สถาปัตยกรรมของ Electronic Mail

Download Report

Transcript สถาปัตยกรรมของ Electronic Mail

บทที่ 3
เทคโนโลยีการสื่ อสารข้ อมูลบนอินเทอร์ เน็ต
DNS (Domain Name System)
DNS (Domain Name System)
Domain name เป็ นชื่อที่ใช้เรี ยกเครื่ องคอมพิวเตอร์ในเครื อข่าย
แทนหมายเลข IP Address การติดต่อสื่ อสารบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
จาเป็ นต้องระบุตาแหน่งของต้นทางและปลายทาง โดยใช้ชุดตัวเลข
ของ IP Address ที่จาจาค่อนข้างยาก ทาให้มีการพัฒนาระบบ Domain
Name ขึ้น เพื่อให้มีระบบการจัดการกับ Domain Name ที่เป็ น
มาตรฐาน และทิศทางเดียวกัน ระบบดังกล่าวเรี ยกว่า “DNS (Domain
Name System” หรื อระบบการตั้งชื่อโดเมน ซึ่งช่วยให้การกาหนดชื่อ
ของที่อยูด่ งั กล่าวนั้นสามารถอ้างอิงได้สะดวกยิง่ ขึ้น โดย DNS จะทา
หน้าที่คน้ หาหมายเลข IP จากชื่อที่ได้จด Domain Name นั้นไว้
DNS (Domain Name System)
การตั้งชื่อด้วยระบบ DNS จะช่วยให้การจัดการกับเครื อข่ายหรื อ
เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีอยูจ่ านวนมากในเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตมีความ
เป็ นระเบียบมากยิง่ ขึ้น อีกทั้ง Domain Name ยังแสดงให้เห็นถึง
รายละเอียดเบื้องต้นของเว็บไซต์ได้ดว้ ย
DNS (Domain Name System)
การทางานของระบบชื่อโดเมนนั้น เริ่ มต้นจากเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ซ่ ึงทาหน้าที่เป็ น DNS Server ซึ่งทางานด้วยซอฟแวร์
พิเศษชื่อว่า BIND ที่ทาหน้าที่ในการรับส่ งข้อมูลระหว่าง DNS
Server เมื่อมีคาร้องขอให้สืบค้นหมายเลข IP Address โดย DNS
Server สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทคือ
1. Name Resolver
2. Domain Name Space
3. Name Server
DNS (Domain Name System)
1. Name Resolver เป็ นส่ วนที่ทาหน้าที่แปลงจากชื่อให้กลายเป็ น
หมายเลข IP ซึ่งอาจเป็ นซอฟแวร์ที่ถูกสร้างมากับแอปพลิเคชันที่ใช้
งาน โดยส่ วนนี้จะช่วยสนับสนุนให้เครื่ อง Client ที่ตอ้ งการ
ติดต่อสื่ อสารสามารถเชื่อมต่อไปยังเครื่ องหมายปลายทางที่มี
Domain Name ตามที่ระบุไว้ ซึ่งจุดประสงค์ที่แท้จริ งของเครื่ อง
Client คือ ต้องการทราบหมายเลข IP ของ Domain Name ดังกล่าว
โดย Resolver เครื่ องนี้จะคอยถามคาถามว่า ชื่อโดเมนมี IP Address
คือหมายเลขใด โดยจะถามหาคาตอบจาก Name Server
DNS (Domain Name System)
2. Domain Name Space เป็ นส่ วนที่ใช้แบ่งระหว่าง Domain Name
หลักและย่อย ซึ่งแต่ละโดเมนจะมีชื่อและสามารถมีโดเมนย่อยแยก
ออกมาได้อีก โดยการเรี ยกชื่อ Domain Name ทั้งหมดจะใช้
เครื่ องหมาย “.” คัน่ ระหว่างแต่โดเมน Domain Name Space จะถูก
แยกตามระดับของโดเมนตั้งแต่โดเมนหลักที่อยูร่ ะดับบนสุ ด และ
โดเมนย่อยที่อยูร่ ะดับล่างลงมา
DNS (Domain Name System)
3. Name Server เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่จดั การ
ฐานข้อมูล โดย Name Server จะค้นหาโดเมนภายในฐานข้อมูลของ
ตนเมื่อมีการร้องขอมา หรื อคอยตอบคาถามเวลามี Resolver ถามว่า
ชื่อโดเมนมี IP Address คือหมายเลขใด โดยจะทาการแปล ชื่อ URL
เป็ นหมายเลข IP Address เพื่อที่จะได้ทราบว่าที่อยู่ URL นั้น อยูท่ ี่
Server ใด ซึ่งสามารถทาได้ดว้ ย Name server เพียงอันเดียว แต่การ
กาหนดให้แต่ละโดเมนต้องมีอย่างน้อย 2 Name server ถือว่าเป็ น
Back-up system เพราะถ้า Primary name server (เสิ ร์ฟเวอร์หลัก)
ไม่วา่ งในการค้นหา Secondary name server (เสิ ร์ฟเวอร์รอง) จะเข้า
มาทาหน้าที่แทนทันที
DNS Server
ระบบ DNS จาเป็ นต้องมีฐานข้อมูลที่คอยเก็บรายชื่อโดเมนไว้ เพื่อใช้ใน
การจัดการและค้นหาเมื่อมีการร้องขอจาก Client ซึ่ งการจัดการดังกล่าว
จะต้องมีเครื่ อง Server คอยทาหน้าที่น้ ีโดยเฉพาะ และมีซอฟแวร์ ทชี่ ่วยในการ
ตรวจสอบว่า Domain Name ตรงกับหมายเลข IP ใด โดย DNS Server จะต้อง
มีคุณสมบัติดงั นี้
1. Redundacy มีความน่าเชื่อถือและมีความต่อเนื่องในการติดต่อสื่ อสาร
2. Distribution เสิ ร์ฟเวอร์รองสามารถกระจายข้อมูลที่เดินทางมายัง
เซิ ร์ฟเวอร์ หลักได้ เพื่อให้ปริ มาณข้อมูลไม่หนาแน่นจนเกินไป
3. Load Balancing เนื่องจาก Server รองสามารถแบ่งเบาภาระและกระจาย
ข้อมูลของ Server หลัก ช่วยให้ Server ตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้ได้
เร็ วมากขึ้น
กระบวนการทางานของ DNS Server
ในกรณี ที่เครื่ องในองค์กรของเรา ต้องการติดต่อ
www.facebook.com
1. เครื่ อง Client จะขอ IP Address ไปที่ DNS Server ถ้าไม่พบ IP
Address จะขอ IP Address กับ DNS Server ในลาดับที่สูงกว่า เช่น
ISP
2. DNS Server ของ ISP ค้นหา IP Address ต่อไป ถ้าไม่พบ จะต้อง
ส่ งต่อไปที่ Root Domain Server ที่ Root Domain Server ต้องเจอ
แน่นอนเพราะเป็ นสถานที่สุดท้าย
กระบวนการทางานของ DNS Server (ต่ อ)
3. เมื่อเจอจะได้ IP Address ของ
www.facebook.com และแจ้งไปที่ Domain Server
ของ ISP ทราบ และจัดเก็บไว้
4. Domain Server ของ ISP จะส่ งต่อไปที่ DNS
Server ของ Client และแจ้ง IP Address ไปที่
Client
5. เมื่อ Client ได้ IP Address ของ
www.facebook.com แล้ว จะติดต่อกับ IP Address
ได้โดยตรง โดยการรับส่ งข้อมูลจะใช้ Protocal
TCP
ข้ อจากัดของระบบ DNS
รับรู ้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set)
สัญลักษณ์ที่ใช้ได้ในโดเมนเนม คือ
(1) ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive)
(2) เลข 0 – 9
(3) เครื่ องหมายยติภงั ค์ (-)
Electronic Mail (E-Mail)
Electronic Mail (E-Mail)
ฟังก์ชนั การทางานของ E-Mail มีดงั นี้
1. Composition เป็ นฟังก์ชนั ที่ช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถกาหนดรู ปแบบ
ของข้อความผ่าน Text Editor ทาให้ผใู ้ ช้สามารถสร้างจดหมายที่มี
ความน่าสนใจ สามารถจัดวางองค์ประกอบและนารู ปแบบที่
น่าสนใจแทรกลงในเนื้อหาของจดหมายได้ง่าย
2. Transfer E-mail จะถูกส่ งโดยโปรโตคอล TCP/IP ซึ่งเป็ น
โปรโตคอลที่น่าเชื่อถือในการรับส่ งข้อมูลผ่านเครื อข่าย จึงมัน่ ใจ
ได้วา่ E-Mail จะเดินทางไปถึงยังผูร้ ับ
Electronic Mail (E-Mail)
3. Reporting การส่ ง E-mail ทุกครั้งจะมีการรายงานสถานะของผู ้
ส่ งให้ทราบว่า E-mail เดินทางไปยังผูร้ ับหรื อไม่ หากเกิด
ข้อผิดพลาดจะมีขอ้ ความแจ้งเตือนผูส้ ่ งให้ทราบว่า E-mail ดังกล่าว
ไม่สามารถส่ งไปยังปลายทางได้ ในบางกรณี E-mail อาจถูกตี
กลับมาโดยผูใ้ ห้บริ การเอง และแจ้งรายละเอียดให้ทราบ
4. Displaying ฟังก์ชนั ช่วยในการแสดงผลของ E-mail ให้น่าสนใจ
มากขึ้น โดยอาจมีหน้าต่างแจ้งเตือนบนหน้าจอให้ผใู ้ ช้ทราบว่า
ขณะนี้มี E-mail ส่ งมาถึงผูใ้ ช้ และทาให้ผใู ้ ช้สามารถทราบสถานะ
ของตูจ้ ดหมาย (Inbox) ของตนเองได้
Electronic Mail (E-Mail)
5. Disposition ผูใ้ ช้สามารถจัดการกับจดหมายในตูจ้ ดหมายของ
ตนเองได้ โดยผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ สามารถ ลบ หรื อจัดเก็บ
จดหมายได้ รวมทั้งส่ งต่อ (Forward) ฟังก์ชนั นี้ช่วยให้ผใู ้ ช้ควบคุม
ตูจ้ ดหมายได้
สถาปัตยกรรมของ Electronic Mail
การติดต่อสื่ อสารด้วย E-mail จะใช้รูปแบบของการจ่าหน้าด้วยที่อยู่
เรี ยกว่า “E-mail Address” ซึ่งมีรูปแบบคือ
Username
@
Domain Name
Username จะเป็ นชื่อเจ้าของ E-mail ที่สามารถกาหนดชื่อเองได้
สาหรับ Domain Name จะเป็ นชื่อของผูใ้ ห้บริ การ หรื อชื่อองค์กรที่
จดโดเมนเนม โดยจะถูกคัน่ ด้วยเครื่ องหมาย @ ซึ่งถือเป็ นเอกลักษณ์
เฉพาะของรู ปแบบ E-Mail
สถาปัตยกรรมของ Electronic Mail
กล่องจดหมาย (Mailbox) เปรี ยบเหมือนฐานข้อมูลในการจัดเก็บ EMail ทั้งหมดที่ผใู ้ ช้มี โดยข้อมูลจะถูกจัดเก็บไว้ในกล่องจดหมาย
จนกว่าผูใ้ ช้จะลบออกไป แอปพลิเคชันของ E-mail บางตัวจะเก็บ EMail ที่ผใู ้ ช้ลบไว้ช่วงหนึ่งแล้วค่อยลบทิ้ง
User Agent เป็ นโปรแกรมสาหรับให้ผใู ้ ช้ อ่าน สร้าง แก้ไข และ
เลือกวิธีการส่ งอีเมล์ ปกติโปรแกรม User Agent จะแสดงข้อมูลของ
จดหมายต่างๆ ใน Mailbox ตัวอย่างของ User Agent เช่น Microsoft
Outlook และ Edura
สถาปัตยกรรมของ Electronic Mail
มาตรฐานของ Message ประกอบด้ วย Header ต่ างๆ ดังนี้
Header
To:
Cc:
Bcc:
รายละเอียด
E-mail Address หรื อที่อยูข่ องผูร้ ับ โดยสามารถส่ งให้ผรู ้ ับได้หลายคน
E-mail Address หรื อที่อยูข่ องผูร้ ับที่ตอ้ งการส่ งสาเนาข้อมูลของผูร้ ับ
E-mail Address หรื อที่อยูข่ องผูร้ ับ โดยผูร้ ับจะไม่ทราบอีเมล์ที่ส่งมาให้
ถูกส่ งไปให้กบั ผูอ้ ื่นด้วย
From: ผูท้ าหน้าที่สร้าง Message
Sender: ผูท้ าหน้าที่ส่งอีเมล์
Received: บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับรหัส วัน เวลาของอีเมล์ที่ได้รับ
E-Mail Transfer Protocal
SMTP (Simple Mail Transfer Protocal) เป็ นโปรโตคอลที่มี
หน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับส่ ง E-mail โดยตรง โดยเป็ นตัวขนส่ ง
E-Mail จาก SMTP Server ของฝั่งผูส้ ่ งไปยัง SMTP Server ของฝั่ง
ผูร้ ับ SMTP จะอาศัย TCP/IP ในการขนส่ งข้อมูล โดยจะบรรจุ
แพ็กเกจข้อมูลของ TCP/IP ตั้งแต่ระดับชั้น Application Layer
E-Mail Transfer Protocal
POP3 (Post Office Protocol version 3) หรื อที่นิยมเรี ยกสั้น ๆ ว่า
“ป็ อป” คือโปรโตคอลที่ใช้ในการรับอีเมลจากเซิร์ฟเวอร์ โดย
สามารถกูอ้ ีเมล์ที่ส่งมาจาก Server ในขณะที่เครื่ องของผูร้ ับไม่ได้
เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยมีการทางานร่ วมกับโปรโตคอล
TCP/IP ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ตจะเปิ ดให้บริ การอ่านอีเมลแบบ
POP3
POP3 ถูกออกแบบสาหรับใช้ในการเปิ ดอีเมล์ เพื่อดาวน์โหลด
ข้อมูลจากเมล์บอ็ กมายังเครื่ องผูร้ ับ โดยผูใ้ ช้สามารถดาวน์โหลด
อีเมล์มาเก็บไว้ และอ่านได้ในภายหลัง โดยที่ไม่ตอ้ งเชื่อมต่อกับ
อินเทอร์เน็ต
E-Mail Transfer Protocal
SMTP แตกต่ างกับ POP อย่ างไร ?
POP จะส่ ง E-Mail ได้โดยไม่ตอ้ งคานึงถึงผูร้ ับว่าจะเชื่อมต่อกับ
อินเทอร์เน็ตหรื อไม่ แต่ SMTP Server จาเป็ นต้องเชื่อมต่อกับ
อินเทอร์เน็ตตลอดเวลา เนื่องจากต้องอาศัยการสร้างเส้นทางการ
เชื่อมต่อของ TCP นัน่ เอง หากปราศจากการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
จะไม่สามารถส่ งอีเมล์ได้
ดังนั้นโอกาสที่เครื่ องผูร้ ับปลายทางไม่ได้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตมี
ค่อนข้างสูง ดังนั้น POP จึงมีความสาคัญมาก ช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถ
ติดต่อสื่ อสารได้ตลอดเวลา
การทางานของ Electronic Mail
การทางานของ Mail Server
เริ่ มจากที่เมล์ถูกส่ งไปยังเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เป็ น Mail Server ซึ่ง
จะทาหน้าที่ต่อ ในการส่ งไปยัง E-Mail Address ที่ระบุ เมื่อผูร้ ับเข้า
มารับอีเมล์น้ นั Mail Server จะแจ้งให้ทราบว่ามีอีเมล์ใหม่กี่ฉบับ
โดย Mail Server จะดูจาก DNS (Domain Name Service) ถ้า Mail
Server เกิดปัญหาในขณะส่ ง หรื อไม่สามารถส่ งถึงผูร้ ับ อีเมล์จะถูก
ส่ งกลับมาพร้อมการแจ้งสาเหตุที่ไม่สามารถส่ งถึงผูร้ ับได้ โดย
อัตโนมัติ
การทางานของ Electronic Mail
กระบวนการทางานของอีเมล์ แบ่ งออกเป็ น 3 ขั้นตอน คือ
1. การส่ งอีเมล์ การส่ งอีเมล์น้ นั จะต้องเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต
เพื่อเข้าไปใช้งาน เมล์เซิร์ฟเวอร์ที่สามารถส่ งอีเมล์ได้ เมื่อกดส่ ง
อีเมล์จะถูกส่ งไปที่เมล์ Server ทันที โดยโปรโตคอลที่ใช้ในการส่ ง
อีเมล์เรี ยกว่า SMTP (Simple Mail Transfer Protocol)
การทางานของ Electronic Mail
กระบวนการทางานของอีเมล์ แบ่ งออกเป็ น 3 ขั้นตอน คือ
2. การเดินทางไปยังเซิร์ฟเวอร์ เมื่อผูส้ ่ งเขียนหรื อพิมพ์อีเมล์เสร็ จ
แล้ว คอมพิวเตอร์จะส่ งอีเมล์ไปให้ SMTP เซิร์ฟเวอร์ เซิร์ฟเวอร์จะ
ค้นหาและตรวจสอบชื่อ-ที่อยูข่ องผูร้ ับจาก DNS จากนั้น DNS
Server จะส่ งผลที่ตอ้ งการกลับมาโดยแจ้งเครื่ องที่จะรับเมล์ และ
Mail Server จะจัดส่ งอีเมล์ไปยัง Mail Server ปลายทาง อีเมล์ของ
ผูร้ ับอีเมล์จะรออยูท่ ี่เมล์เซิร์ฟเวอร์จนกระทัง่ ผูร้ ับมารับไป
การทางานของ Electronic Mail
กระบวนการทางานของอีเมล์ แบ่ งออกเป็ น 3 ขั้นตอน คือ
3. ผู้รับ ปลายทาง ผูร้ ับปลายทางจะมีชื่อ-ที่อยูบ่ นอินเทอร์เน็ตซึ่ง
สามารถขอรับบริ การขอที่อยูไ่ ด้ที่ผใู ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ต หรื อ ISP
ทุกแห่ง อีเมล์จะอยูท่ ี่เมล์บอ็ กซ์ตามจานวนวัน เวลาที่ได้รับ รอ
จนกว่าผูร้ ับเรี ยกอีเมล์ไปอ่านและลบออก อีเมล์จึงจะหายไป เรา
สามารถพิมพ์อีเมล์ไปบนกระดาษทางเครื่ องพิมพ์ หรื อเก็บอีเมล์ไว้
บนฮาร์ดิสก์ไว้อ่านทีหลังได้
การทางานของ Electronic Mail
การทางานของ Electronic Mail
FTP (File Transfer Protocal)
FTP (File Transfer Protocal)
FTP (File Transfer Protocal) เป็ นโปรโตคอลที่มีหน้าที่เกี่ยวกับ
การถ่ายโอนไฟล์ขอ้ มูลต่างๆ ระหว่างสองเครื่ อง โดย FTP ถือว่าเป็ น
โปรโตคอลรุ่ นเก่าที่เกิดมาพร้อมกับเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต มี
จุดประสงค์เพื่อแบ่งปันไฟล์ขอ้ มูล ด้วยเหตุน้ ีทาให้ FTP ยังคงนิยม
ให้กนั อย่างแพร่ หลายจนถึงปัจจุบนั
FTP เป็ นโปรโตคอลที่ทางานอยูใ่ นระดับ Application Layer หาก
ผูใ้ ช้โอนไฟล์ไปเก็บไว้ที่ FTP Server เรี ยกว่า Upload ส่ วนการที่
ผูใ้ ช้ดึงไฟล์จาก FTP Server มายังเครื่ อง Client เรี ยกว่า Download
FTP (File Transfer Protocal)
การใช้ งาน FTP ผูใ้ ช้จะต้องมีแอปพลิเคชัน่ สาหรับ FTP เพื่อใช้ใน
การติดต่อกับ FTP Server ซึ่งต้องมีการระบุที่อยูข่ อง FTP Server ที่
ใช้บริ การด้วย โดยเข้าใช้บริ การด้วย User Name และ Password
หลังจากนั้นดาเนินการเชื่อมต่อด้วย TCP และตรวจสอบความ
ถูกต้องในการเข้าใช้งานต่อไป
FTP (File Transfer Protocal)
จากรู ปแสดงถึงการทางานของโปรโตคอล FTP จะเริ่ มจากผูใ้ ช้ (USER) เรี ยกใช้
โปรแกรมผ่าน User Interface เครื่ อง Client จะส่ งคาร้องขอดาวน์โหลดไฟล์ที่
ต้องการไปยัง FTP Server เมื่อ FTP Server ได้รับคาร้องขอดังกล่าวก็จะจัดเตรี ยม
ไฟล์ขอ้ มูล และส่ งไปยังเครื่ อง Client ที่ร้องขอ
FTP (File Transfer Protocal)
ช่องทางที่ใช้รับคาสั่งระหว่าง Client กับ Server เรี ยกว่า “Control
Connection” และช่องทางที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ขอ้ มูลระหว่าง Client กับ Server
เรี ยกว่า “Data Transfer Connection” ซึ่ งแต่ละช่องทางเป็ นการสร้างเส้นทาง
เชื่อมต่อด้วย TCP/IP การแบ่งช่องทางการเชื่อมต่อนี้ทาให้ FTP มีประสิ ทธิภาพ
สู งในการถ่ายโอนไฟล์ขอ้ มูล
Client/Server System
Client/Server System
ในการทางานของ Webpage จะอาศัย การทางานในลักษณะ
Client/Server คือ ระบบคอมพิวเตอร์ จะต้องมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ 2 ส่ วนที่
ทางานร่ วมกันผ่านระบบเครื อข่าย ซึ่ งได้แก่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่
เป็ น Server และเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่เป็ น Client
โดยปกติ เครื่ อง Server เพียงเครื่ องเดียว ส่ วน Client จะมีจานวน
ตั้งแต่ 2 เครื่ องขึ้นไป ด้วยเหตุผลดังกล่าวในระบบ Webpage ก็จาเป็ น
จะต้องมีโปรแกรมที่ทางานอยูบ่ นเครื่ อง Server และโปรแกรมที่ทางานบน
เครื่ อง Client.
Web Server / Browser
คอมพิวเตอร์ ที่เป็ น Server ในความหมายของ Internet คือ เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งโปรแกรม Web Server เช่น โปรแกรม Internet
Information Server (IIS), Personal Web Server (PWS),Apache (Freeware)
ไว้
ส่ วนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เป็ น Client จะได้แก่เครื่ องที่มีการติดตั้ง
โปรแกรม Browser เช่น โปรแกรม Internet Explorer, Netscape ไว้
Web Server / Browser
ซึ่งในกรณี ที่เครื่ องที่ทาหน้าที่เป็ น Web Server และ Client อยูก่ นั คน
ละเครื่ อง จะเรี ยกการติดต่อระหว่างเครื่ อง Web Server กับ Client ว่าเป็ น
การติดต่อแบบ Remote Connection
Server
Remote
Client
แต่ถา้ เครื่ องที่ทาหน้าที่เป็ น Web Server และ Client อยูใ่ นเครื่ อง
เดียวกัน จะเรี ยกการติดต่อระหว่าง Web Server กับ Client ว่าเป็ นการติดต่อ
แบบ Local Connection
37
Web Server / Browser
การทางานของโปรแกรม Web Server และโปรแกรม Web Browser
จะมีการทางานที่สมั พันธ์กนั คือ
Browser จะเป็ นส่ วนติดต่อกับผูใ้ ช้ จึงมีหน้าที่รับข้อมูลจากผูใ้ ช้ และ
นาข้อมูลที่ส่งกลับมาจาก Web Server มาแสดงผล
Client
Web Server
Browser
38
Web Server / Browser
ส่ วนหน้าที่หลักของ Web Server คือ จะทาการจัดเก็บ, ประมวลผล
และทาการส่ งข้อมูลของ Web Pages ไปแสดงผลที่ Web Browser ตาม
ความต้องการที่ส่งมาจากโปรแกรม Web Browser
Web Server
ส่งข้อมูลตามที่ร้องขอ
Client / Browser
ร้องขอข้อมูล
HTML, CGI, Image…
39
Static Web Page
ในยุคแรก Web Page จะอยู่
ในรู ปแบบของ Static Web Page
ซึ่ งเป็ นเพ็ จ ที่ ต อบสนองความ
ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู ้ ใ ช้ อ ย่ า ง จ า กั ด
เนื่ อ งจากการกระท าต่ า งๆ ได้ถู ก
กาหนดไว้ล่วงหน้าเท่านั้น ดังนั้น
รู ปแบบของเพ็จจะเป็ นแบบเดิมอยู่
เสมอไม่ ว่ า ผูเ้ รี ย กเพ็จ นั้น จะเป็ น
ใคร , เวลาใด หรื อ เข้า มาดู จ ากที่
ไหน
Static web page
40
Dynamic Web Page
เว็บไซต์แบบ Dynamic คือเป็ นเว็บที่ผใู ้ ช้
หรื อผูด้ ูแลเว็บ(Web Master) สามารถที่จะ
update ข้อมูลในเว็บไซต์สามารถโต้ตอบกับ
ผูใ้ ช้ได้ โดยอาศัยหลักการของ CGI หรื อ
Common Gateway Interface คือ การรับข้อมูล
จาก Client ไปประมวลผลที่ Server และส่ ง
ผลลัพธ์กลับไปให้ Cilent ภาษาโปรแกรมที่
สนับสนุนหลักการทางานของ CGI มีหลาย
ภาษา แต่ที่ใช้กนั โดยส่ วนใหญ่ มีอยูก่ นั 3 ภาษา
หลัก ๆ ได้แก่ Perl PHP ASP
41
Dynamic Web Page
Webpage ที่มีลกั ษณะเป็ น Dynamic
1. เว็บเพจแบบ Dynamic ที่ฝั่ง Server : จะมีการทางานที่ Server แล้ว
ส่ งผลที่ได้ไปแสดงที่ Browser เช่น ASP, PHP, JSP เป็ นต้น
2. เว็บเพจแบบ Dynamic ที่ฝั่ง Client : จะมีการทางานที่ฝั่งผูใ้ ช้งานโดย
จะมีการเปลี่ยนสภาพแวดล้อมตามผูใ้ ช้งาน เช่น DHTML, JavaScript, เป็ น
ต้น
42
Script Program
โปรแกรม Script จะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทดังนี้
1. โปรแกรม Client-Side Script
2. โปรแกรม Server-Side Script
43
Script
เว็บเพจที่กาหนดการกระทาต่างๆเพื่อสามารถรองรับ
สถานการณ์ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นได้ทนั ที
Client-Side Script
 จะถูกแปล Script โดย Browser เช่น VBScript, JavaScript
Server-Side Script
 จะถูกแปลและประมวลผลโดย Web Server เช่น ASP , PHP ,
JSP
44
ข้ อดี-ข้ อเสี ยของโปรแกรม Client-Side Script และ Server-Side
Script
Client-Side Script จะถูกแปลและประมวลผลที่ Browser ซึ่งไม่ผา่ น
ระบบเครื อข่าย ส่ วน Server-Side Script จะประมวลผลที่ Web Server ซึ่ง
ต้องผ่านระบบเครื อข่าย ดังนั้น Client-Side Script จึงสามารถลดภาระของ
Web Server ซึ่งเป็ นผลให้ “Response Time” เร็ วกว่าโปรแกรม Server-Side
Script
Client-Side Script
Web Server
Client
• มี Response Time ที่เร็ว
45
ข้ อดี-ข้ อเสี ยของโปรแกรม Client-Side Script และ Server-Side
Script
ข้ อจากัดของ Client-Side Script ได้แก่ โปรแกรมที่พฒั นาด้วย ClientSide Script ในภาษาใดภาษาหนึ่ง อาจไม่สามารถนาไปใช้งานกับ Browser ที่
ต่างกันได้ เช่น
Internet Explorer สามารถใช้ภาษา VBScript และ Jscript ได้
Netscape
สามารถใช้ภาษา JavaScript ได้
ซึ่งต่างจากโปรแกรม Server-Side Script ที่ไม่ข้ ึนอยูก่ บั ตัว Browser
46
ข้ อดี-ข้ อเสี ยของโปรแกรม Client-Side Script และ Server-Side
Script
คาสั่งต่างๆ ที่เป็ น Client-Side Script สามารถเรี ยกดูได้ดว้ ยโปรแกรม
Browser ดังนั้นจึงเสี่ ยงต่อการถูกสาเนาโปรแกรม Client-Side Script ไปใช้
โดยผูอ้ ื่น
ส่ วนโปรแกรมที่เป็ นลักษณะ Server-Side Script นั้นจะไม่พบปั ญหา
ดังกล่าวนี้ เนื่องจากตัวโปรแกรม script จะอยูใ่ นส่ วนของ Web Server และ
Web Server จะส่ งเพียงผลลัพธ์ที่ได้จาก Script นั้นๆ ไปยัง Browser เท่านั้น
ซึ่งอยูใ่ นรู ป HTML ที่ไม่มีส่วนประกอบของคาสัง่ Server-Side Script
47
แบบฝึ กหัด
1. เหตุใดระบบ DNS Server จาเป็ นจะต้องมี Name server อย่างน้อย
2 เครื่ อง
2. Name Resolver มีหน้าที่ใดในระบบ DNS Server
3. นักศึกษาคิดว่าฟังก์ชนั ของระบบ E-Mail ฟังก์ชนั ใดมีความสาคัญ
มากที่สุด เพราะเหตุใด
4. โปรโตคอล POP มีหน้าที่สาคัญอย่างไรในระบบ E-Mail
5. Header Bcc: กับ Cc: ต่างกันอย่างไรในระบบ E-Mail
6. การประมวลผลที่ฝั่ง Server (Server-Side Script) ดีกว่าการ
ประมวลผลที่ฝั่ง Client อย่างไร