new*เอกสารการบรรยาย

Download Report

Transcript new*เอกสารการบรรยาย

สำนักงำนคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติ
กำรขัดกันระหว่ำงประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม
นายอุทศิ บัวศรี
ผูช้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.
กรอบการบรรยาย(๑)
• แนวคิดและความหมายของการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและ
ประโยชน์สว่ นรวม
• ความสัมพันธ์ระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและประโยชน์สว่ นรวมกับ
จริยธรรมกับการทุจริตต่อหน้ าที่
• การกาหนดการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและ
ประโยชน์สว่ นรวมในระดับสากล
• การกาหนดการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและ
ประโยชน์สว่ นรวม การกาหนดโทษ กระบวนการและกลไกการ
ดาเนินการลงโทษแก่ผ้ กู ระทาความผิดของประเทศไทย
กรอบการบรรยาย(๒)
• ผลการดาเนินการ
• ปั ญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามผู้กระทาความผิดใน
กรณีการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและประโยชน์สว่ นรวม
• แนวทางการแก้ ไขปั ญหาการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์
ส่วนบุคคลและประโยชน์สว่ นรวม
แนวควำมคิดพื้นฐำน : ประโยชน์สำธำรณะ
- รัฐโดยองค์กรของรัฐหรือเจ้ำหน้ำที่ของรัฐเป็ นผูด้ แู ล
รักษำประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์สำธำรณะ
- แต่ในกรณี ท่ีประโยชน์ส่วนตัวของเอกชนไม่สอดคล้อง
กับประโยชน์สำธำรณะจะต้องให้ประโยชน์สำธำรณะ
อยู่เหนื อประโยชน์ส่วนตัวของเอกชน
ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับรัฐ
สถานะของเจ้าหน้าที่ของรัฐนัน้ มีความสัมพันธ์กบั รัฐ 2 สถานะ
สถานะหนึง่ คือ เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ปฏิบตั ิงานตามอานาจหน้าที่
ซึง่ เป็ นบุคคลที่ทางานให้กบั รัฐหรือตัวททนของรัฐ
กับอีกสถานะหนึง่ คือเจ้าหน้าที่ของรัฐซึง่ เป็ นเอกชนคนหนึง่
เคนเนท เคอนาแฮน
(Kenneth Kernaghan)
“สถานการณ์ ซึ่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ มี
ผลประโยชน์ ส่วนตนอยู่ และได้ ใช้ อทิ ธิพล
ตามหน้ าที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบทาง
สาธารณะไปขัดกับผลประโยชน์ ส่วนตัว”
6
ศ.ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์
(Sandra William)
“การทีผ่ ้ ดู ารงตาแหน่ งทางการเมือง
หรื อ ข้ าราชการได้ เปิ ดโอกาสให้ เงิ น
หรื อ ผลประโยชน์ ส่ วนตั ว เข้ า มามี
อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ห น้ า ที่ แ ล ะ ค ว า ม
รับผิดชอบที่จะต้ องมีต่อสาธารณะ”
7
ศ.ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์
8
ศ.ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์
ไมเคิล แม็คโดนัลด์ (Michael McDonald)
แบ่ งองค์ ประกอบของผลประโยชน์ ทบั ซ้ อน ออกเป็ น 3 ประการ
(1) เป็ นประเด็นเกี่ยวกับผลประโยชน์ ส่วนบุคคลหรือ
ผลประโยชน์ ส่วนตัว ซึ่งส่ วนใหญ่ มักเกี่ยวพันกับ เงินและ
ทรั พย์ สินหรือรูปแบบอื่นๆ ที่ทาให้ ผ้ ูรับพึงพอใจ
(2) เป็ นเรื่องของการใช้ อำนำจหน้ ำทีแ่ ละดุลพินิจในการตัดสินใจ
ดาเนินการอย่ างใดอย่ างหนึ่งเพื่อผลประโยชน์ ส่วนตัว
(3) เป็ นกำรปฏิบัตหิ น้ ำที่โดยใช้ สถานะและขอบเขตอานาจหน้ าที่
ของผู้ ด ำรงต ำแหน่ งทำงกำรเมื อ ง เจ้ ำหน้ ำที่ ข องรั ฐ หรื อ
พนักงำนของรั ฐ โดยขาดหลักจริยธรรมพืน้ ฐานในวิชาชีพของ
ตน
ศ.ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์
9
10
(4) การทางานพิเศษ
(outside employment
or moonlighting)
(5) การรู้ ข้อมูลภายใน
(inside information)
(6) การใช้ สมบัติราชการ
เพือ่ ประโยชน์ ของธุรกิจ
ส่ วนตัว
(7) การทาโครงการ
สาธารณะลงในเขต
เลือกตั้งเพือ่ ประโยชน์
ในทางการเมือง
11
ศ.ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์
 การรับประโยชน์ ต่างๆ (Accepting Benefits)
รับของขวัญ/เงินสนับสนุน/เงินบริจาคจากลูกค้ าของ
หน่ วยงาน
 การทาธุรกิจกับตัวเอง (Self-Dealing) หรือเป็ น คู่สัญญา
(Contracts)
มีส่วนได้ เสียในสัญญาที่ทากับหน่ วยงานต้ นสังกัด
 การทางานหลังจากออกจากตาแหน่ งหน้ าที่สาธารณะ
หรือหลังเกษียณ (Post –Employment)
ลาออกจากหน่ วยงานเพือ่ ไปทางานในหน่ วยงานที่
ดาเนินธุรกิจประเภทเดียวกัน
 การทางานพิเศษ (Outside Employment or
Moonlighting)
ตั้งบริษทั ดาเนินธุรกิจที่แข่ งขันหรือรับงานจาก
หน่ วยงานต้ นสังกัด
 การรู้ข้อมูลภายใน (Inside Information)
ใช้ ประโยชน์ จากข้ อมูลภายในเพือ่ ประโยชน์ ของตนเอง
 การใช้ สมบัตขิ องหน่ วยงานเพือ่ ประโยชน์ ส่ วนตัว
(Using Employer, Property for Private advantage)
นาทรัพย์ สินของหน่ วยงานไปใช้ ในงานส่ วนตัว
 การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้งเพือ่ ประโยชน์
ทางการเมือง (Pork-Barrrelling)
รมต.อนุมัตโิ ครงการไปลงในพืน้ ที่ตนเอง, ใช้ งบ
12
สาธารณะเพือ่ หาเสียง
ความสัมพันธ์ระหว่างจริ ยธรรม ประโยชน์ทบั ซ้อน
และคอร์รัปชัน
การทุจริต
CORRUPTION
ผลประโยชน์ ทบั ซ้ อน
ทุกประเทศมีกฎหมายบัญญัติไว้ชดั เจนทั้งในด้าน
ของการกระทาและบทลงโทษ
บางประเทศมีกฎหมายบัญญัติหา้ มกระทาการแต่
อีกหลายประเทศไม่มีกฎหมายบัญญัติขอ้ ห้ามไว้
CONFLICT OF INTERESTS
จริยธรรม
ETHICS
ขึ้นอยูก่ บั การพิจารณาของคนในแต่ละสังคม
อนุสญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการต่อต้านการทุจริ ต
ค.ศ.2003
• ข้ อ 8 จรรยาบรรณสาหรับเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ
1............................
2............................
3. เพื่อความมุ่งประสงค์ในการปฏิบตั ิตามบทบัญญัติของข้ อนี ้ รัฐภาคีแต่ละรัฐต้ องพิเคราะห์
ถึงแนวคิดริ เริ่ มที่เกี่ยวข้ องขององค์การระดับภูมิภาค องค์การระหว่างภูมิภาคและองค์การพหุ
พาคี เช่น จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ซึง่ ระบุในภาคผนวกของข้ อมมติ
สหประชาชาติ เช่น จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ซึง่ ระบุในภาคผนวก
ของข้ อมติสมัชชาสหประชาชาติ ทื่ 51/59 เมื่อวันที่ 12ธันวาคม 1996 ทังนี
้ ้ ในกรณีที่เหมาะสม
และโดยเป็ นไปตามหลักการพื ้นฐานของระบบกฎหมายของตน
4...................................................
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ(๑)
• 1. หลักการทัว่ ไป
1. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ตามที่กาหนดในกฎหมายแต่ละประเทศ เป็ นผู้
ดารงตาแหน่งอันน่าเชื่อถือ ซึง่ บ่งบอกถึงหน้ าที่ในการปฏิบตั ิเพื่อ
ประโยชน์สาธารณชน ดังนัน้ ความซื่อสัตย์อนั เป็ นที่สดุ ของเจ้ าหน้ าที่
ของรัฐจึงได้ แก่ความซื่อสัตย์ตอ่ ผลประโยชน์สาธารณชนของชาติ ดังที่
แสดงออกผ่านทางสถาบันประชาธิปไตยต่าง ๆ ของรัฐ
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๒)
• 2. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐถึงประกันว่าตนจะปฏิบตั ิตามบทบาทหน้ าที่อย่างมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้ วยความซื่อสัตย์สจุ ริต ตามกฎหมาย
หรื อนโยบายในการบริหาร เจ้ าหน้ าที่ของรัฐพึงกระทาเป็ นนิจเพื่อ
ประกันว่าทรัพยากรสาธารณะซึง่ ตนมีหน้ าที่รับผิดชอบจะได้ รับการ
บริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สดุ
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๓)
• 3. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐพึงเอาใจใส่ มีความเป็ นธรรม และปราศจากความ
ลาเอียงในการปฏิบตั ิงานตามหน้ าที่ โดยเฉพาะในความสัมพันธ์กบั
สาธารณชน เจ้ าหน้ าที่ของรัฐไม่พงึ ให้ การปฏิบตั ิเป็ นพิเศษต่อกลุม่ หรื อ
บุคคลใดโดยไม่สมควร รวมทังไม่
้ พงึ ใช้ อานาจหน้ าที่ที่มีของตนในทางมิ
ชอบ
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๔)
• 2. ผลประโยชน์ขดั กัน และการขาดคุณสมบัติ
4. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐไม่พงึ ใช้ อานาจในตาแหน่งหน้ าที่ของตนในการแสวงหา
ผลประโยชน์สว่ นตนหรื อผลประโยชน์ทางการเงินอันไม่สมควรสาหรับตนหรื อ
สมาชิกในครอบครัวไม่พงึ ประกอบธุรกรรมเข้ ารับตาแหน่งหรื อหน้ าที่หรื อมี
ผลประโยชน์ทางการเงิน การค้ า หรื อผลประโยชน์อื่นใดในทานองเดียวกันซึง่
ขัดกับตาแหน่ง บทบาทหน้ าที่ หรื อการปฏิบตั ิในตาแหน่ง หรื อบทบาทหน้ าที่
นัน้
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๕)
• 5. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ตามขอบเขตที่กาหนดโดยตาแหน่งหน้ าที่ของตน
ภายใต้ กฎหมายหรื อนโยบายในการบริหาร พึงแจ้ งเกี่ยวกับผลประโยชน์
ทางธุรกิจ การค้ า และการเงิน หรื อกิจการอันทาเพื่อผลตอบแทนทาง
การเงิน ซึง่ อาจก่อให้ เกิดผลประโยชน์ขดั กันได้ ในสถานการณ์ ที่มีโอกาส
จะเกิดหรื อที่ดเู หมือนว่าได้ เกิดกรณีผลประโยชน์ขดั กันขึ ้นระหว่างหน้ าที่
และผลประโยชน์สว่ นตนของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐผู้ใด เจ้ าหน้ าที่ของรัฐผู้นนั ้
พึงปฏิบตั ิตามมาตรการที่กาหนดไว้ เพื่อลดหรื อขจัดซึง่ ผลประโยชน์
ขัดกันนัน้
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๖)
• 6.เจ้ าหน้ าที่ของรัฐไม่พงึ ใช้ เงิน ทรัพย์สิน บริการ หรื อข้ อมูลซึง่ ได้ มาจาก
การปฏิบตั ิงาน หรื อเป็ นผลมาจากการปฏิบตั ิงาน เพื่อกิจการอื่นใดโดย
ไม่เกี่ยวข้ องกับงานในตาแหน่งหน้ าที่โดยไม่สมควรอย่างเด็ดขาด
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๗)
• 7. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ พึงปฏิบตั ิมาตรการซึง่ กาหนดโดยกฎหมายหรื อ
นโยบายในการบริหาร เพื่อมิให้ ผลประโยชน์จากตาแหน่งหน้ าที่เดิมของ
ตนโดยไม่สมควรเมื่อพ้ นจากตาแหน่งหน้ าที่ไปแล้ ว
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๘)
• 3. การแสดงทรัพย์สิน
8. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ตามตาแหน่งหน้ าที่ของตน และตามที่กฎหมายกาหนด
หรื อนโยบายในการบริหารได้ อนุญาต หรื อบังคับไว้ พึงปฏิบตั ิตามข้ อบังคับใน
การแสดง หรื อเปิ ดเผยทรัพย์สินและหนี ้สิน และหากเป็ นไปได้ ให้ รวมถึง
ทรัพย์สินและหนี ้สินของภรรยา และ/หรื อผู้อยูใ่ นอุปการะของเจ้ าหน้ าที่ผ้ นู นั ้
ด้ วย
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๙)
• 4. การรับของขวัญหรื อของกานัล
9. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐไม่พงึ เรี ยกร้ อง หรื อรับของขวัญหรื อของกานัลอื่น
ไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้ อม ซึง่ อาจมีอิทธิพลต่อการปฏิบตั ิงานตาม
บทบาท การดาเนินงานตามหน้ าที่หรื อการวินิจฉัยของตน
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๑๐)
• 5. ข้ อมูลอันเป็ นความลับ
10. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐพึงปกปิ ดข้ อมูลที่มีลกั ษณะเป็ นความลับซึง่ อยู่
ในความครอบครองของตน เว้ นแต่มีเหตุบงั คับให้ จาต้ องดาเนินการเป็ น
อย่างอื่น โดยกฎหมายของประเทศ การปฏิบตั ิหน้ าที่หรื อความจาเป็ น
ในการยุติธรรม ข้ อจากัดนี ้ให้ ใช้ บงั คับตลอดถึงแม้ ผ้ นู นั ้ จะพ้ นจาก
ตาแหน่งหน้ าที่แล้ ว
จรรยาบรรณระหว่างประเทศสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๑๑)
• 6. กิจกรรมทางการเมือง
11. กิจกรรมทางการเมือง หรื อกิจกรรมอื่น ๆ ของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ซึง่
อยูน่ อกเหนือขอบเขตของตาแหน่งที่จกั ต้ องสอดคล้ องตามกฎหมายและ
นโยบายในการบริหาร โดยไม่เป็ นไปในทางที่บนั่ ทอนความมัน่ ใจของ
สาธารณชนต่อการปฏิบตั ิงานตามหน้ าที่ความรับผิดชอบโดยไม่ลาเอียง
ของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐผู้นนั ้
APEC Conduct Principles for Public officials (1)
• 1. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องเคารพและยึดมัน่ ในรัฐธรรมนูญหรื อหลัก
กฎหมายของประเทศ,กฎหมายต่าง ๆ รวมถึงบรรทัดฐานทางกฎหมาย
และระเบียบข้ อบังคับที่ใช้ อยูใ่ นประเทศของตน
APEC Conduct Principles for Public officials (2)
• 2. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องใช้ ตาแหน่งทางราชการของตนเพื่อประโยชน์
ของส่วนรวมเท่านันและต้
้
องไม่ใช้ ตาแหน่งเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ให้
ตนเองหรื อให้ ผ้ อู ื่น
APEC Conduct Principles for Public officials (3)
• 3. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องไม่ขอหรื อรับของขวัญ หรื อ favor หรื อ
ผลประโยชน์ใด ๆ โดยทางตรงหรื อทางอ้ อมเพื่อแลกเปลี่ยนกับการ
ปฏิบตั ิหน้ าที่หรื อการไม่ปฏิบตั ิหน้ าที่ หรื อที่อาจทาให้ มีการรบกวนหรื อ
แทรกแซงในการปฏิบตั ิหน้ าที่ หรื อในการพิจารณาตัดสินของตน
APEC Conduct Principles for Public officials (4)
• 4. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องปกป้องและรักษาเงิน ทรัพย์สนิ และบริการ
ต่าง ๆ ของทางราชการและจะต้ องใช้ ทรัพย์สมบัติและบริการของทาง
ราชการเหล่านี ้เพื่อวัตถุประสงค์ของทางราชการเท่านัน้
APEC Conduct Principles for Public officials (5)
• 5. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องเปิ ดเผยข้ อมูลที่ได้ มาเพราะเหตุดารง
ตาแหน่งทางราชการให้ แก่บคุ คลอื่นควรจะได้ ร้ ูเพื่อความโปร่งใส แต่
ต้ องใช้ ข้อมูลดังกล่าวเพื่อวัตถุประสงค์ทางราชการเท่านัน้
APEC Conduct Principles for Public officials (6)
• 6. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องปฏิบตั ิหน้ าที่ราชการอย่างมีประสิทธิภาพ
ยึดมัน่ ในสิง่ ที่ถกู ต้ องและชอบธรรม ยุติธรรม ไม่ลาเอียง รวมถึงเมื่อ
ปฏิบตั ิหน้ าที่ถกู ต้ องทางการเมืองหรื อเมื่อทากิจกรรมอื่น ๆ
APEC Conduct Principles for Public officials (7)
• 7. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องหลีกเลี่ยงการปฏิบตั ิหน้ าที่ที่อาจจะมีผลให้
ตนหรื อครอบครัวได้ รับผลประโยชน์ทางการเงิน หรื อการได้ มาซึ่ง
ตาแหน่งหรื อหน้ าที่ หรื อผลประโยชน์ทางการเงินการค้ าหรื อ
ผลประโยชน์อื่น ๆในลักษณะเดียวกันที่ขดั แย้ ง หรื อออาจทาให้ เห็น
อย่างมีเหตุผลว่าจะขัดแย้ งกับหน่วยงาน และ/หรื องานในหน้ าที่ของตน
APEC Conduct Principles for Public officials (8)
• 8. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องเคารพและปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ได้
จัดทาขึ ้นเพื่อความสะดวกในการรายงายการกระทาคอร์ รัปชันต่อผู้มี
อานาจที่เกี่ยวข้ องและจะต้ องทา(รายงาน) ไม่วา่ จะอยูใ่ นหน้ าที่ความ
รับผิดชอบทางราชการของตนหรื อไม่ เพื่อให้ ผ้ อู ื่นต้ องรับผิดชอบในการ
กระทา(ของผู้อื่น) นัน้
APEC Conduct Principles for Public officials (9)
• 9. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดให้ ตนต้ องรายงานต่อ
ผู้มีอานาจหน้ าที่เกี่ยวข้ องในเรื่ องการกระทาต่าง ๆ นอกเหนือจากการ
ปฏิบตั ิราชการ เช่น การทาการอื่นนอกเวลาราชการการลงทุนทาง
การเงิน ภาวะทางการเงิน สินทรัพย์ ของกานัล หรื อสิทธิพิเศษอื่น ๆ
APEC Conduct Principles for Public officials (10)
• 10. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องปฏิบตั ิตามมาตรการที่กาหนดขึ ้นตาม
กฎหมายหรื อตามนโยบายของฝ่ ายบริหารเพื่อว่าหลังจากลาออกจาก
ตาแหน่งราชการแล้ ว เจ้ าหน้ าที่ของรัฐจะต้ องไม่ได้ รับประโยชน์ที่ไม่
สมควรได้ จากหน่วยงานราชการที่ตนเคยปฏิบตั ิราชการอยูก่ ่อนนัน้
กฎหมายที่กาหนดการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและ
ประโยชน์สว่ นรวม ผู้ถกู บังคับใช้ และบทกาหนดโทษ (1)
ลาดับ
1.
กฎหมาย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
มาตรา 265 มาตรา 266
มาตรา 265 มาตรา 266 มาตรา 267 มาตรา 268
มาตรา 265 มาตรา 266 มาตรา 267 มาตรา 268
และมาตรา 284 วรรคสิบ
มาตรา 269
2.
พระราชบัญญัติจดั การหุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรี
พ.ศ. 2543
3.
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้ วยการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 แก้ ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
ผู้ถูกบังคับใช้
บทลงโทษ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร,สมาชิกวุฒิสภา, พ้ นจากตาแหน่ง
นายกรัฐมนตรี ,รัฐมนตรี ,
พ้ นจากตาแหน่ง
ผู้บริหารท้ องถิ่น,สมาชิกสภาท้ องถิ่น
พ้ นจากตาแหน่ง
นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี
พ้ นจากตาแหน่ง
นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี
พ้ นจากตาแหน่ง
กฎหมาย ที่กาหนดการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและ
ประโยชน์สว่ นรวม ผู้ถกู บังคับใช้ และบทกาหนดโทษ (2)
ลาดับ
กฎหมาย
ผู้ถูกบังคับใช้
บทลงโทษ
3.1
มาตรา 100
เจ้ าหน้ าที่ของรัฐที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.
ประกาศกาหนดตาแหน่ง (ปั จจุบนั กาหนด
ตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ,รัฐมนตรี ) การ
กระทาของคู่สมรสให้ ถือว่าเป็ นการกระทา
ของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ
เป็ นความผิดฐาน
ทุจริตต่อหน้ าที่
จาคุกไม่เกินสาม
ปี หรื อปรับไม่เกิน
หกหมื่นบาทหรื อ
ทั ้งจาทั ้งปรับ
3.2
มาตรา 103
เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ
เป็ นความผิดฐาน
ทุจริตต่อหน้ าที่
จาคุกไม่เกินสาม
ปี หรื อปรับไม่เกิน
หกหมื่นบาทหรื อ
ทั ้งจาทั ้งปรับ
กฎหมาย ที่กาหนดการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและ
ประโยชน์สว่ นรวม ผู้ถกู บังคับใช้ และบทกาหนดโทษ (3)
ลาดับ
4.
4.1
4.2
4.3
4.4
กฎหมาย
กฎหมายเกี่ยวกับการจัดตั ้งองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น
พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
แก้ ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552
มาตรา 11
มาตรา 36,37,37/1
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ ไขเพิ่มเติมถึง
(ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2552
มาตรา 18 ทวิ
มาตรา 48 จตุทศ
พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล
พ.ศ. 2537 แก้ ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552
มาตรา 48 ตรี
มาตรา 64/2
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา
พ.ศ. 2542 แก้ ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552
ผู้ถูกบังคับใช้
บทลงโทษ
สมาชิกสภาจังหวัด
ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัด
พ้ นจากตาแหน่ง
พ้ นจากตาแหน่ง
สมาชิกสภาเทศบาล
ผู้บริหารเทศบาล
พ้ นจากตาแหน่ง
พ้ นจากตาแหน่ง
สมาชิกสภา อบต.
ผู้บริหาร อบต.
พ้ นจากตาแหน่ง
พ้ นจากตาแหน่ง
กฎหมาย ที่กาหนดการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและ
ประโยชน์สว่ นรวม ผู้ถกู บังคับใช้ และบทกาหนดโทษ (4)
ลาดับ
กฎหมาย
4.5
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2528
มาตรา 22 , มาตรา 58
มาตรา 51,มาตรา 58
ผู้ถูกบังคับใช้
บทลงโทษ
สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร,สมาชิกสภาเขต พ้ นจากตาแหน่ง
ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
พ้ นจากตาแหน่ง
กฎหมาย ที่กาหนดการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและ
ประโยชน์สว่ นรวม ผู้ถกู บังคับใช้ และบทกาหนดโทษ (5)
ลาดับ
กฎหมาย
5.
พระราชบัญญัติคณ
ุ สมบัติมาตรฐานสาหรับกรรมการและ
พนักงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 แก้ ไขเพิ่มเติม
จนถึง(ฉบับที่ 6 ) พ.ศ. 2550
มาตรา5(8),(9),(10)
มาตรา 8 ตรี (12)
พระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 ซึง่
แก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตธิ นาคารแห่งประเทศ
ไทย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551
มาตรา 18(6),(7)
มาตรา 28/17(8),(9)
6.
ผู้ถูกบังคับใช้
บทกาหนดลงโทษ
กรรมการ
ผู้บริหาร
พ้ นจากตาแหน่ง
พ้ นจากตาแหน่ง
กรรมการ
ผู้ว่าการ
พ้ นจากตาแหน่ง
พ้ นจากตาแหน่ง
กฎหมาย ที่กาหนดการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและ
ประโยชน์สว่ นรวม ผู้ถกู บังคับใช้ และบทกาหนดโทษ (6)
ลาดับ
7
กฎหมาย
ผู้ถูกบังคับใช้
ประมวลจริยธรรมของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐทุกประเภท ตาม เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา
๒๗๙ ซึง่ ผู้ตรวจการแผ่นดินซึง่ ผู้ตรวจการแผ่นดินได้ ใช้
อานาจตามมาตรา ๒๘๐ กาหนดให้ ทกุ หน่วยงานนาเรื่ อง
การการกระทาที่เป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วน
บุคคลและประโยชน์สว่ นรวมซึง่ เป็ น๑ ใน ๙ ของค่านิยม
หลักที่ผ้ ตู รวจการแผ่นดินกาหนดไปกาหนดไว้ เป็ นส่วน
หนึ่งของประมวลจริยธรรมด้ วย
บทกาหนดลงโทษ
ผิดวินยั และถอด
ถอนออกจาก
ตาแหน่งกรณีผ้ ู
ดารงตาแหน่ง
ระดับสูงและ
นักการเมือง
ระดับชาติกระทา
ผิดจริยธรรมอย่าง
ร้ ายแรง
ผลการดาเนินการ(๑)
• ๑. คาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๒- ๑๔/๒๕๕๓ วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
ลงวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ วินิจฉัย ให้ สมาชิกสภาสภาผู้แทนราษฎรสิ ้นสุดลง
นับแต่วนั ที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคาวินิจฉัยจานวน ๖ คน เนื่องจาก
๑.๑ กระทาการอันเป็ นการต้ องห้ ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา ๒๖๕ วรรคหนึง่ (๒) จานวน ๓ คน
๑.๒ กระทาการอันเป็ นการต้ องห้ ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา ๒๖๕ วรรคหนึ่ง (๒)และวรรคสาม จานวน ๒ คน
๑.๓ กระทาการอันเป็ นการต้ องห้ ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา ๒๖๕ วรรคหนึง่ (๔) ประกอบมาตรา ๔๘ จานวน ๑ คน
ผลการดาเนินการ(๒)
๒. คาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๙/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๑
วินิจฉัยให้ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงสาธารณสุขสิ ้นสุดลงเมื่อพ้ นกาหนด
สามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแต่งตังเป็
้ นรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๘๒ วรรคหนึง่ (๗) ประกอบมาตรา ๒๖๙
เนื่องจาก คูส่ มรสถือหุ้นในบริษัทจากัดเกินกว่าร้ อยละห้ า โดยรัฐมนตรี
มิได้ แจ้ งให้ ประธานกรรมการ ป.ป.ช.ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่
ได้ รับแต่งตังและมิ
้
ได้ โอนหุ้นในบริษัทให้ นิตบิ คุ ลซึ่งจัดการทรัพย์สนิ เพื่อ
ประโยชน์ของผู้อื่นให้ บริหารหรื อจัดการแทน
ผลการดาเนินการ(๓)
๓.การวินิจฉัยให้ นกั การเมืองท้ องถิ่นพ้ นจากตาแหน่งเพราะการกระทาทีเ่ ป็ นการ
ขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและประโยชน์สว่ นรวม
๓.๑ กรณีฝ่าฝื นบทบัญญัติตามมาตรา 265 มาตรา 266 มาตรา 267 มาตรา 268
และมาตรา 284 วรรคสิบ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
( ๑) ผู้วา่ ราชการจังหวัดนครราชสีมา สัง่ ให้ นายก อบต.เมืองพลับพลา และ
นายก อบต.ท่าอ่าง พ้ นจากตาแหน่ง เนื่องจากเป็ นหุ้นส่วนผู้จดั การในห้ างหุ้นส่วน
จากัด ซึง่ เป็ นการกระทาที่ขดั ต่อมาตรา ๒๖๗ ประกอบมาตรา ๒๘๔ วรรคสิบของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงเป็ นการฝ่ าฝื นต่อความสบ
เรี ยบร้ อยตามมาตรา ๙๒ แห่ง พ.ร.บ.สภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล
พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ ไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๖
ผลการดาเนินการ(๔)
(๒) ผู้วา่ ราชการจังหวัดกาญจนบุรีได้ สงั่ ให้ นายก อบต.พังตรุ จ.
กาญจนบุรี พ้ นจากตาแหน่ง เนื่องจากเป็ นกรรมการผู้มีอานาจลงนาม
ผูกพัน บริษัท เหมืองศิลาสยาม จากัด โดยบริษัทดังกล่าวเป็ นผู้ถือ
ประทานบัตรของกระทรวงอุตสาหกรรม ซึง่ เป็ นการกระทาที่ขดั ต่อ
มาตรา ๒๖๗ ประกอบมาตรา ๒๘๔ วรรคสิบของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงเป็ นการฝ่ าฝื นต่อความสบเรี ยบร้ อย
ตามมาตรา ๙๒ แห่ง พ.ร.บ.สภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล
พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ ไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๖
ผลการดาเนินการ(๕)
(๓.) รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยได้ สงั่ ให้ นายกเทศมนตรี เมืองคง
จังหวัดนครราชสีมาและนายกเทศมนตรี เมืองกาฬสินธุ์พ้นจากตาแหน่ง
เนื่องจากเป็ นผู้ถือหุ้นและเป็ นหุ้นส่วนผู้จดั การในห้ างหุ้นส่วนจากัด ซึง่
เป็ นการกระทาที่ขดั ต่อมาตรา ๒๖๗ ประกอบมาตรา ๒๘๔ วรรคสิบ
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงเป็ นการฝ่ าฝื น
ต่อความสบเรี ยบร้ อยตามมาตรา ๗๓แห่ง พ.ร.บ.เทศบาล ๒๔๙๖แก้ ไข
เพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๖
ผลการดาเนินการ(๖)
๓.๒ กรณีฝ่าฝื นบทบัญญัติของกฎหมายจัดตังองค์
้ กรปกครองส่วนท้ องถิ่น
(๑) นายกเทศมนตรี เมืองกาแพงเพชรจัดซื ้อพัสดุจากบริษัทตนเองที่
ตนเองเป็ นกรรมการบริษัท
(๒) สมาชิกสภาเทศบาลตาบลหนองกี่ เป็ นหุ้นส่วนผู้จดั การบริ ษัทที่เป็ น
คูส่ ญ
ั ญากับเทศบาลตาบลหนองกี่
(๓) สมาชิกสภาเทศบาลซึง่ เป็ นหุ้นส่วนผู้จดั การบริษัทเข้ าซื ้อซองสอบ
ราคาและยื่นซองสอบราคาในเทศบาลที่ตนเองเป็ นสมาชิก
ปั ญหาและอุปสรรคในการป้ องกันและปราบปรามการกระทาที่เป็ น
ขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม
• สังคมไทยยอมรับการกระทาที่เป็ นการทุจริตต่อหน้ าที่ซงึ่ มีระดับความร้ ายแรง
มากกว่าการกระทาที่เป็ นขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นบุคคลและประโยชน์
ส่วนรวม
• เอแบคโพลล์แถลงผลการสารวจทัศนคติของคนไทย ซึง่ สารวจกลุม่ ตัวอย่าง จาก
๒๘ จังหวัด จานวน ๓,๙๗๑ ตัวอย่าง ระหว่างวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๔-๕
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ พบว่าแนวโน้ มของประชาชนที่ยอมรับรัฐบาล
ทุจริตคอรัปชัน่ แต่ทาให้ ประเทศชาติรุ่งเรื อง ประชาชนอยูด่ ีกินดี ตนเองได้ ประโยชน์
ยังคงสูงอยูจ่ ากร้ อยละ 63.2 ในปี 2551 มาอยูท่ ี่ร้อยละ 64.0
ในการสารวจครัง้ ล่าสุด
ผลการดาเนินการ(๗)
• คาพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
คดีหมายเลขดาที่ อม.๑/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ อม.๑/๒๕๕๐
พิพากษาจาคุกอดีตนายกรัฐมนตรี ๒ ปี เนื่องจากมีความผิดตาม
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้ วยการป้องกันและปราบปราม
การทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๐(๑) และมาตรา ๑๒๒ วรรคหนึง่
เพราะขณะที่ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี คูส่ มรสได้ เข้ าไปเป็ นคูส่ ญ
ั ญา
กับกองทุนเพื่อการฟื น้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ซึง่ เป็ น
หน่วยงานของรัฐที่อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของนายกรัฐมนตรี
สาเหตุของปัญหา
• ความไม่สมั พันธ์กนั ระหว่างปทัสถานทางกฎหมาย(Legal norms) กับ
ปทัสถานทางสังคม (Social norms)
ก่อนสนธิสญ
ั ญาบาวริ่ง( ๑๘ เมษายน ๒๓๙๘) ไทยนาเข้ าวัฒนธรรมและกฎหมาย
จากประเทศอินเดีย ผ่านมอญและเขมร
-วัฒนธรรม ฮินดู – พุทธ
-กฎหมาย พระธรรมศาสตร์ และพระไอยการต่างๆ
ความสัมพันธ์ของคนในสังคมสัมพันธ์ในแนวดิ่ง(Vertical Social
Affiliation)หรื อ ตามลาดับชัน(Hierarchy)
้
ปรากฏใน พระไอยการ
ตาแหน่ งนาพลเรื อน นาทหาร หัวเมือง พ.ศ. 1998
พระไอยการตาแหน่ งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง
พ.ศ. 1998
• พระไอยการตาแหน่ งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง พ.ศ. 1998
เป็ นกฎหมายที่ตราขึ ้นในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กษัตริย์ผ้ ู
ครองกรุงศรี อยุธยา เป็ นกฎหมายที่กาหนดตาแหน่งศักดินา บรรดาศักดิ์
ลาดับชัน้ โครงสร้ างส่วนราชการในระบบราชการ สมัยโบราณ เทียบได้
กับ กฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ในปั จจุบนั แต่ในกฎหมาย
นี ้ได้ กาหนด ฐานันดรศักดิป์ ระชาชนตังแต่
้ พระมหาอุปราชลงมาจนถึง
พลเมืองขันต
้ ่าสุดคือทาส พระไอยการนี ้ กาหนดให้ ประชาชนทุกคนมี
ศักดินาสูงต่า ตามความสาคัญในโครงสร้ างสังคม โดยศักดินานี ้
กาหนดเป็ นไร่
• กฎหมายที่กาหนดศักดินาในสังคมไทยได้ ถกู แก้ ไขเพิ่มเติมในรัชสมัยรัชกาลที่ ๒
รัชกาลที่ ๕ และรัชกาลที่ ๖ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คือ พระไอยการตาแหน่งนาเมือง
นครศรี ธรรมราช จ.ศ.๑๑๗๓(กฏหมายตราสามดวง ฉบับจัดพิมพ์โดยมหาวิทยลัย
ธรรมศาสตร์ และการเมือง พ.ศ.๒๕๔๘ หน้ า ๔๒๔) พระบรมราชโองการประกาศ
ศักดินาทูต (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๓ หน้ า ๓๑๘) พระราชบัญญัติตาแหน่งศักดิ
นาพระบรมวงศานุวงศ์ (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔ หน้ า ๒๖๕) พระราชบัญญัติ
ศักดินาทหาร(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕ แผ่นที่ ๒๑) พระบรมราชโองการประกาศ
ศักดินาผู้พิพากษาและข้ าหลวง(ราชกิจจานุเบกษาเล่ม ๙ แผ่นที่ ๒๔)
พระราชบัญญัติศกั ดินาขุน หมื่น นายเวร เสมียน (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๙ แผ่น
ที่ ๓๐)
การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายของไทย
• นาเข้ ากฎหมายทางตะวันตกมาแทนกฎหมายที่นาเข้ าจากอินเดีย เริ่ม
ตังแต่
้ กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ ( พ.ศ. ๒๔๕๑)
• มีการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองจากระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็ นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ ๒๔ มิถนุ ายน
๒๔๗๕
• ความสัมพันธ์ของคนในสังคมตามกฎหมายในปั จจุบนั มีความสัมพันธ์
ในแนวนอน (Horizontal Social Affiliation ) ปรากฏใน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
มาตรา ๓ อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชนชาวไทย
พระมหากษัตริย์ ผู้ทรงเป็ นประมุข ทรงใช้ อานาจนัน้ ทาง
รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัตแิ ห่ ง
รัฐธรรมนูญนี ้
การปฏิบัตหิ น้ าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล
รวมทัง้ องค์ กรตามรั ฐธรรมนูญ และหน่ วยงานของรั ฐต้ อง
เป็ นไปตามหลักนิตธิ รรม
มำตรำ ๔ ศักดิ์ศรีควำมเป็ นมนุษย์ สิทธิ เสรีภำพ และควำม
เสมอภำคของบุคคล ย่อมได้รบั ควำมคุม้ ครอง
มำตรำ ๕ ประชำชนชำวไทยไม่ว่ำเหล่ำกำเนิ ด เพศ หรือ
ศำสนำใด ย่อมอยู่ในควำมคุม้ ครองแห่งรัฐธรรมนูญนี้ เสมอกัน
มำตรำ ๒๖ กำรใช้อำนำจโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร ต้อง
คำนึ งถึงศักดิ์ศรีควำมเป็ นมนุษย์ สิทธิและเสรีภำพ ตำม
บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
มำตรำ ๓๐ บุคคลย่อมเสมอภำคและได้รบั ควำมคุม้ ครองตำมกฎ
หำยเท่ำเทียมกันกันในกฎหมำย
มำตรำ ๓๑ บุคคลผูเ้ ป็ นทหำร ตำรวจ ข้ำรำชกำร
เจ้ำหน้ำที่อ่ืนของรัฐ และพนักงำนและลูกจ้ำงขององค์กรของ
รัฐ ย่อมมีสิทธิและเสรีภำพตำมรัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับ
บุคคลทัว่ ไป เว้นแต่มี่จำกัดไว้ในกฎหมำยหรือกฎที่ออกโดย
อำศัยอำนำจตำมบทบัญญัติแห่งกฎหมำย เฉพำะในส่วนที่
เกี่ยวกับกำรเมือง สมรรถภำพ วินยั หรือ จริยธรรม
•
•
•
•
รากฐานความเชื่อในอดีตขุนนางค้ าขายได้ ไม่เป็ นสิง่ ที่น่ารังเกียจ
ตาแหน่งทางราชการนามาซึง่ ผลประโยชน์
ไม่แยกเรื่ องประโยชน์สว่ นบุคคล/ประโยชน์สว่ นรวม
ทัศนคติของคนในสังคมพัฒนาไม่ทนั ระบบกฎหมายที่นามาใช้
ยุทธศาสตร์ ชาติว่าด้ วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตเพือ่ การเปลีย่ นแปลง
ิ ดต่อกันมายาวนาน ส่งผลกระทบโดยตรง
ปัญหาการทุจริตในประเทศไทย เป็ นปัญหาที่สงสมต
ั่
ต่อระบบสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและความมันคงของประเทศ
่
รวมถึงภาพลักษณ์ และ
ความเชื่อมั ่นต่อสายตาของประชาคมโลก โดยหนึ่ งในเหตุผลสาคัญของคณะปฏิวตั ิ เมื่อปี 2549
มาจากประเด็นปัญหาทุจริตคอร์รปั ชัน่ ซึ่งนับวันรูปแบบการทุจริตจะมีความหลากหลายและ
ทวีความรุนแรงมากขึน้ จาเป็ นอย่างยิ่งที่ต้องเร่งดาเนินการแก้ไขปัญหาทุจริตให้หมดไป
จึงต้องสร้างระบบการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตให้มีประสิทธิภาพเพื่อป้ องกันการทุจริต
คณะกรรมการ ป.ป.ช. เล็งเห็นว่าการดาเนินการโดยลาพังตามกรอบอานาจหน้ าที่
ไม่สามารถที่จะทาให้ปัญหาลดลงได้โดยรวดเร็วตามความคาดหวังของสังคม
จาเป็ นจะต้องใช้มาตรการทางด้านการป้ องกันที่จะช่วยแก้ปัญหาที่สาเหตุ
โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อลดความเสี่ยงต่อการทุจริตคอรัปชัน
ควบคู่กนั ไปกับการปราบปรามนาคนกระทาผิดมาลงโทษอย่างเฉี ยบขาด
คณะกรรมการ ป.ป.ช. ร่วมกับผูท้ รงคุณวุฒิจากทุกภาคส่วน จัดทา “ยุทธศาสตร์ชาติว่า
ด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต” ขึน้ โดยมีเป้ าหมายให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน
สังคม สู่สงั คมที่มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และร่วมกันต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ58
มุ่งเน้ นการแก้ปัญหาที่สาเหตุเพื่อให้อยู่ได้อย่างยั ่งยืน
วิสยั ทัศน์
สังคมไทยมีวินัย และยึดมันในคุ
่
ณธรรม จริยธรรม ทุกภาคส่วนร่วมกันป้ องกัน
และปราบปรามการทุจริต
วัตถุประสงค์หลัก 1
สังคมไทยมีวินัย
คุณธรรมและ
จริยธรรม
วัตถุประสงค์หลัก 2
เครือข่ายจากทุกภาค
ส่วนมีส่วนร่วมในการ
ป้ องกันและปราบปราม
การทุจริต
วัตถุประสงค์หลัก 3
ระบบและกลไกในการ
ตรวจสอบ ควบคุม
กระจาย และถ่วงดุล
อานาจมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์หลัก 4
สังคมรู้เท่าทัน ร่วม
คิดป้ องกันการทุจริต
ยุทธศาสตร์ 1
ปลูกจิตสานึ ก
ค่านิยม คุณธรรม
จริยธรรม และสร้าง
วินัยแก่ทกุ ภาคส่วน
ยุทธศาสตร์ 2
รวมพลังแผ่นดิน
ป้ องกันและปราบปราม
การทุจริต
ยุทธศาสตร์ 3
เสริมสร้างความ
แข็งแกร่งแก่หน่ วยงาน
ต่อต้านการทุจริต
ยุทธศาสตร์ 4
สร้างบุคลากรมือ
อาชีพป้ องกันและ
ปราบปรามการ
ทุจริต
มีความสมดุลทัง้ เชิงรุก เชิงรับ ครอบคลุมทัง้ การป้ องกันและปราบปรามทัดเทียมกัน
59
ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1
สังคมไทยมีวินัย และยึดมันในคุ
่
ณธรรม จริยธรรม ทุกภาคส่วนร่วมกันป้ องกันและปราบปรามการทุจริต
วิ สยั ทัศน์
ยุทธศาสตร์ที่ 1
ปลูกจิตสานึก ค่านิยม คุณธรรม
จริยธรรม และสร้างวินยั แก่ทุกภาค
ส่วน
ยุทธศาสตร์ที่ 2
รวมพลังแผ่นดินป้องกัน
และปราบปรามการทุจริต
ยุทธศาสตร์ที่ 4
สร้างบุคลากรมืออาชีพ ป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต
ยุทธศาสตร์ที่ 3
เสริมสร้างความแข็งแกร่ง
แก่หน่วยงานต่อต้านการทุจริต
นาไปสู่แนวทางในการจัดสรรทรัพยากร (งบประมาณ) และเป็ นเครื่องมือกากับให้หน่ วยงานมีการดาเนิ นงาน
ที่สอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกัน และเป็ นไปในทิ ศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ชาติ ฯ
แผนยุทธศาสตร์ฯสานักงาน ป.ป.ช.
วิ สยั ทัศน์
ยุทธศาสตร์ที่ 1
รณรงค์เสริมสร้าง
วัฒนธรรมสุจริต
เป็ นองค์กรนาด้านการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตที่ได้รบั การยอมรับ เชื่อมัน่ และมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 2
สร้างเครือข่ายพันธมิตร
พิชติ คอร์รปั ชัน่
ยุทธศาสตร์ที่ 3
พัฒนานวัตกรรมและกลไกการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 4
พัฒนากลไกตรวจสอบ
สนองตอบประชาชน
ยุทธศาสตร์ที่ 5
บริหารจัดการอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 6
พัฒนาองค์กรแห่งการ
เรียนรู้ เสริมสมรรถนะ
และจิสาธารณบุคลากร
แผนยุทธศาสตร์ฯ ภาครัฐ (สานักงาน ป.ป.ท.)
วิ สยั ทัศน์
หน่ วยงานภาครัฐ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลทุกภาคส่วนร่วมกันป้ องกันและปราบปรามการทุจริต
ยุทธศาสตร์ที่ 1
เสริมสร้างจิตสานึก ค่านิยมให้หน่ วยงาน
ภาครัฐ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ที่ 2
บูรณาการหน่วยงานทุกภาคส่วนในการ
ป้องกัน และปราบปรามการทุจริตภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ที่ 3
เสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ที่ 4
พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ใน
การป้องกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ
60
นโยบายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ ชาติ ฯ
ช่ วงเปลีย่ นผ่ าน (ปี งบประมาณ พ.ศ. 2556-2557)
ยุทธศาสตร์ ชาติฯระยะที่ 1 มีระยะเวลาดาเนินการในช่ วงระหว่ างปี (พ.ศ.2551-2555) และมีการขยายกรอบการ
ดาเนินการในปี งบประมาณ พ.ศ. 2556 – 2557 (ระหว่ างรอการจัดทายุทธศาสตร์ ชาติฯระยะที่ 2 แล้ วเสร็จ)
โดยสานักงาน ป.ป.ช. จะขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ ชาติฯ ระยะที่ 1 (ส่ วนที่ยงั มิได้ ปฏิบัติ) เพือ่ ให้ เกิดผลในทางปฏิบัติ โดยมุ่งเน้ นดาเนินการ
ในด้ าน การส่ งเสริมจริยธรรมและการป้ องกันการทุจริต ตามกรอบยุทธศาสตร์ ของเดิมทั้ง 3 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 รณรงค์ เสริมสร้ างวัฒนธรรมสุ จริต โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้ ทุกภาคส่ วนที่เข้ า
ร่ วมกิจกรรมมีค่านิยม เชิดชู คุณธรรม จริยธรรม และวินัย รวมทั้งมีการพัฒนา
บุคลากรต้ นแบบคุณธรรมจริยธรรมและความมีวนิ ัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 สร้ างเครือข่ ายพันธมิตรพิชิตคอร์ รัปชัน โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ พัฒนาความ
ร่ วมมือกับเครือข่ ายในการ ป้ องกันและปราบปรามการทุจริต และส่ งเสริมให้
ประชาชนทุกภาคเข้ ามามีส่วนร่ วมในการป้ องกันและ ปราบปรามการทุจริต
ยุทธศาสตร์ ที่ 4 พัฒนากลไกตรวจสอบ สนองตอบประชาชน โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้ กระบวนการ
ตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐมีประสิ ทธิภาพ สามารถติดตามตรวจสอบและลงโทษ
ผู้กระทาผิดกรณีตรวจพบการทุจริตระดับชาติและสามารถบังคับใช้ กฎหมายที่
เกีย่ วข้ องกับการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
61
นโยบายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ ชาติ ฯ
ช่ วงเปลีย่ นผ่ าน (ปี งบประมาณ พ.ศ. 2556-2557)
2.1. กลุ
หน่่มเป้วยงานภาครั
ฐ :- :- มุมุ่ง่ งเน้เน้นนการปลู
การสร้
งใส และยกระดั
บ
าหมาย เด็กและเยาวชน
กจิตาสงความโปร่
านึกความเป็ นคนดี
มีวนิ ัย
มีจิตอาสาในการด
มีส่วนร่ วมป้
นปราบปรามการทุ
ริตบ
คุณธรรม
าเนิองกั
นงาน
โดยมีการกจากั
ติดตามประเมินผล
อย่ างจริงจัง พร้ อมกับการใช้
บังคักบรภาคเอกชน
มาตรการป้องกั
การทุจริตในการ
3. องค์
:- น เร่ งพัฒนามาตรการทางกฎหมายในการ
ซื้อนจัการ
ดจ้ าง
ปจั้ ดองกั
ทุจริตตามหลักบรรษัทภิบาล และ
เสริมสร้ างความ
เข้ มแข็งของกลไกร่ วม
ป้องกันการทุจริตในภาครัฐ
โดยภาคเอกชน
4. องค์การภาคประชาสั งคมและสื่ อ :เล็บของสื่ อ
เกิดพลังกดดัน
เสริมสร้ างพลังให้ เครือข่ ายเฝ้ าระวัง เขีย้ ว
การใช้ Social Network เพือ่ ให้
ไม่ ยอมรับคนโกง
62
กระบวนการพัฒนายุทธศาสตร์ ชาติว่าด้ วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ 2
ยุทธศาสตร์ ชาติว่าด้ วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ 2
1. ยึดหลักวิชาการในการวางแผนอย่ างเป็ นขั้นตอนโดยอาศัยการระดมสมอง พิจารณาประกอบกับผลการ
วิเคราะห์ สภาวะแวดล้ อม (SWOT)
2. มีการพิจารณาทบทวนสถานการณ์ ปัญหา ความสาเร็จ และความล้ มเหลวในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
ชาติฯ ระยะที่ 1 นโยบายของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แนวโน้ มสถานการณ์ ทุจริต ฯลฯ และกาหนดเป็ น
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ หลัก ยุทธศาสตร์ และแนวทางปฏิบัติ ตลอดจนกาหนดกลไก
ประสานงานกับภาคีและหน่ วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสั งคม และ สื่ อมวลชน ฯลฯ
วิสยั ทัศน์ ยทุ ธศาสตร์ชาติฯระยะที่ 2
“สังคมไทยมีวนิ ยั โปร่งใสยึดมันในคุ
่ ณธรรม จริยธรรมและร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็ นทีย่ อมรับในระดับสากล”
1. วิ สยั ทัศน์ ของยุทธศาสตร์ชาติ ฯ ระยะที่ 2 ยังคงมี ทิ ศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ชาติ ฯ ระยะที่ 1 เนื่ องจากการ
แก้ปัญหาทุจริ ตอย่างยั ่งยืนต้องแก้ที่สาเหตุ
2. ในยุทธศาสตร์ชาติ ฯ ระยะที่ 2 ได้เพิ่ มเรื่องการยอมรับในระดับสากล เพราะสถานการณ์ การทุจริ ตมีแนวโน้ มที่จะ
พัฒนารูปแบบเป็ นเครือข่ายการทุจริ ตข้ามชาติ
63
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556 – 2560)
วิสยั ทัศน์
“สังคมไทยมีวนิ ยั โปร่งใสยึดมันในคุ
่ ณธรรม จริยธรรมและร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็ นทีย่ อมรับในระดับสากล”
พันธกิจที่ 2
พันธกิจที่ 1
สร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม
และจิตสานึกการต่อต้านการ
ทุจริตโดยเน้นการปรับเปลีย่ น
ฐานความคิดเพือ่ เห็นแก่
ประโยชน์สว่ นรวมของประเทศ
ให้แก่ทุกภาคส่วนในสังคมไทย
โดยเฉพาะกลุม่ นักการเมืองและ
เจ้าหน้าทีร่ ฐั
วัตถุประสงค์หลักที่ 1
พันธกิจที่ 3
พัฒนาความร่วมมือระบบการ
พัฒนาระบบบริหารและ
ประสานงานและบูรณาการการ
เครื่องมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
ทางานระหว่างเครือข่ายการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ครอบคลุมพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย โดย
กับทุกภาคส่วน และปรับปรุง
เป็ นนวัตกรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์
กฎหมายเพือ่ ลดอุปสรรคใน
การบูรณาการและการดาเนินงาน ในการป้องกันและปราบปราม
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ทัง้ ภายในและระหว่างประเทศ
การทุจริต
วัตถุประสงค์หลักที่ 2
ยุทธศาสตร์ที่ 2
สนับสนุ นให้ภาคีทุกภาค
ส่วนสร้างองค์ความรู้
(Knowledge body) เพือ่ ให้
รูเ้ ท่าทันและร่วมกันป้องกัน
และปราบปรามการทุจริต
วัตถุประสงค์หลักที่ 3
เพือ่ พัฒนาระบบบริหารการต่อต้านการ
เพือ่ พัฒนาระบบ กลไก และ
เพือ่ ยกระดับจิตสานึกรับผิดชอบ
ทุจริตทีม่ ปี ระสิทธิภาพมีบรู ณาการ
มาตรการทีส่ นับสนุ นให้สาธารณะ
ในประโยชน์ของทุกภาคส่วน
เชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติฯกับแผน
โดยเฉพาะอย่างยิง่ นักการเมือง ยุทธศาสตร์ระดับองค์กรของหน่วยงาน และภาคประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วม
ต่อต้านการทุจริตเกิดความไว้วา่ ง
และบุคลากรในหน่วยงาน
ต่อต้านการทุจริตรวมทัง้ แนวทาง
ใจ และเชื่อมันในความปลอดภั
่
ย
ต่อต้านการทุจริต
ขับเคลื่อนและทิศทางประเมินผลทีช่ ดั เจน
ยุทธศาสตร์ที่ 1
พันธกิจที่ 4
ยุทธศาสตร์ที่ 3
วัตถุประสงค์หลักที่ 4
เพือ่ ยกระดับสมรรถนะการ
ดาเนินงานของหน่วยงานต่อต้าน
การทุจริตในด้านการต่อต้าน
ทุจริตให้เท่าทันสถานการณ์และ
ได้มาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์ที่ 4
ยุทธศาสตร์ท64ี่ 64
5
ยุทธศาสตร์ 1
ปลูกและปลุกจิ ตสานึ ก
การต่อต้านการทุจริ ต
เน้ นการปรับเปลี่ยน
ฐานความคิ ดของคน
ในทุกภาคส่วนในการ
รักษาผลประโยชน์
สาธารณะ
มาตรการ/ แนวทาง
1.1 ส่งเสริมการดาเนิน
ชีวติ ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
1.2 ส่งเสริมการใช้และ
กาหนดบทลงโทษ
ในประมวล
จริยธรรมแก่ทุกภาค
ส่วน
1.3 การใช้การศึกษา
และศาสนาเป็ น
เครื่องมือการปลูกปลุก-ปรับเปลีย่ น
ฐานความคิด
1.4 ดูแลคุณภาพชีวติ
และรายได้ของ
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ
และข้าราชการ
ยุทธศาสตร์ 2
บูรณาการทางานของ
หน่ วยงานในการต่อต้าน
การทุจริ ต และพัฒนา
เครือข่ายในประเทศ
ยุทธศาสตร์ 3
พัฒนาความร่วมมือ
กับองค์กรต่อต้าน
การทุจริ ต และเครือข่าย
ระหว่างประเทศ
มาตรการ/ แนวทาง
2.1 ประสานการทางานและ
การบริหารระหว่าง
องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
2.2 สร้างความเข้มแข็ง
การบูรณาการความ
ร่วมมือระหว่างภาคี
เครือข่าย หน่วยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค
ประชาสังคมและ
ประชาชนในการต่อต้าน
การทุจริต
2.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง
2.4 ปรับปรุงกฎหมายและ
การบังคับใช้กฎหมาย
รวมถึงการพัฒนา
ระเบียบ หลักเกณฑ์
ข้อบังคับในแต่ละ
หน่วยงานหลักในการ
ต่อต้านการทุจริตให้
สอดคล้องกัน
มาตรการ/ แนวทาง
3.1 ประสานความร่วมมือ
กับหน่วยงาน/องค์กร
ต่อต้านการทุจริตและ
องค์กรเอกชนในระดับ
นานาชาติ
3.2 ปรับปรุงและพัฒนา
กฎหมายให้สอดคล้อง
กับอนุ สญ
ั ญาระหว่าง
ประเทศ
3.3 สร้างความร่วมมือโดย
การเข้าร่วมปฎิญญา
และการทาบันทึก
ความเข้าใจระหว่าง
ประเทศ
ยุทธศาสตร์ 4
พัฒนาระบบบริ หาร
และเครื่องมือในการ
ป้ องกันและ
ปราบปรามการทุจริ ต
มาตรการ/ แนวทาง
4.1 ส่งเสริมและสนับสนุ น
การศึกษาวิจยั เพือ่
พัฒนามาตรการและ
เครื่องมือในการ
ป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต
4.2 สร้างเสริมระบบ
แจ้งเบาะแสและ
การคุม้ ครองพยาน
การเสริมสร้าง
ศักยภาพและการมี
ส่วนร่วมในการ
แก้ไขปญั หาทุจริต
ให้กบั ภาคี
เครือข่ายภาค
ประชาสังคมและ
ประชาชนเพือ่ ให้
เกิดความเชื่อมัน่
4.3 สร้างเสริมระบบรับ
เรื่องร้องเรียน
ให้กบั องค์กรตาม
รัฐธรรมนูญที่
ต่อต้านการทุจริต
ยุทธศาสตร์ 5
เสริ มสร้าง
องค์ความรู้ด้านการ
ต่อต้านการทุจริ ต
ให้กบั บุคลากร
ทุกภาคส่วน
มาตรการ/ แนวทาง
5.1 สร้างองค์ความรูใ้ น
การป้องกันและ
ปราบปรามการ
ทุจริตโดยการ
ศึกษาวิจยั และ
พัฒนา
5.2 พัฒนาระบบการ
จัดการองค์ความรู้
5.3 สร้างบุคลากร
เชีย่ วชาญเฉพาะ
สาขาสาหรับ
ตรวจสอบและ
ปราบปรามการ
ทุจริตรายสาขา
65
เหตุผลในการเลือกยุทธศาสตร์ทงั ้ 5
ยุทธศาสตร์ 1
ปลูกและปลุกจิ ตสานึ กการต่อต้านการ
ทุจริต เน้ นการปรับเปลี่ยนฐานความคิ ดของ
คนในทุกภาคส่วนในการรักษาผลประโยชน์
สาธารณะ
ยุทธศาสตร์ 2
บูรณาการทางานของหน่ วยงานในการ
ต่อต้านการทุจริต และพัฒนาเครือข่ายใน
ประเทศ
ยุทธศาสตร์ 3
พัฒนาความร่วมมือ กับองค์กรต่อต้าน
การทุจริต และเครือข่ายระหว่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ 4
พัฒนาระบบบริหารและเครือ่ งมือในการ
ป้ องกันและปราบปรามการทุจริต
ยุทธศาสตร์ 5
เสริมสร้างองค์ความรูด้ ้านการต่อต้านการ
ทุจริตให้กบั บุคลากรทุกภาคส่วน
ความมุ่งหวังทีจ่ ะสร้างนักการเมืองให้มเี จตนารมณ์ทแ่ี น่วแน่
ทางการเมือง มีการกระทาตนเป็ นแบบอย่างทีด่ ี เห็นแก่
ประโยชน์สว่ นรวม
ความมุ่งหวังทีจ่ ะเร่งสร้างจิตสานึกของภาคประชาชนตระหนัก
ถึงภัยร้ายของการทุจริต โดยการปลูกฝงั ผ่านกระบวนการ
เรียนรู้ การฝึกอบรม และการใช้กลไกทางศาสนา
การสร้างกระบวนการเรียนรูค้ วบคู่กบั การปรับปรุงคุณภาพ
ชีวติ ในส่วนของเจ้าหน้าทีร่ ฐั เพื่อลดแรงจูงใจในการประทา
การทุจริตของเจ้าหน้าทีร่ ฐั
ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ ๒ ให้มคี วามต่อเนื่อง
และมีประสิทธิภาพ องค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานที่
เกีย่ วข้องในการต่อต้านการทุจริต จะต้อง
มีการทางานในลักษณะของการบูรณาการความร่วมมือ
มีการปรับปรุงระบบการทางานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญที่
ต่อต้านการทุจริตให้มปี ระสิทธิภาพ
มีการจัดทาระบบติ
ดตามและประเมินผล
ประกาศให้
การขยายความร่
วมมือไปยังภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทัง้ ใน
ประชาชนทราบ
ประเทศและต่างประเทศ
ความมุ่งหวังในการสร้างความเชื่อมันและเป็
่
นแรงจูงใจให้แก่ประชาชนและ
เครือข่ายในการ้องเรียนแจ้งเบาะแส และเพื่อสร้างประสิทธิภาพการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต โดยการบังคับใช้กฎหมายการคุม้ ครองพยาน การสร้าง
กลไกการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ การปรับปรุง กม.ทีม่ อี ยู่เพื่อเสริมความ
เข้มแข็งขององค์กรตาม รัฐธรรมนูญ.อย่างเต็มที่
เนื่องจากรูปแบบการทุจริตมีความซับซ้อนมากขึน้ การตรวจสอบและ
หาหลักฐานกระทาได้ยากขึน้ จาเป็ นต้องเพิม่ องค์ความรูท้ ค่ี รบถ้วน โดย
การพัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ และการสร้างบุคลากรมืออาชีพใน
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่
66
เหมาะสม ทันสมัยและมีระบบฐานข้อมูลการทุจริตทีส่ มบูรณ์
66
การกาหนดเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วดั
(ยึดความเชือ่ มโยงกับค่าคะแนนดัชนี CPI และประเด็นการสารวจจาก 8 แหล่งข้อมูลหลัก)
เป้ าหมายหลัก
เพิ่มระดับของค่า CPI ของประเทศไทยโดยตัง้ เป้ าไว้ที่ ร้อยละ 50 ในปี 2560
เป้ าหมายรอง
- ผูม้ ีอานาจหรือผูด้ ารงตาแหน่ งทางการเมืองมีการทุจริตมีพฤติกรรมการทุจริตลดลง
- เจ้าหน้ าที่รฐั มีพฤติกรรมการใช้ตาแหน่ ง หน้ าที่ในทาง ทุจริต ประพฤติมิชอบลดลง
- ระดับการรับรู้ว่าการทุจริตเป็ นปัญหาส่งผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจสูงขึน้
- ระดับการทุจริตอันเกิดจากภาคธุรกิจ/ การจ่ายเงินสินบนในกระบวนการต่างๆลดลง
- ระดับความโปร่งใสและการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐเพิ่มขึน้
- ระดับการปราบปรามการทุจริตและบังคับใช้กฎหมายกับผูก้ ระทาผิดมีประสิทธิภาพเพิ่มขึน้
67
67
การกาหนดเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วดั ใน
ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2
วัตถุประสงค์หลักที่ 1
ยกระดับจิตสานึ กรับผิดชอบในประโยชน์ ของทุกภาคส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
นักการเมืองและบุคลากรในหน่ วยงานภาครัฐในการต่อต้านการทุจริต
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ปลูกและปลุกจิตสานึกการต่อต้านการทุจริต เน้นการ
ปรับเปลีย่ นฐานความคิดของคนในทุกภาคส่วนในการ
วชี้ว ั
รักษาผลประโยชน์ตัสาธารณะ
ด เ่ กีย่ วข้องกับการปลูกจิตสานึกด้านการต่อต้าน
1. จานวนหลักสูตรการเรียนการสอนและการฝึกอบรมที
การทุจริต
2. ความสาเร็จของการพัฒนาระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงานภาครัฐ
3. พฤติกรรมของผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมืองเป็ นทีย่ อมรับของประชาชนมากขึน้ อย่างมีนยั สาคัญ
68
68
การกาหนดเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วดั ใน
ยุทธศาสตร์ชาติฯวัระยะที
่ 2 หลักที่ 2
ตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาระบบบริหารการต่อต้านการทุจริตที่มีประสิทธิภาพ
มีการบูรณาการเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติฯกับแผนยุทธศาสตร์ระดับองค์กรของหน่ วยงาน
ต่อต้านการทุจริต รวมทัง้ แนวทางขับเคลื่อนและทิศทางประเมินผลที่ชดั เจน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 บูรณาการทางานของหน่วยงานใน
การต่อต้านการทุจริต และพัฒนาเครือข่ายในประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความร่วมมือกับองค์กร
ต่อต้านการทุจริตและเครือข่ายระหว่างประเทศ
ตัวชี้ว ั
1. ความก้าวหน้าหรือความสาเร็จในการพัฒนาระบบบริหารและการประสานงานการต่อต้านการทุจริตทีเ่ ชือ่ มโยงการทางานระหว่าง
ด
องค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการต่อต้านการทุจริต(Anti-Corruption Agencies: ACA) ของต่างประเทศและภาคี
อื่นๆรวมทัง้ การเชือ่ มโยงจากส่วนกลางสูพ่ น้ื ที่
2. ระดับความสาเร็จของการพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการขับเคลือ่ นแผนยุทธศาสตร์ชาติวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปราม
การทุจริต ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) .
3. รัฐบาลมีแนวนโยบายสนับสนุนในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ฯ ทีช่ ดั เจนทัง้ ทางด้านงบประมาณและ บุคลากรในสัดส่วนที่เหมาะสม
69
69
การกาหนดเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วดั ใน
ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2
วัตถุประสงค์หลักที่ 3
เพื่อพัฒนาระบบ กลไก และมาตรการที่สนับสนุนให้ทุกภาคส่วน
โดยเฉพาะภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริตเกิด
ความไว้ว่างใจ และเชื่อมันในความปลอดภั
่
ย
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารและเครือ่ งมือในการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต
ตัวชี้ว ั
ดม้ ครองพยานและผูแ้ จ้งเบาะแสอย่างมีประสิทธิภาพ
1. ระดับความสาเร็จของการบังคับใช้กฎหมายการคุ
2. จานวนเครือข่ายเพือ่ ร่วมขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ
เพิม่ ขึน้
3. ร้อยละความพึงพอใจของภาคีทุกภาคส่วนทีม่ ตี ่อระบบแจ้งเบาะแสการทุจริต
4. ระดับความเป็ นอิสระของสือ่ และการเข้าถึงข้อมูลของประชาชน
70
70
การกาหนดเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วดั ใน
ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2
วัตถุประสงค์หลักที่ 4
เพื่อยกระดับสมรรถนะการดาเนินงานของหน่ วยงาน
ต่อต้านการทุจริตในด้านการต่อต้านทุจริตให้เท่าทัน
สถานการณ์และได้มาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์ที่ 5 เสริมสร้างองค์ความรูด้ า้ นการต่อต้านการทุจริตให้กบั บุคลากรทุกภาคส่วน
ตัวชี้ว ั
1. ระดับความสาเร็จในการเตรียมความพร้อมการพัฒนากลไกความร่วมมือและมาตรการทางกฎหมายรองรับการ
ด
จัดตัง้ ประชาคมอาเซียนว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุ
จริต
2. ระดับความสาเร็จการจัดตัง้ ฐานข้อมูลกลางและองค์ความรูท้ เ่ี ท่าทันสถานการณ์เพือ่ เป็ นประโยชน์ต่อการวิจยั
การพัฒนาบุคลากรและกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
3. ระดับความสาเร็จในการปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย การจัดทามาตรการ และกลไก การป้องกันและปราบปราม
71
การทุจริตทีส่ อดคล้องกับอนุสญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการต่อต้านการทุจริตค.ศ. 2003
71
ดัชนี ภาพลักษณ์คอร์รปั ชันของไทย
่
(Thailand - Corruption Perceptions Index : CPI)
ปี
คะแนน CPI
อันดับโลก
อันดับอาเซียน
ประเทศ
จานวนแหล่งข้อมูล
คะแนนตา่ สุด-สูงสุด
2007
3.3
84
3
179
9
2.9 - 3.7
2008
3.5
80
3
180
9
3.0 - 3.9
2009
3.4
84
3
180
9
3.0 - 3.8
2010
3.5
78
4
178
9
2.4 - 4.4
2011
3.4
80
4
182
11
2.6 - 4.1
2012
37/100
88
4
176
8
31 - 45
2013
35/100
102
5
177
8
31 - 40
72
ค่ าดัชนี CPI ของประเทศไทย
ค่าดัชนี Corruption Perception Index (CPI)ของประเทศไทย
2554
2555
2556
3.4
37/100
35/100
Bertelsmann Foundation Transformation Index 2012; BF (BTI) เน้นเรื่ อง การลงโทษทาง
3.9
45/100 *
40/100 *
2
IMD World Competitiveness Year Book 2012 ; (IMD)
3.9
38/100
36/100
3
Political Risk Services International Country Risk Guide ; (ICRG)
2.6
31/100 *
31/100 *
4
World Economic Forum Executive Opinion Survey (EOS) 2012 ; (WEF)
3.2
35/100
35/100
5
World Justice Project Rule of Law Index 2012 ; (WJP)
3.8
33/100
33/100
6
Economist Intelligence Unit Country Risk Assessment ; (EIU)
3.2
38/100
38/100
7
Global Insight Country Risk Ratings ; (GI)
3.3
42/100
32/100
8
Political and Economic Risk Consultancy Asian Intelligence 2012 ; (PERC)
3.2
35/100
39/100
สรุปเรื่องที่แต่ ละแหล่งข้ อมูลหลักต้ องการสารวจ
1
กฎหมายต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ใช้อานาจหรื อตาแหน่งในทางที่ผดิ ความสาเร็ จของภาครัฐในการควบคุมการทุจริ ต
คอร์ รัปชัน่ และการมีกลไกเรื่ องความซื่ อสัตย์สุจริ ตอยูใ่ นระบบ
การติดสิ นบนและการทุจริ ตมีอยูห่ รื อไม่ และมากน้อยเพียงใด
ผูม้ ีอานาจหรื อตาแหน่งทางการเมืองมีการทุจริ ตโดยใช้ระบบอุปถัมภ์และระบบเครื อญาติ และภาคการเมืองกับภาค
ธุ รกิจมีความสัมพันธ์กนั มากน้อยเพียงใด
ภาคธุ รกิจต้องจ่ายเงินสิ นบนในกระบวนการต่างๆ มากน้อยเพียงใด
เจ้าหน้าที่รัฐมีพฤติกรรมการใช้ตาแหน่ง หน้าที่ในทางมิชอบมากน้อยเพียงใด
ความโปร่ งใสและตรวจสอบได้ในการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ
การดาเนินการทางธุ รกิจต้องเกี่ยวข้องกับการทุจริ ตมากน้อยเพียงใด
ระดับการรับรู ้วา่ การทุจริ ตเป็ นปั ญหาที่ส่งผลกระทบต่อสถาบันต่างๆ ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง มากน้อย
เพียงใด
73
สรุปคะแนนดัชนี ภาพลักษณ์การทุจริตของประเทศไทยใน
การสารวจที่มปีีค่า2556
คะแนน ตา่ กว่า ปี 2555
การปราบปรามการทุจริตและบังคับใช้ กฎหมายกับผู้กระทาผิดมีประสิทธิภาพ ; BTI 3.9
*
การสารวจเกีย่ วกับการติดสินบนและการทุจริต ; IMD 3.9
38
36
การดาเนินการทางธุรกิจต้ องเกีย่ วข้ องกับการทุจริต ; GI 3.3
42
32
45
40
การสารวจที่มีค่าคะแนน สูงกว่า ปี 2555
ระดับการรับรู้ ว่าการทุจริตเป็ นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่ อสถาบันต่ างๆ ทางสั งคม เศรษฐกิจ และการเมือง ; PERC แสดงให้
เห็นว่าประชาชนคนไทยและทุกภาคส่ วนเริ่ มรับรู้และตระหนักว่าการทุจริ ตเป็ นปั ญหาที่ส่งผลกระทบต่อสถาบันต่างๆ ทั้ง
ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองเพิ่ม มากขึ้น ซึ่ งประเด็นนี้ จะเป็ นปัจจัยสาคัญประการหนึ่ งที่จะช่วยให้การขับเคลื่อนแผน
ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 ประสบความสาเร็จตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ได้ 3.2
35
39
การสารวจทีม่ คี ่ าคะแนน เท่ ากับ ปี 2555
*
*
ความโปร่ งใสและตรวจสอบได้ ในการใช้ จ่ายงบประมาณภาครัฐ ภาคธุรกิจต้ องจ่ ายเงินสินบนในกระบวนการต่ างๆ 3.2
; EIU 38 38
เจ้ าหน้ าที่รัฐมีพฤติกรรมการใช้ ตาแหน่ ง หน้ าที่ในทางมิชอบ ; WJP3.8 33 33
ผู้มีอานาจหรือตาแหน่ งทางการเมืองมีการทุจริตโดยใช้ ระบบอุปถัมภ์ และระบบเครือญาติ และภาคการเมืองกับภาคธุรกิจ
มีความสัมพันธ์ กนั ; ICRG(แม้วา่ ค่าคะแนนไม่เปลี่ยนแปลงจากปี 2555 แต่มีค่าคะแนนต่าที่สุดเมื่อเทียบกับข้ออื2.6
่น) 31 3174
74
ค่ าคะแนน CPI ที่ประเทศไทยได้ รับ บ่ งชี้อะไร ?
การแก่งแย่งชงิ ดีทางการเมืองในการฉกฉวย
๕
ผลการสารวจพบว่า “คนไทยสว่ นใหญ่เห็น
โอกาสหาผลประโยชน์ให ้แก่ตนเองและพวกพ ้อง
ด้วย ถ้ำมีร ัฐบำลโกงกินทุจริตแต่ชวี ต
ิ
โดยมิได ค
้ านึ งถึงผลกระทบที่ จะเกิดขึ้นกั บ
สงั คมและประเทศชาติโดยรวมนำมำซงึ่ ปัญหำ
หำกมีชวี ต
ิ ทีด
่ ข
ี น
ึ้ “
ี งให้
ประชำชนอยูด
่ ก
ี น
ิ ดี และยินยอมขำยเสย
ึ่ เป็ นภ ย
กำรทุจริตซ ง
ั ร้ำยแรงส ำค ัญและ
ั
้ ร ังในสงคมไทย
เป็นปัญหำเรือ
มีแนวโน้ม
ั ซ ้อนและผลกระทบรุ นแรง
ทวีควำมซ บ
้ เรือ
มำกขึน
่ ยๆ
จิตสำนึกของคนไทย โดยเฉพำะเด็กและ
เยำวชนคนไทยเริม
่ เบีย
่ งเบนไปจำกหล ัก
คุณธรรมจริยธรรม ผลการสารวจสุขภาพ
เด็กในด ้านอารมณ์ จิตใจ สงั คม และ
จริยธรรมของ กลุม
่ ตัวอย่างเด็กอายุ 10 – 14
ปี โดย รพ.รามาธิบดี พบว่าเด็กไทยยอมรับ
ได ้กับ "กำรเล่นขีโ้ กงเมือ
่ มีโอกำส และ
กำรลอกข้อสอบถ้ำจำเป็น”
กำรทุจริตทีแ
่ พร่กระจำยไปทงภำคร
ั้
ัฐและ
เอกชน มีสำเหตุสำค ัญเนือ
่ งมำจำกจิตสำนึกใน
ั
เรือ
่ งคุณธรรมจริยธรรมของผูค
้ นในสงคม
ื่ มถอยลงไป
บำงสว่ นเสอ
ประเทศไทยย ังขำดกำรสร้ำง
ั สุจริต
ื่ สตย์
้ ฐำนควำมซอ
พืน
ควำมมีวน
ิ ัย และคุณธรรม
จริยธรรม ตลอดจนจิต
สำธำรณะในทุกภำคสว่ นทุก
กลุม
่ ว ัยและทุกระด ับ
7575
ลัทธิบริโภคนิยม
การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
• การขยายตลาดการค้า/บริ การสู่ GMS / AEC
• การขยายตัวของปริ มาณการค้าชายแดนในพืน้ ที่
• สิ นค้า การลงทุนทุน เคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี
• การขยายตัวของวิ สาหกิ จขนาดกลางและย่อม
• การเคลื่อนย้ายคน/แรงงานอย่างเสรี
• การคอร์รปั ชันทางแรงงานและผลผลิ
่
ตทางการเกษตร
• การนิ ยมบริ โภคฟุ่ มเฟื อยเกิ นความจาเป็ น
• การเติ บโตหากาไรของเอกชนในระยะสัน้ นามา
ซึ่งการใช้อานาจหน้ าที่เจ้าหน้ าที่รฐั ในทางมิ ชอบ
• การใช้สารเคมี พลังงานอย่างสิ้ นเปลือง
เป็ นการคอร์รปั ชันสิ
่ ่ งแวดล้อม
ภัยคุกคาม
การขยายตัวของชุมชนเมือง
• ปัญหาชุมชนแออัด สังคม อุตสาหกรรม
• การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ ตัดไม้
ทาลายป่ า
ความเสี่ ยงที่จะตกเป็ นเป้ าหมายของอาชญากรรม
ข้ามชาติ ติดสิ นบนข้ามชาติ การค้ายาเสพติด
การทุจริ ตตามแนวชายแดน การค้ามนุษย์ ความผิด
ที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ (Cyber Crime) ฯลฯ
การเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด
E-ASEAN (พาณิ ชย์อิเลคทรอนิกส์)
E – Everything Artificial
Intelligence
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคม
• การเข้าสู่สงั คมผูส้ งู อายุ
• การยึดติ ดกับค่านิ ยมระบบอุปถัมภ์
ในสังคมต่างตอบแทน
76
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตระยะ
ที่ 2
ปัจจุบนั การจัดทายุทธศาสตร์ ชาติฯ ระยะที่ 2 ได้ ดาเนินการเสร็จเรียบร้ อยแล้ ว และคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติ
เห็นชอบกับยุทธศาสตร์ ดงั กล่ าวเมือ่ วันที่ 9 มกราคม 2557 (ภายหลังการปรึ กษาหารื อกับ 7 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ เพื่อ
ใช้เป็ นแนวทางขับเคลื่อนไปพลางก่อนและพร้อมที่จะนาเข้าหารื อกับทุกภาคส่ วนอย่างเป็ นทางการเพื่อกาหนดเป็ นวาระ
แห่งชาติโดยเร็วที่สุดเมื่อมี “รัฐบาลถูกต้องตามกฎหมาย (Legitimate Government)”
77
กำรข ับเคลือ
่ นยุทธศำสตร์ชำติฯ ระยะที่ 1
ปัญหำ/อุปสรรคทีส
่ ำค ัญ
กำรนำบทเรียนมำปร ับปรุงในยุทธศำสตร์
ชำติฯ ระยะที่ 2
78
ภาครัฐ...การต่อต้านทุจริตมีความเคลื่อนไหว มีแนวทางชัดเจนขึ้น
•
•
•
•
ครม. มีมติ ที่สาคัญหลายครัง้ เกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ฯ
พัฒนาเครือข่ายประชาชนป้ องกันปราบปรามทุจริ ตโดยการริ เริ่ มของภาครัฐ
ไทยเข้าเป็ นรัฐภาคีอนุสญ
ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริ ต (UNCAC)
มีกฎหมายใหม่ที่เป็ นเครื่องมือสาคัญในการต่อต้านการทุจริ ตอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ภาคเอกชน...ตื่นตัว เคลื่อนไหว แสดงจุดยืน “ต่อต้านทุจริต”
• แสดงบทบาทเชิ งรุก/บทบาทนาการร่วมมือแก้ปัญหาการทุจริ ตในระดับประเทศ
• มีโครงการร่วมต่อต้านการทุจริ ตในภาครัฐ ที่เอกชนมีบทบาทเชิ งรุก ได้แก่ โครงการ
Collective Action และโครงการหมาเฝ้ าบ้าน (Watch Dog)
...
ภาคประชาสังคม และสื่อ กระตุ้น สร้างความตระหนัก สังคมตื่นตัว เกิดจิตอาสา
• สร้างความตื่นตัว พัฒนาจิ ตอาสา นาไปสู่เครือข่ายต่อต้านการทุจริ ตที่เข้มแข็ง
• ปลูกจิ ตสานึ ก ค่านิ ยม คุณธรรม จริ ยธรรม ในเด็ก/เยาวชน (โครงการโตไปไม่โกง)
• สื่อมีบทบาทเพิ่ มขึน้ ในการป้ องกัน ตรวจสอบ เฝ้ าระวัง โดยเฉพาะการทุจริ ตเชิ งนโยบาย
และมีการพัฒนาตนเองตลอดเวลา
กลไกศาสนาและการศึกษา...กล่อมเกลา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจิตสานึ ก
• ใช้หลักและคาสอนของแต่ละศาสนาปลูกจิ ตสานึ กที่ดีของเด็กและเยาวชน
• ปลุกจิ ตสานึ กประชาชนให้ตระหนักว่าการต่อต้านการทุจริ ตเป็ นส่วนหนึ่ งของความ
รับผิดชอบของศาสนิ กชนที่ดี
79
79
ปัญหา อุปสรรคการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1
• การประสานความร่วมมือ ไม่มกี ารมอบหมาย
ผูร้ บั ผิดชอบชัดเจน (ไม่มเี จ้าของเรื่อง)
• ภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ
ในลักษณะต่างคนต่างทา
• องค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่ วยงานภาครัฐ
ยังไม่ได้เข้ามาร่วมผนึกกาลัง
• ภาคเอกชนทีร่ ่วมเป็ นแนวร่วมปฏิบตั ยิ งั มีจานวน
จากัด
• ฝ่ ายบริหารและนิติบญ
ั ญัติยงั ไม่ได้สนับสนุ น
อย่างเพียงพอ
• ภาคประชาสังคมและภาคประชาชนยังข้อจากัด
ในการเข้าร่วมเนื่องจากขาดทรัพยากรสนับสนุ น
• ขาดการประสานงานของกลไกการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ฯ ระหว่างอนุ กรรมการฯ ภาคีต่างๆ
• ขาดการประสานงานภายใน ระหว่างสานักต่างๆ
ส่วนกลางและภูมภิ าค และกลไกขับเคลือ่ นระดับจังหวัด
• ขาดการวัดการบรรลุเป้ าหมายยุทธศาสตร์ชาติฯ
และเป้ าหมายขององค์กร ของผลลัพธ์ (Outcome)
และผลกระทบ (Impact) ของกิจกรรมการป้องกัน
• แนวทางการติดตามประเมินผลยังไม่ชดั เจน และไม่
ต่อเนื่ อง (ขาดกลไกในการติดตามความก้าวหน้าและ
ระบบการประเมินผลทีเ่ หมาะสม
• กฎ ระเบียบและหลักเกณฑ์ในการปฏิบตั ิ งาน ;ยังคงมีแนวคิดเดียวกับส่วนราชการ ไม่คล่องตัว
80
• ข้อจากัดด้านงบประมาณ บุคลากร
จากบทเรียนจากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1
ในช่วงของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 มีการปรับแก้ โดยเฉพาะ
มีการรวมพลัง 7 องค์กร
ตามรัฐธรรมนูญ
มีการกาหนดเป้ าหมาย
ในแต่ละปี
มีการกาหนดบทบาทความ
รับผิดชอบที่ชดั เจนของผูท้ ี่
เกี่ยวข้องและภาคีสาคัญ
• มีการรวมพลังองค์กรตามรัฐธรรมนูญ 7 องค์กร เพื่อ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ร่วมกัน
• มีการกาหนดเป้ าหมายที่จะดาเนินการให้สาเร็จลุล่วงในแต่ละ
ปี ที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาจากการวิเคราะห์ดชั นี CPI
และมีการติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชิด
• ภาครัฐ จะต้องให้รฐั บาลมีการแถลงนโยบายกาหนดเป็ นวาระ
แห่งชาติในการต่อต้านทุจริต
• องค์กรหน่ วยงานสาคัญทุกหน่ วยงานที่มีบทบาทหน้ าที่เกี่ยวข้อง
กับยุทธศาสตร์ชาติฯ ต้องมีการจัดทา MOU ระหว่างกัน
81
(ตัวอย่ าง) การกระชับความร่ วมมือกับหน่ วยงานหลัก (Key Strategic
Partner)
• ประสานความร่วมมือในการต่อต้านการทุจริ ตคอรัปชัน่
โดยมี
ทึกยกลไกทางการศึ
ข้ อตกลงความร่
กษาเป็ นเครื่อว
งมืมมื
อปลูกอจิ ต(MOU)
สานึ กแก่เยาวชน
กระทรวงศึ
กษาธิกการารจัดทาบั• นอาศั
(สร้างคุณธรรมและจริ ยธรรมสอดแทรกเข้าในหลักสูตรการศึกษา)
สานักงานตารวจแห่งชาติ (สตช.)
• การปฏิบตั แิ ละประสานงานการให้ความคุม้ ครองช่วยเหลือพยาน
(จัดเจ้าหน้าทีค่ มุ้ ครองพยานให้เบาะแสคดีทุจริต)
ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย
• ส่งเสริมให้ทุกหน่วยงานในสังกัด นายุทธศาสตร์ชาติฯ และดัชนีวดั คุณธรรมและ
ความโปร่งใสไปประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะการส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม
แก่คณาจารย์ บุคลากร นิสติ นักศึกษา
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
• การรณรงค์ป้องกันและปราบปรามการทุจริต
-สานักงานโครงการกองทุนการศึกษา
-สานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
-ศูนย์คณ
ุ ธรรม (องค์การมหาชน)
-ม.ศรีนครินทรวิโรฒ
• พัฒนาโรงเรียนคุณธรรม จริยธรรม ในโครงการกองทุนการศึกษา เพือ่ สร้างจิตสานึก
คุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา ให้กบั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่
จะต้องเป็ นแบบอยางทีด่ ใี ห้แก่เด็กและเยาวชน
หน่ วยงานต่อต้านการทุจริตและ
สิทธิพลเมือง สาธารณรัฐเกาหลี
• พัฒนาข้อมูลข่าวสารร่วมกันทีจ่ ะต่อต้านปญั หาคอรัปชัน่
• ป.ป.ช. ได้จดั ทาโครงการประเมินคุณธรรมการดาเนินงานและความโปร่งใสการทางาน
ของภาครัฐ
82
จากบทเรียนจากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1
ในช่วงของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 จะมีการปรับแก้ (ต่อ)
กาหนดการติดตาม
ประเมินผลการขับเคลื่อน
อย่างเป็ นระบบ
• มีการกาหนดการติดตามประเมินผลการขับเคลื่อน
อย่างเป็ นระบบในทุกระดับ ทัง้ ในระดับชาติ ระดับ
สานักงาน และระดับจังหวัด
มีการกาหนดบทบาทความ
รับผิดชอบของฝ่ ายบริหาร
สานักงาน ป.ป.ช.
• การกาหนดบทบาทความรับผิดชอบของฝ่ ายบริหารสานักงาน
ป.ป.ช.ในการเชื่อมประสานกับหน่ วยงานภายนอกและการ
บริหารจัดการภายในของสานักงาน ป.ป.ช. โดยเฉพาะการ
บูรณาการส่วนกลางกับภูมิภาค
มีการผนวกนา
“มาตรการเสริมที่สาคัญ” เป็ น
เครื่องมือในการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติฯ
• มาตรการทาง กม. ม.100 ม. 103 ม. 103/7
• มาตรการติดตามประเมินผล ใช้เครื่องมือ ITA
83
มาตรการเสริมด้านการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตที่สาคัญ
การขัดกันระหว่างประโยชน์ ส่วนบุคคลและประโยชน์ ส่วนรวม
ห้ามเจ้าพนักงานของรัฐ (ทีม่ อี านาจกากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือ
ดาเนินคดี)
• เป็นคู่สญ
ั ญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาทีท่ ากับหน่วยงานของรัฐ
• เป็นหุน้ ส่วน หรือผูถ้ อื หุน้ ในห้างหุน้ ส่วนหรือบริษทั ทีเ่ ป็นคู่สญ
ั ญากับ
หน่วยงานของรัฐ
• รับสัมปทานหรือคงถือไว้ซง่ึ สัมปทานจากรัฐฯ หรือเข้าเป็นคู่สญ
ั ญากับ
รัฐอันมีลกั ษณะผูกขาดไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือเป็นหุ้นส่วน/ผู้
ถือหุน้ ในห้าง/บริษทั ทีร่ บั สัมปทาน/เข้าเป็นคู่สญ
ั ญาในลักษณะดังกล่าว
หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใด โดยธรรมจรรยา
ของเจ้าหน้ าที่ของรัฐ พ.ศ. 2543 (มาตรา 103) ห้ามมิให้เจ้าหน้าทีข่ อง
รัฐผูใ้ ดรับทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อ่นื ใดจากบุคคล นอกเหนือจากทรัพย์สนิ
หรือประโยชน์อนั ควรได้ตามกฎหมาย หรือกฎ ข้อบังคับทีอ่ อกโดยอาศัย
อานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สนิ หรือประโยชน์
อื่นใดโดยธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑ์และจานวนทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช.
กาหนด
การเปิ ดเผยราคากลางไว้ในระบบข้อมูลทางอิ เล็กทรอนิ กส์ เพื่อให้
ประชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้ และการแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย
ของโครงการที่เป็ นคู่สญ
ั ญากับหน่ วยงานของรัฐ เพื่อสร้างความ
โปร่งใสในการจัดซือ้ จัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ
ITA
ม.100
ม. 103
ม. 103/7
ระบบประเมิ นคุณธรรมและความโปร่งใสใน
การดาเนิ นงานของหน่ วยงานภาครัฐ
(Integrity&Transparency Assessment : ITA)
เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐทราบถึงระดับคุณธรรม
ความโปร่งใส และข้อจากัดในการดาเนินงาน และ
พัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานให้มคี วามเป็ นธรรม
มีความโปร่งใสมากยิง่ ขึน้ และนาไปสู่การยกระดับ
ส่งเสริมภาพลักษณ์คอร์รปั ชันของประเทศให้
่
สงู ขึน้
การป้ องกันทุจริ ตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
- การบริหารความเสีย่ งด้านการจัดซือ้ จัดจ้าง
- โครงการปฏิบตั กิ ารร่วมภาคเอกชนป้องกันการจัดซือ้
จัดจ้างภาครัฐ (Collective Action Against Corruption)
การตลาดเชิ งสังคม (Social Marketing)
- การใช้แนวทาง “การตลาดเชิงสังคม” ในการประชา
สัมพันธ์และการรณรงค์สร้างกระแสต้านทุจริต
84
จากบทเรียนจากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1
ในช่วงของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 จะมีการปรับแก้ (ต่อ)
มีการประสานความ
รวมมื
อกับหน่วยงาน
่
ตางประเทศและ
่
หน่วยงานระหวาง
่
ประเทศ
มีการพัฒนาระบบการ
ประมวลขอมู
้ ล
สารสนเทศ
• มีการประสานความร่วมมือกับหน่ วยงานของ
ต่างประเทศและหน่ วยงานระหว่างประเทศทัง้
ทางด้านคดี การติดตามทรัพย์สินคืนและการ
พัฒนาวิชาการ (รวมทรัพยากรบุคลากร)
• มีการพัฒนาระบบการประมวลข้อมูลสารสนเทศ
เกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯขึน้ เป็ น
การเฉพาะ (ประมวลข้อมูลในลักษณะ Interactive)
85
แนวทางแก้ไขปัญหา(๑)
• ดาเนินการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนในสังคม(Changing
Public Attitude) เพื่อนาไปสูก่ ารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ไม่
ยอมรับการทุจริตและมีสว่ นร่วมในการทุจริตและต่อต้ านการทุจริตใน
ที่สดุ โดยเริ่มจากการพัฒนาบุคลากรของสานักงาน ป.ป.ช. และใน
สถานศึกษา โดยไม่ให้ มีกรณีการใช้ อิทธิพลฝากลูก หลาน เข้ าโรงเรี ยน
ซึง่ ขัดหลักความไม่เสมอภาค หรื อการให้ ทรัพย์สินเป็ นการแลกเปลี่ยน
ซึง่ อาจเรี ยกว่าเป็ นเงินบริจาคแต่ข้อเท็จจริงแล้ วเป็ นการให้ สนิ บนเพราะ
การกระทานี ้เป็ นการเพาะเชื ้อการทุจริตให้ แก่เด็กที่จะติดตัวไปตลอด
ชีวิต
แนวทางแก้ไขปัญหา(๒)
• กาหนดค่าตอบแทนของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐให้ สามารถดารงชีพอยู่ได้ โดย
ไม่ต้องไปประกอบอาชีพเสริมโดยเฉพาะเจ้ าหน้ าที่ของรัฐชันผู
้ ้ น้อยโดย
กาหนดเงินเดือนและค่าตอบแทนอื่นๆให้ สอดคล้ องกับค่าครองชีพ
• มีการกระจายอานาจการปกครองไปสูอ่ งค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นให้
มากขึ ้น โดยส่งเสริมให้ เป็ นหน่วยงานหลักในการให้ บริการสาธารณะ
ตามที่กาหนดไว้ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๒๘๑
จบการนาเสนอ
• ตอบข้ อซักถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น