ผผู ้ ลิต)
• Internal Supply Chain (ห่วงโซ่อุปทานภายในกระบวนการผลิต)
• Downstream Supply Chain (ห่วงโซ่อุปทานที่เข้าสู่ผบู ้ ริ โภค)
องค์ประกอบของห่วงโซ่อปุ ทาน
(cont.)
กระแสการไหลของห่วงโซ่อปุ ทาน
(Three Primary Flow)
การบูรณาการ SCM ตามแนวนอน
Horizontal Integration
การบูรณาการ SCM ตามแนวตั้ง
vertical Integration
Vertical Integration & Horizontal Integration
• Vertical Integration
– สามารถที่จะควบคุมการทางานได้ง่ายเนื่องจากอยูใ่ นองค์กรของ
ตัวเอง แต่ตอ้ งมีการลงทุนสูงในการขยายกิจการ
• Horizontal Integration
– มีความสะดวก และสามารถอาศัยความรู ้ ความสามารถขององค์กร
อื่นๆ มาสร้างความแข็งแกร่ งให้กบั องค์กรของตนเองได้
– องค์กรสามารถ Focus ในสิ่ งที่ตนเองถนัดและมีความสามารถมาก
สุ ด
– ไม่ตอ้ งมีการลงทุนมากในการขยายกิจการ
การจัดการห่ วงโซ่ อุปทาน
• ปัจจุบนั หลายองค์กรได้สื่ออิเล็กทรอนิกส์มาใช้ เพื่อปรับปรุ งการดาเนินงาน
ของระบบ SCM ให้สะดวก รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
• เรี ยกว่า SCM รู ปแบบนี้ ว่า “E-SCM (Electronic Supply Chain
Management)”
• โดยไม่เพียงแต่เป็ นการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีใช้สาหรับดาเนิ นงานเท่านั้น
แต่ยงั เป็ นการเปลี่ยนแปลงนโยบาย (Policies)
22
บทบาทของ E-SCM ต่ อระบบ B2B
-การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ (E-Procurement) E-SCM
-การจัดการสิ นค้าคงคลังโดยใช้อุปกรณ์ไร้สาย (Wireless Device)
- การตรวจสอบการด าเนิ น งานโดยใช้ RFID
(Radio
Frequency
Identification)
-การวางแผนการทางานร่ วมกัน (Collaborative planning)
-การพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกัน (Collaborative Product Development)
-ระบบขนส่ งอิเล็กทรอนิกส์ (E-Logistics)
- การทางานร่ วมกับระบบ Exchange (Use of B2B Exchange)
23
บทบาทของ E-SCM ต่ อระบบ B2B
การพาณิชย์ เชิงร่ วมมือ (Collaborative Commerce: C-Commerce)
หมายถึง การดาเนินงานร่ วมกันขององค์กรผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่วา่ จะ
เป็ นการดาเนินงานด้านการวางแผน (Planning) การออกแบบ (design) การ
จัดการ (Manage) การวิจยั ผลิตภัณฑ์ (Product Research) การให้บริ การ
(Service) ตลอดจน การคิดค้นนวัตกรรมสาหรับระบบงาน E-Commerce
(Innovative EC Application)[Turban and King, 2008]
24
บทบาทของ E-SCM ต่ อระบบ B2B
• Electronic Data Interchange (EDI) คือ ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์กร โดย EDI จะกาหนดมาตรฐานของข้อมูลทาง
ธุรกิจที่แต่ล่ะองค์กรใช้เป็ นประจา (Routine Documents) เอาไว้ เช่น ใบสัง่
ซื้อ หรื อใบเสร็ จรับเงิน หรื อใบจัดส่ งสิ นค้า เป็ นต้น
• เครื อข่าย “VAN (Value-Added Networks)” มีขอ้ จากัด
• ปัจจุบนั มีการพัฒนาระบบ “Internet-based (WEB) EDI” โดยใช้เครื อข่าย
อินเทอร์เน็ตเป็ นเทคโนโลยีพ้นื ฐานในการรับส่ งข้อมูลแทนเครื อข่าย VAN
25
Supply Chain VS Logistics
• ห่ วงโซ่ อุปทาน เป็ นกระบวนการที่เน้นการประสานงานและ
ร่ วมมือกันตั้งแต่กระบวนการจากผูส้ ่ งมอบวัตถุดิบไปยังผูผ้ ลิต
ผูก้ ระจายสิ นค้า ผูแ้ ทนจาหน่าย จนกระทัง่ ถึงผูบ้ ริ โภค
• โลจิ ส ติ ก ส์ เป็ นกระบวนการที่ เ น้ น กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การ
เคลื่อนย้าย จัดเก็บ และกระจายสิ นค้า ในแต่ละช่วงของห่ วงโซ่
อุปทาน
Logistics
• กิจกรรมหรื อการกระทาใดๆ เพื่อได้มาซึ่ งสิ นค้าและบริ การ รวมถึงการเคลื่อนย้าย จัดเก็บ
และการกระจายสิ นค้าจากแหล่งที่ ผลิต จนสิ นค้าได้มีการส่ งมอบไปถึงแหล่งที่มีความ
ต้องการ
• โดยกิ จ กรรมดัง กล่ า วจะต้อ งมี ล ัก ษณะเป็ นกระบวนการแบบบู ร ณาการ โดยเน้ น
ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล โดยมีเป้ าหมายในการส่ งมอบแบบทันเวลา (Just in Time)
และเพื่อลดต้นทุ น โดยมุ่งให้เกิ ดความพอใจแก่ลูกค้า (Customer Satisfaction) และ
ส่ งเสริ มเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าและบริ การ
• กระบวนการวางแผน การดาเนินงาน และการควบคุมการเคลื่อนย้ายไปและกลับ การเก็บ
รักษาสิ นค้า บริ การและข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและมี ประสิ ทธิ ผล ตั้งแต่
จุดเริ่ มต้นของการผลิตไปสู่ จุดสุ ดท้ายของการบริ โภคเพื่อตอบสนองความต้องการของ
ลูกค้า
7R in Logisitics
Supplying
in
for delivery at the
and
from the
with the
and at the
Right Materials
Right Quantity
Right Time
Right Place
Right Source
Right Service
Right Price
to customers
Evolution of Logistics Integration
Materials Management
1. การจัดหา (Sourcing)
2. การจัดซื้อ (Purchasing Management)
3. การขนส่ งขาเข้า (Inbound Transportation)
4. การรับและการเก็บรักษาสิ นค้า (Receiving & Storage)
5. การจัดการสิ นค้าวัตถุดิบคงคลัง (Raw Material Inventory
Management)
Physical Distribution
เป็ นกระบวนการจัดการตั้งแต่วตั ถุดิบผลิตออกมาเป็ นสิ นค้าสาเร็ จรู ป
บรรจุหีบห่อ เพื่อการขนส่ ง การเก็บรักษา การเคลื่อนย้าย ขนส่ ง
ประมวลผลการสัง่ ซื้อ สิ นค้าคงคลังและการส่ งมอบสิ นค้า
Physical Distribution (cont.)
1. การประมวลคาสัง่ ซื้อ (Order Processing)
2. การจัดการสิ นค้าคงคลัง (Finished goods inventory management) และ
คลังสิ นค้า (Warehousing Management)
3. การเคลื่อนย้ายพัสดุ (Material Handling)
4. การบรรจุหีบห่ อ (Packaging)
5. การขนส่ งขาออก (Outbound Transportation)
6. การบริ การลูกค้า (Customer Service)
Physical Distribution (cont.)
1. การประมวลคาสั่ งซื้อ (Order Processing)
• กระบวนการในการสั่งซื้อ
• กระทาโดยผ่านระบบ IT ต่างๆ เช่น โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต EDI เป็ นต้น
2. การจัดการสิ นค้ าคงคลัง (Finished goods inventory management)
• Inventory Management คือการเชื่อมโยงการวางแผนเข้ากับกับการปฏิบตั ิการ
การวางแผนความต้องการสิ นค้าที่จะเก็บสต็อกและการจัดการส่ งสิ นค้าให้กบั ลูกค้า
• คลังสิ นค้า เป็ นสถานที่จดั เก็บสิ นค้าก่อนส่ งไปให้ลกู ค้า โดยรวบรวมสิ นค้า
(Consolidation) จากโรงงานต่างๆ เพื่อส่ งให้ลกู ค้า
• ศูนย์กระจายสิ นค้า (Distribution Center) ทาหน้าที่เช่นเดียวกับคลังสิ นค้า เพียงแต่
เก็บรักษาในระยะสั้น
• Cross Dock
Before-After of Cross Docking
LTL : Less than Truckload
TL : Truckload
Physical Distribution (cont.)
3. การเคลือ่ นย้ ายวัสดุ/สิ นค้ า (Material Handling)
• เป็ นส่วนหนึ่งของบริ การคลังสิ นค้า ซึ่งเคลื่อนย้ายในระยะสั้น
• เคลื่อนย้ายเข้าคลัง เคลื่อนย้ายภายในคลัง และออกจากคลังสินค้า
4. การบรรจุหีบห่ อ (Packaging)
• มีความสาคัญด้านค่าใช้จ่ายและความปลอดภัยในตัวสิ นค้า
• การป้ องกันความเสี ยหาย (Damage Protection)
• การบรรจุจะต้องมีการสื่ อสารและถ่ายทอดข้อมูล
Physical Distribution (cont.)
5. การขนส่ งขาออก (Outbound Transportation)
• เป็ นจัดส่งให้กบั ลูกค้าโดยตรงหรื อเก็บไว้ตามคลังสิ นค้าหรื อศูนย์
กระจาย
6. การบริการลูกค้ า (Customer Service)
• ระบุประเภทของลูกค้า เช่นใครคือลูกค้าของเรา ทั้งลูกค้าภายในและ
ลูกค้าภายนอก
• เป้ าหมายของบริ ษทั คือ “ผลกาไร”
• แต่เป้ าหมายของลูกค้าคือ “ความพึงพอใจในบริ การ”
กิจกรรมหลักด้ านโลจิสติกส์
กิจกรรมการขนส่ ง (Transportation)
กิจกรรมการรับสิ นค้าคืนหรื อส่ งสิ นค้ากลับ (Reverse Logistics)
การจัดซื้อ (Purchasing)
การเลือกที่ต้ งั โรงงานและคลังสิ นค้า (Plant and Warehouse Site
Selection)
• การจัดเตรี ยมอะไหล่และชิ้นส่ วนต่างๆ (Part and Service Support)
• การจัดการด้านข้อมูล (Information Management)
• การบรรจุหีบห่อ/บรรจุภณ
ั ฑ์ (Packaging)
•
•
•
•
กิจกรรมหลักด้ านโลจิสติกส์
•
•
•
•
•
•
การบริ การลูกค้า (Customer Service)
การดาเนินการตามคาสัง่ ซื้อของลูกค้า (Order Processing)
การคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า (Demand Forecasting)
การบริ หารสิ นค้าคงคลัง (Inventory Management)
การบริ หารคลังสิ นค้า (Warehousing and Storage)
กิจกรรมการขนถ่ายวัสดุในการผลิต (Material Handling)
ตัวอย่ างกิจกรรมโลจิสติกส์
• บริ ษทั ผูผ้ ลิตเครื่ องดื่ม ผลิตเครื่ องดื่มหลากหลายประเภท และนามาบรรจุใส่ กล่องหรื อ
ลังเพื่อประโยชน์ทางการขายและการเคลื่อนย้ายสิ นค้า (การจัดการบรรจุภณ
ั ฑ์)
• ผูผ้ ลิตเครื่ องดื่มส่ งเครื่ องดื่ม เช่น โค้ก น้ าส้ม น้ าแดง ทั้งในรู ปแบบของขวดและ
กระป๋ องเข้าสู่ คลังสิ นค้า เพื่อตรี ยมกระจายสิ นค้าให้ลกู ค้า นับว่าเป็ นการขนส่ งขาเข้า
(กิจกรรมขนส่ ง)
ตัวอย่ างกิจกรรมโลจิสติกส์ (cont.)
• คลังสิ นค้านาสิ นค้าทั้งหมดที่ส่งมาจากโรงงานเข้าจัดเก็บในคลังสิ นค้า (กิจกรรม
คลังสิ นค้า) โดยมีการแยกสิ นค้าแต่ละประเภทออกจากกัน
• บริ ษทั ได้รับคาสั่งซื้ อจากร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ เช่น Big C, Lotus และร้านค้าส่ งใน
จังหวัดต่างๆ บริ ษทั จึงทาการนาเครื่ องดื่มประเภทต่างๆ ขึ้นรถบรรทุกไปส่ งให้ (กิจกรรม
การขนส่ งและการรับคาสั่งซื้ อ)
• เมื่อรถขนส่ งถึงร้านค้าเหล่านี้ พนักงานจะทาการขนสิ นค้าลงและจัดเข้าร้าน (กิจกรรมการ
กระจายสิ นค้า ช่องทางการกระจาย)
• เมื่อเครื่ องดื่มเหล่านี้ถกู จาหน่ายออกไป จะมีการคิดเงินโดยใช้ Barcode ข้อมูลของ
เครื่ องดื่มที่ขายไปจะวิง่ กลับมายังบริ ษทั ผลิตเครื่ องดื่ม ทาให้บริ ษทั ทราบว่าเครื่ องดื่มแต่
ละประเภทได้จาหน่ายออกไปแล้วเท่าใด ต้องนาไปส่ งเพิ่มหรื อไม่ (กิจกรรมด้านการ
จัดการข้อมูลสารสนเทศ)
ตัวอย่างกิจกรรมโลจิสติกส์ (cont.)
• เมื่อรถขนส่ งถึงร้านค้าเหล่านี้ พนักงานจะทาการขนสิ นค้าลงและจัดเข้าร้าน (กิจกรรมการ
กระจายสิ นค้า ช่องทางการกระจาย)
• เมื่อเครื่ องดื่มเหล่านี้ถกู จาหน่ายออกไป จะมีการคิดเงินโดยใช้ Barcode ข้อมูลของ
เครื่ องดื่มที่ขายไปจะวิง่ กลับมายังบริ ษทั ผลิตเครื่ องดื่ม ทาให้บริ ษทั ทราบว่าเครื่ องดื่มแต่
ละประเภทได้จาหน่ายออกไปแล้วเท่าใด ต้องนาไปส่ งเพิ่มหรื อไม่ (กิจกรรมด้านการ
จัดการข้อมูลสารสนเทศ)
ความสาคัญของโลจิสติกส์
• การปรับปรุ งประสิ ทธิผลของกระบวนการด้านโลจิสติกส์ จะส่ งผลต่อการ
ปรับปรุ งสภาพเศรษฐกิจโดยรวมให้ดีข้ ึนได้
• การจัดการโลจิสติกส์ที่ดีจะส่ งเสริ มการพัฒนาประสิ ทธิภาพและผลิตภาพ
การผลิตของภาคอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
• โลจิสติกส์เป็ นการเพิ่มอรรถประโยชน์ทางด้านเวลาและสถานที่
วัตถุประสงค์ ของการบริหารจัดการโลจิสติกส์
•
•
•
•
•
•
•
Low Cost
Time Deliveries
Shorten Lead Time
Meeting Customer Requirement / Expectation
Being Flexibility and Responsiveness
Good Supportive Roles
Adding Product / Service Value
การขนส่ ง ( Transportation )
• เป็ นการเคลื่อนย้ายสิ นค้าและบริ การจากแหล่งผูผ้ ลิตหรื อผูจ้ ดั เก็บ ไปยัง
ลูกค้าในระดับต่างๆ
• ด้วยยานพาหนะ เครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ในการขนส่ งจากที่แห่งหนึ่งไปยัง
อีกแห่งหนึ่ง ตามความประสงค์และเกิดอรรถประโยชน์ตามต้องการ
• เป็ นอุตสาหกรรมบริ การชนิดหนึ่งที่สาคัญมากต่อการดารง
ชีวิตประจาวันและธุรกิจทุกแขนง
ขอบเขตและหน้ าที่ของการขนส่ ง
Supply
Production Support
การ ขนส่ งจะท าหน้ า ที่ ในการ
เคลื่อนย้ายปั จจัยการผลิต (Supply)
ต่างๆ เพื่อนาไปผลิตเป็ นสิ นค้าหรื อ
บริ การต่อไป
Plants
Customer
Marketing Support
การ ขนส่ งจะท าหน้ า ที่ ในการ
เ ค ลื่ อ น ย้ า ย สิ น ค้ า ห รื อ บ ริ ก า ร
(Products) ต่างๆ เพื่อตอบสนอง
ความต้องการลูกค้า
การพัฒนาการขนส่ ง
(Transportation Development)
Reduce
Transportation
Time
Increase
Safety
Reduce
Transportation
Cost
Efficiency of Transportation
การวัดประสิ ทธิ ภาพในการขนส่ ง ต้องวัดจากความรู ้สึก หรื อ วัดจากความพึงพอใจใน
สายตาลูกค้าในเรื่ องต่างๆ ดังนี้
Economy
Speed
Safety
Efficiency
Certainly
Comfortable
โครงสร้ างของระบบขนส่ ง
(Transportation Structure)
• แบ่ งตามกิจกรรมการผลิต
1. การขนส่ งขาเข้า (Inbound Transportation)
-เป็ นการขนส่ งสิ นค้า (วัตถุดิบ ส่ วนประกอบ สิ นค้าสาเร็ จรู ป เป็ นต้น) จาก
facility อื่นๆ เข้ามายัง facility
2. การขนส่ งขาออก (Outbound Transportation)
-เป็ นการขนส่ งสิ นค้าออกจาก facility หนึ่ง ไปยัง facility อื่นๆ
3. การขนส่ งระหว่างประเทศ (International Transportation)
-เป็ นการขนส่ งสิ นค้าระหว่างประเทศ
-ระยะทางไกล อาศัยผูใ้ ห้บริ การในระดับสากล เช่น เรื อเดินสมุทร เครื่ องบิน เป็ น
ต้น
• แบ่ งตามด้ านกายภาพ
1. การขนส่ งทางรถยนต์ (Motor Transportation)
-ใช้รถบรรทุกสิ นค้าในการขนส่ ง
2. การขนส่ งทางราง (Rail Transportation)
-เป็ นการขนส่ งผ่านระบบราง คือ รถไฟหรื อรถราง
-มีขอ้ จากัดในด้านสถานที่ต้ งั ของสถานีบริ การ
-มีตน้ ทุนการขนส่ งต่า
-บรรทุกสิ นค้าได้ครั้งละมากๆ ไม่ตอ้ งการความรวดเร็ ว
3. การขนส่ งทางน้ า (Water Transportation)
-เป็ นการขนส่ งทางเรื อ
-ขนส่ งได้ครั้งละมากๆและใช้เชื้อเพลิงต่า  ประหยัดที่สุด
-เป็ นระบบขนส่ งหลักของการขนส่ งระหว่างประเทศ
4. การขนส่ งทางอากาศ (Air Transportation)
-เป็ นการขนส่ งทางเครื่ องบิน
-ใช้สาหรับการขนส่ งระยะทางไกลๆและต้องการความรวดเร็ วสูง
-มีตน้ ทุนการขนส่ งสูงที่สุด
-ใช้กบั สิ นค้าที่มีราคาแพง มีน้ าหนักและปริ มาตรน้อย และต้องการความ
รวดเร็ ว
5. การขนส่ งทางท่อ (Pipeline Transportation)
-เป็ นการขนส่ งทางระบบท่อ
-มีการกาหนดตาแหน่งที่ต้ งั ของสถานที่รับและส่ งสิ นค้าทีแ่ น่นอน
-ใช้กบั การขนส่ งของเหลวและของไหล เช่น น้ ามัน ก๊าซธรรมชาติ
น้ าประปา
การขนส่ งร่ วม (Intermodal Transportation)
-เป็ นการขนส่ งสิ นค้าจากต้นทางไปยังปลายทางโดยใช้ช่องทางการขนส่ ง
มากกว่า 1 ช่องทาง
-ขนส่ งปูนซิเมนต์จากโรงงานที่สระบุรีไปกรุ งเทพฯโดยใช้รถไฟ แล้วขนส่ ง
ปูนซิเมนต์โดยใช้รถบรรทุกไปยังตัวแทนจาหน่ายต่างๆ
ต้ นทุนการขนส่ ง
1. ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
2. ต้นทุนแปรผัน (Variable Cost)
52
ปัจจัยด้ านต้ นทุนการขนส่ ง
การเพิ่มหรื อลดของต้นทุนการขนส่ ง มาจากปัจจัย 2 ปัจจัย
1. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ (Product Related Factors)
-เป็ นปัจจัยของลักษณะของสิ นค้าที่มีผลต่อต้นทุนการขนส่ ง
• คุณลักษณะทางกายภาพ
• คุณลักษณะด้านการจัดเก็บ (Stow Ability)
• ความยากง่ายในการขนถ่าย (Ease/Difficulty pf Handling)
• ความรับผิดชอบหรื อการรับประกันของเสี ยหาย (Liability)
53
2. ปัจจัยด้านตลาด (Market Related Factors)
-เป็ นปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่ทาการขนส่ ง
• ที่ต้ งั ของตลาด
• การเชื่อมโยงระหว่างช่องทางการขนส่ งต่างๆ
• ความสมดุลระหว่างสิ นค้าขาไปและขากลับ
• การขนส่ งในประเทศและต่างประเทศ
54
การขนส่ งกับแหล่ งอุตสาหกรรม
• การขนส่ งมีความสัมพันธ์กบั กิจการทุกประเภทในห่ วงโซ่อุปทาน อัตราค่าขนส่ งจึ ง
ถูกรวมเป็ นต้นทุนการผลิตด้วยเสมอ
• การพิ จารณาว่าทาเลที่ ต้ งั ของแหล่ งอุ ตสาหกรรมต่ างๆ ให้เหมาะสมกับ ต้นทุ นค่ า
ขนส่ ง จึงมีความสาคัญกับทุกๆ อุตสาหกรรม
ใกล้
แหล่งวัตถุดิบ
ใกล้
โรงงาน / แหล่งอุตสาหกรรม
ตลาดหรื อลูกค้ า
• โรงงานแห่งหนึ่ งผลิตสิ นค้าโดยแหล่งวัตถุดิบอยูห่ ่ างตลาดเป็ นระยะทาง 100 กม.
อัตราค่าบริ การขนส่ งทั้งวัตถุดิบและสิ นค้าสาเร็ จรู ปราคาเท่ากันทั้งสองอย่าง คือ 2
$ ต่อกิโลเมตร ในการผลิตสิ นค้าใช้วตั ถุดิบ 120 ตัน แต่เมื่อผลิตเป็ นสิ นค้าแล้ว
น้ าหนักจะลดลง 25%
• สมมติวา่ น้ าหนักวัตถุดิบเท่ากับ 120 ตัน น้ าหนักสิ นค้าจะเท่ากับ 90 ตัน (120 x
25% = 30)
• ควรจะเลือกตั้งโรงงานในสถานการณ์อย่างไร
– ตั้งไว้ ณ จุดกึ่งกลางพอดี
– ตั้งใกล้ตลาด
- ใกล้วตั ถุดิบ
กรณีที่ 1 ตั้งไว้ ณ จุดกึง่ กลางพอดี
50 km
50 km
ค่ าขนส่ งจากแหล่ งวัตถุดบิ ไปยังโรงงาน = 2x120x50=12,000 $.
ค่ าขนส่ งจากโรงงานไปยังตลาดลูกค้ า = 2x90x50 = 9,000 $.
ค่ าขนส่ งในกรณีท่ ี 1 รวมทัง้ สิน้
= 21,000 $.
กรณีที่ 2 ตั้งใกล้ แหล่ งตลาด
70 km
30 km
ค่ าขนส่ งจากแหล่งวัตถุดิบไปยังโรงงาน = 2x120x70=16,800 $.
ค่ าขนส่ งจากโรงงานไปยังตลาดลูกค้ า = 2x90x30 = 5,400 $.
ค่ าขนส่ งในกรณีที่ 2 รวมทั้งสิ้น
= 22,200 $.
กรณี ที่ 3 ตั้งใกล้แหล่งวัตถุดิบ
30 km
70 km
ค่ าขนส่ งจากแหล่งวัตถุดิบไปยังโรงงาน = 2x120x30= 7,200 $.
ค่ าขนส่ งจากโรงงานไปยังตลาดลูกค้ า = 2x90x70 = 12,600 $.
ค่ าขนส่ งในกรณีที่ 3 รวมทั้งสิ้น
= 19,800 $.
สรุ ป ควรตั้งโรงงานไว้ใกล้แหล่งวัตถุดิบ เพราะให้ค่าใช้จ่ายขนส่ งต่าสุ ด
รูปแบบของการบริการขนส่ ง
• ต้นทุนของการขนส่ งระหว่างประเทศจะอยูใ่ นราว 35-50% ของต้นทุนใน
การกระจายสิ นค้า และอยูใ่ นราว 20% ของต้นุทนกิจการทั้งหมด
• การเลือกวิธีการขนส่ งที่ดีจะช่วยลดต้นทุนได้ ดังนั้นจึงควรเลือกรู ปแบบการ
ขนส่ งที่เหมาะสมต่อสภาพสิ นค้า เส้นทางคมนาคม ระยะเวลาที่ลูกค้ารอ
คอย ค่าใช้จ่ายหรื องบประมาณที่เหมาะสม ซึ่งประกอบด้วย
– ยานพาหนะส่ วนตัว (Private Carrier)
– ยานพาหนะสาธารณะ (Common Carrier)
– ยานพาหนะทีท่ าสั ญญา (Contact Carrier)
ธุรกิจขนส่ ง
(logistics Business)
ธุ ร กิ จ ข น ส่ ง ใ น ปั จ จุ บั น มี บ ท บ า ท ส า คั ญ กั บ ทุ ก
อุตสาหกรรมทั้งในระดับประเทศและระดับโลก
ธุรกิจขนส่ งเหล่านี้มี ยานพาหนะ หลากหลายรู ปแบบ ทั้ง
เครื่ องบิ น เรื อขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก รถยนต์รถบรรทุ ก
รถกระบะ รถตู้ คอนเทนเนอร์ และพนักงานส่ งของที่ มี
ประสิ ท ธิ ภ าพ สามารถส่ ง สิ น ค้า ทั่ว โลกได้ ใ นเวลา
อันรวดเร็ว คุม้ กับค่าขนส่ งที่ค่อนข้างราคาแพง