(Conception of Curriculum) ตามรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า currere หมายถึง Running course หรื อเส้นทางที่ใช้ในการวิง่ ต่อมาเมื่อใช้กบั การศึกษา จึงหมายถึง running sequence of courses or learning experience เปรี ยบหลักสูตรเหมือนสนามหรื อลู่วงิ่ ให้ ผูเ้

Download Report

Transcript (Conception of Curriculum) ตามรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า currere หมายถึง Running course หรื อเส้นทางที่ใช้ในการวิง่ ต่อมาเมื่อใช้กบั การศึกษา จึงหมายถึง running sequence of courses or learning experience เปรี ยบหลักสูตรเหมือนสนามหรื อลู่วงิ่ ให้ ผูเ้

(Conception of Curriculum)
ตามรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า currere หมายถึง
Running course หรื อเส้นทางที่ใช้ในการวิง่
ต่อมาเมื่อใช้กบั การศึกษา จึงหมายถึง running sequence of courses
or learning experience เปรี ยบหลักสูตรเหมือนสนามหรื อลู่วงิ่ ให้
ผูเ้ รี ยนฟันฝ่ าความยากของวิชาหรื อประสบการณ์การเรี ยนรู ้ต่างๆ
ที่กาหนดไว้ในหลักสู ตร
ตามอักษรย่ อ SOPEA
1. Curriculum as Subject and Subject Matter
หลักสูตร คือ รายวิชาหรื อเนื้อหาที่เรี ยน
2. Curriculum as Objectives
หลักสูตร คือ จุดมุ่งหมายที่ผเู ้ รี ยนพึงบรรลุ
3. Curriculum as Plan
หลักสูตร คือ แผนสาหรับจัดโอกาสการเรี ยนรู ้หรื อประสบการณ์
ที่คาดหวังแก่ผเู ้ รี ยน
4. Curriculum as Learners Experiences
หลักสูตร คือ ประสบการณ์ท้ งั ปวงของผูเ้ รี ยนที่จดั โดยโรงเรี ยน
5. Curriculum as Educational Activities
หลักสูตร คือ กิจกรรมทางการศึกษาที่จดั ให้กบั ผูเ้ รี ยน
ตามอักษรย่ อ SOPEA
1. Curriculum as Subject and Subject Matter
หลักสูตร คือ รายวิชาหรื อเนื้อหาที่เรี ยน
หลักสูตรเป็ นรายวิชาหรื อเนื้อหาที่เตรี ยมให้ผเู ้ รี ยนในระดับการศึกษาต่างๆ
นักการศึกษาที่ให้ความหมายหลักสูตรในลักษณะนี้ คือ
Boobbitt (1918, p. 72) “หลักสูตร หมายถึง รายการที่สร้างประสบการณ์
ในทุกอย่างที่เด็กและเยาวชนจะต้องทาและจะต้องประสบ ทาให้เกิดการ
พัฒนาความสามารถเพื่อจะทาสิ่ งต่างๆ ให้ดีข้ ึนและเหมาะสมสาหรับดารง
ชีวิตในวัยผูใ้ หญ่
Good (1973, p. 154) “หลักสูตร คือ กลุ่มรายวิชาที่จดั ไว้อย่างมีระบบหรื อ
ลาดับวิชาที่บงั คับ สาหรับการจบการศึกษาหรื อเพื่อรับประกาศนียบัตรใน
วิชาหลักๆ”
Curriculum as Objectives
หลักสู ตร คือ จุดมุ่งหมายทีผ่ ู้เรียนพึงบรรลุ
หลักสูตรในความหมายนี้ หมายถึง สิ่ งที่ผเู ้ รี ยนต้องเรี ยนทั้งในและ
นอกห้องเรี ยน เพื่อให้บรรลุจุดหมายและจุดประสงค์ที่ได้กาหนดไว้
นักการศึกษาที่ให้ความหมายนี้ ได้แก่
Lavatelli and others (1972, p.1-2) “หลักสูตรเป็ นชุดของการเรี ยนและ
ประสบการณ์สาหรับเด็ก ซึ่งโรงเรี ยนวางแผนไว้เพื่อให้เด็กบรรลุถึง
จุดหมายของการศึกษา”
Johnson ((1970, p.25) “หลักสูตรเกี่ยวข้องกับสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนต้องเรี ยนรู ้หรื อ
สามารถทาได้ หลักสูตรคือ ผลที่ออกมาไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น เป็ นความคาดหวัง
หรื อความตั้งใจ”
Curriculum as Plan
หลักสู ตร คือ แผนสาหรับจัดโอกาสการเรียนรู้ หรือ
ประสบการณ์ ทคี่ าดหวังแก่ ผู้เรียน
หลักสู ตรในความหมายนี้ เน้ นการแสดงเกีย่ วกับจุดหมายหรือวัตถุประสงค์
การออกแบบหลักสู ตร การนาหลักสู ตรไปใช้ และการประเมินผล เพือ่ เป็ น
แนวทางให้ ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องได้ ปฏิบัติ โดยมุ่งให้ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและ
พฤติกรรมตามทีก่ าหนดในหลักสู ตร นักการศึกษาทีใ่ ห้ ความหมายนีค้ อื
Saylor & Alexander (1974, p. 6) “หลักสู ตรเป็ นแผนสาหรับจัดโอกาส
การเรียนรู้ให้ แก่บุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพือ่ บรรลุเป้าหมายหรือจุดหมายที่
วางไว้ โดยมีโรงเรียนเป็ นผู้รับผิดชอบ
Taba (1962, p. 10-11) หลักสู ตร คือ แผนการเรียนรู้ทปี่ ระกอบด้ วย
จุดประสงค์ และจุดหมายเฉพาะการเลือกและการจัดเนือ้ หา วิธีการจัดการเรียน
การสอนและการประเมินผล
Curriculum as Learners Experiences
หลักสู ตร คือ ประสบการณ์ ท้งั ปวงของผู้เรียนทีจ่ ัดโดยโรงเรียน
มุมมองของหลักสูตรในความหมายนี้ คือ เน้นความสาคัญที่ประสบการณ์
ที่จดั ให้ผเู ้ รี ยน โดยโรงเรี ยนเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
wheeler (1974, p. 11) “หลักสูตรเป็ นประสบการณ์ที่นกั เรี ยน
ได้รับทั้งภายในและภายนอกโรงเรี ยน เพื่อให้นกั เรี ยนมีการพัฒนาด้านร่ างกาย
สังคม ปัญญา และจิตใจ
Curriculum as Educational Activities
หลักสู ตร คือ กิจกรรมทางการศึกษาที่จดั ให้กบั ผูเ้ รี ยน
หลักสู ตรในความหมายนี้ เป็ นกิจกรรมการเรียนการสอนทีจ่ ดั ให้
ผู้เรียนได้ มีความรู้ ประสบการณ์ และคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
ตามที่กาหนดไว้
Trump and Miller “หลักสู ตร คือ กิจกรรมการเรียน
การสอนวิชาต่ างๆ ทีเ่ ตรียมการไว้ และจัดให้ แก่ นักเรียนโดยโรงเรียน
หรือระบบโรงเรียน
ความหมายของหลักสู ตร
ตามทัศนะนักการศึกษาไทย
• ดร.ธารง บัวศรี “หลักสู ตร หมายถึง ประสบการณ์ ทุกๆ
อย่ างทีโ่ รงเรียนจัดให้ แก่ เด็ก”
• ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง “หลักสู ตร หมายถึง ประมวล
ประสบการณ์ ท้งั หมดทีจ่ ัดให้ กบั เด็ก ได้ เรียนเนื้อหาวิชา
ทัศนคติ แบบพฤติกรรม กิจวัตร สิ่ งแวดล้ อมต่ างๆ ฯลฯ
เมือ่ ประมวลกันเข้ าแล้ วก็จะเป็ นประสบการณ์ ทผี่ ่ านเข้ าไป
ในการรับรู้ ของเด็กๆ”
หลักสู ตร คือ เอกสารทีก่ าหนดโครงการศึกษาของผู้เรียน
หลักสู ตร คือ รายวิชาทั้งหมดทีโ่ รงเรียนหรือสถาบันการศึกษาจัดให้ เรียน
หลักสู ตร คือ ประสบการณ์ ทุกอย่ างทีน่ ักเรียนหรือนักศึกษาพึงได้ รับ
ภายใต้ การแนะแนวของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา
หลักสู ตร คือ ประสบการณ์ ทุกอย่ างทีน่ ักเรียนหรือนักศึกษาพึงได้ รับ
โดยไม่ จากัดว่ าเมื่อไร และอย่ างไร
แบ่ งเป็ น 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 : หลักสูตร หมายถึง แผน ประสบการณ์การเรี ยน มองหลักสูตร
ในลักษณะที่เป็ นเอกสารหรื อโครงการศึกษาที่สถาบันการศึกษา
ได้จดั วางแผนไว้เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาตามแผน หรื อโครงการ
ที่กาหนดไว้ ซึ่งรวมถึงรายวิชา เนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรี ยน
การสอนและการประเมินผล
กลุ่มที่ 2 : หลักสูตร หมายถึง ประสบการณ์ การเรียนของผู้เรียน ที่
สถาบันการศึกษาจัดให้ ซึ่งรวมถึงแผนประสบการณ์การเรี ยน
การนาหลักสูตรไปใช้ หลักสูตรประกอบด้วยเป้ าหมาย และ
จุดมุ่งหมายเฉพาะ ซึ่งบ่งถึงการเลือก การจัดเนื้อหาและแสดง
ถึงการเรี ยนการสอน รวมทั้งการประเมินผลด้วย
1.
2.
3.
วิทยาการทีส่ ร้ างเสริมประสบการณ์ ชีวติ เป็ นสิ่ งทีอ่ านวยความรู้และ
ประสบการณ์ ต่างๆ ทีม่ นุษย์ จาเป็ นต้ องรับรู้เพือ่ การดาเนินชีวติ อยู่ใน
สั งคมนั้น
ประมวลทักษะต่ างๆ เป็ นสิ่ งทีจ่ าเป็ นสาหรับทีจ่ ะทาให้ ผู้เรียนได้ นา
ไปใช้ ในการแสวงหาความรู้เพิม่ เติมในการดาเนินชีวติ ของตนต่ อไป
กระบวนการสาหรับสร้ างคุณค่ าของชีวติ ค่ านิยมและการตัดสินใจ
เป็ นการเน้ นบทบาทของแต่ ละบุคคลในฐานะทีเ่ ป็ นสมาชิกของสังคม
4.
5.
6.
กระบวนการทางสติปัญญา เป็ นการสร้ างความสามารถในการ
แก้ปัญหาให้ กบั ผู้เรียน ทาให้ สามารถขจัดความขัดแย้งหรือทาให้ เกิด
ความสามารถในการเปรียบเทียบในการอนุมานจากข้ อเท็จจริงต่ างๆ
ประสบการณ์ ด้านสุ นทรียภาพ เป็ นการสร้ างด้ านศิลปะ ดนตรี และ
นาฎศิลป์ เป็ นการรักษามรดกและวัฒนธรรมของชาติ
กระบวนการปฏิบัติการณ์ เป็ นการฝึ กให้ ผู้เรียนได้ รู้จักใช้ ความคิด
สร้ างงานฝึ กทักษะในงานและอาชีพอันเป็ นสิ่ งสาคัญในการดารงชีวติ
สรุ ป
หลักสูตร คือ ประมวลประสบการณ์ทุกชนิดที่ครู สร้างสรรค์ให้กบั ผูเ้ รี ยน
เพื่อให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาตนเองให้สามารถดารงชีวิตอยูไ่ ด้ใน
สังคมอย่างมีความสุ ขและเจริ ญงอกงาม
บทบาทสาคัญของหลักสู ตร
ทุกระดับของการศึกษา
หลักสูตร ระบุสิ่งที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน และแนวทาง
จัดให้ผเู้ รี ยนได้รับประสบการณ์
หลักสูตร เปรี ยบเสมือนพิมพ์เขียวในการสร้างบ้าน ส่ วนการสอน
เป็ นกระบวนการหรื อวิธีการ
หลักสูตร ระบุสิ่งที่จะสอนในโรงเรี ยน ระบุสิ่งที่ผเู ้ รี ยนควรจะเรี ยนรู ้
การกาหนดประเภทของหลักสูตรขึ้นอยูก่ บั การตอบสนองผลสัมฤทธิ์
ทางการจัดการเรี ยนการสอน และสถานการณ์ต่างๆ ที่เหมาะสม การจะเลือก
ใช้หลักสูตรประเภทใด ขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ จุดหมายปลายทางของการ
จัดการศึกษาแต่ละประเภทและระดับการศึกษาเป็ นสาคัญ แบ่งได้ดงั นี้
1. หลักสู ตรทีย่ ดึ เอาสาขาวิชาและเนือ้ หาวิชาเป็ นหลัก
2. หลักสู ตรทีย่ ดึ เอาผู้เรียนเป็ นหลัก
3. หลักสู ตรทีย่ ดึ เอากระบวนการทางทักษะเป็ นหลัก
หลักสู ตรประเภททีย่ ดึ เอาสาขาวิชาและเนือ้ หาวิชาเป็ นหลัก
• หลักสูตรแยกรายวิชาหรื อเนื้อหาวิชา : จะแบ่งแยกรายวิชาออก
เป็ นส่ วนๆ เพื่อให้เห็นรายวิชาและเนื้อหาสาระเฉพาะอย่าง เป็ น
หลักสูตรที่ผเู ้ รี ยนได้รับความรู ้เพียงอย่างเดียว และความรู ้น้ นั เกิดจาก
การท่องจาเป็ นสาคัญ ผูเ้ รี ยนจะนาไปวิเคราะห์หรื อนาไปใช้ประโยชน์
ได้นอ้ ย เพราะไม่มีเวลาฝึ กฝนทางด้านอื่นๆ นอกจากการท่องจา
หลักสูตรประเภทนี้ใช้มาเป็ นเวลานาน บางแห่งก็ยงั ใช้อยู ้
หลักสู ตรประเภททีย่ ดึ เอาสาขาวิชาและเนือ้ หาวิชาเป็ นหลัก
• หลักสูตรสหพันธ์หรื อหลักสูตรสัมพันธ์วิชา
เป็ นหลักสูตรที่พฒั นาจากหลักสูตรแยกรายวิชาด้วยการรวมเอาส่วนที่
เหมือนกันทั้งในด้านลักษณะของวิชา คุณค่าและความสาคัญของวิชา
และในส่ วนที่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องมาไว้ดว้ ยกัน
หลักสู ตรประเภททีย่ ดึ เอาสาขาวิชาและเนือ้ หาวิชาเป็ นหลัก
• หลักสูตรหลอมรวมวิชา
เป็ นหลักสูตรที่นาเอาวิชาที่มีความใกล้เคียงกันมาหลอมรวมกัน
แล้วจัดขึ้นเป็ นรายวิชาใหม่ เช่น วิชาสัตว์ศาสตร์กบั วิชาพืชศาสตร์
หลอมรวมกันแล้วเป็ นวิชาชีววิทยา หลักสูตรการหลอมรวมวิชาจะมี
ความคล่องตัวและความยืดหยุน่ ผูเ้ รี ยนได้มีโอกาสเรี ยนรูพ้ ้นื ฐาน
ความรู ้ต่างๆ ที่เหมาะสมและตามความต้องการของผูเ้ รี ยน
หลักสู ตรประเภททีย่ ดึ เอาสาขาวิชาและเนือ้ หาวิชาเป็ นหลัก
• หลักสูตรแกนวิชา
เป็ นหลักสูตรที่จดั ขึ้นเพื่อการรวบรวมเนื้อหาความรู ้และประสบการณ์
ให้มีความสัมพันธ์และผสมผสานกัน แต่มีวิชาใดวิชาหนึ่งเป็ นวิชาหลัก
หรื อวิชาแกน วิชาหลักนั้นเป็ นวิชาที่ผเู ้ รี ยนมีความจาเป็ นที่จะต้องรู ้เพื่อ
การเรี ยนรู ้พ้นื ฐานวิชาต่างๆ อันเป็ นประโยชน์ต่อชีวิตของตนเอง
หลักสู ตรทีย่ ดึ ผู้เรียนเป็ นหลัก
• หลักสูตรที่ใช้ผเู ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง
เป็ นหลักสูตรที่วา่ ด้วยหลักการที่วา่ มนุษย์ทุกคนจะมีความแตกต่างกัน
ดังนั้นในการจัดทาหลักสูตร จึงกาหนดให้คานึงถึงความต้องการและ
ความสนใจของผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ในหนึ่งวิชาอาจจะมีหลักสู ตรที่
แตกต่างกันออกไปทั้งในด้านเนื้อหา และกิจกรรมการเรี ยน คือ หลักสูตร
จะมีการจัดเนื้อหา การจัดกิจกรรม หรื อสื่ อการเรี ยนหลายชนิด รวมทั้ง
ครู ผสู ้ อน
หลักสู ตรทีย่ ดึ ผู้เรียนเป็ นหลัก
• หลักสู ตรประสบการณ์
ใช้ กนั มากในการจัดหลักสู ตรระดับประถมศึกษา หลักสู ตรประเภทนีอ้ ยู่
บนพืน้ ฐานทีป่ ระสบการณ์ ทผี่ ู้เรียนได้ รับมา ซึ่งเป็ นบ่อเกิดของการ
เรียนรู้ทมี่ ีประสิ ทธิภาพ และสามารถเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน
ได้ การจัดการหลักสู ตรจึงเป็ นการจัดเพือ่ เสริมสร้ างประสบการณ์ การ
เรียนรู้ให้ กบั ผู้เรียน และให้ ผู้เรียนรู้จักการแก้ปัญหา
หลักสู ตรทีย่ ดึ ผู้เรียนเป็ นหลัก
• หลักสู ตรบูรณาการ
เป็ นหลักสู ตรทีน่ ักพัฒนา ได้ นามาใช้ ในหลักสู ตรประถมศึกษา
ด้ วยการมุ่งหวังว่ าประสบการณ์ ทจี่ ดั ไว้ ในหลักสู ตร เป็ นการทา
ให้ ผู้เรียนได้ นาไปใช้ ในการดารงชีวติ การจัดประสบการณ์ ใน$
การเรียนรู้ ทเี่ ห็นสมควรให้ ผู้เรียนได้ เกิดการเรียนรู้ และสร้ าง
เสริมประสบการณ์ ให้ มากยิง่ ขึน้
หลักสู ตรทีย่ ดึ เอากระบวนการทางทักษะเป็ นหลัก
• หลักสูตรประเภทนี้มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะของกระบวนการเรี ยน ซึ่งมี
ความสาคัญต่อการพัฒฯความรู ้ของผูเ้ รี ยนอย่างมีระบบ เช่น การจัด
หลักสูตรทักษะทางคณิ ตศาสตร์ และหลักสูตรทักษะทางวิทยาศาสตร์
ยึดการฝึ กทักษะให้กบั ผูเ้ รี ยนด้วยการให้ผเู ้ รี ยนได้คิดค้นคว้าความรู ้ และ
ฝึ กปฏิบตั ิจนเกิดเป็ นทักษะ การกาหนดหลักการและความรู ้ให้กบั ผูเ้ รี ยน
จะเป็ นเพียงการเสนอแนวทางเท่านั้น ส่ วนผลการปฏิบตั ิและการฝึ กฝน
จะทาให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้และค้นพบสิ่ งใหม่ๆ เอง ดังนั้นหลักสูตร
กระบวนการทางทักษะจึงเป็ นประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยนที่มีทกั ษะในการเรี ยน
และสามารถควบคุมตนเองได้
ความรู ้เกี่ยวกับทฤษฎีการบริ หารการศึกษา
การบริ หารถือว่าเป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์ ที่มีทฤษฎีการบริ หารกากับอยู่
จานวนมาก เพราะนักบริ หารได้กาหนดทฤษฎีที่เป็ นสิ่ งที่ได้คน้ คว้า
ทดลองมา จนกระทัง่ รวบรวมนามาใช้ในการบริ หารงาน ในบางครั้ง
นักการศึกษาคิดว่าการบริ หารการศึกษา เป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นด้วยการใช้
ประสบการณ์ในการทางานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและนาประสบการณ์
นั้นมาบริ หารการศึกษา
จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนรู้ของมนุษย์ นักจิตวิทยาได้คิดค้น
ขึ้นมาใช้กบั การจัดการศึกษา จิตวิทยาการเรี ยนรู้เหล่านั้นได้ถูก
ทดลองทั้งกับสัตว์และมนุษย์ (เด็ก, ผูใ้ หญ่) หลายรู ปแบบจน
กระทัง่ เกิดความไม่แน่ใจว่าเป็ นสิ่ งที่ถูกต้องแน่นอนแล้ว นักจิตวิทยา
จึงได้นามาใช้กบั การจัดการเรี ยนการสอนในแต่ละระดับการศึกษา
การวิจยั เป็ นเรื่ องหนึ่งที่นกั พัฒนาหลักสูตรต้องนามาใช้เพื่อ
การจัดทาหลักสูตร ผลการวิจยั ที่นามาใช้ในการจัดทาหลักสูตร
จะมาจากรากฐานทฤษฎีการวิจยั 3 ประเภท
1. การวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารการศึกษา
2. การวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาและสังคมศาสตร์
3. การวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการเศรษฐกิจของสังคม
ทฤษฎี
คืออะไร ?
เฮอร์ เบอร์ ท ไฟเจล (Herbert Feigl)
ทฤษฎี คือ “การกาหนดข้ อสั นนิษฐานซึ่งได้ รับมาจากวิธีการ
ของตรรกวิทยาคณิตศาสตร์ ทาให้ เกิดกฎเกณฑ์ ทไี่ ด้ มาจาก
การทดลองและการทดลองมิใช่ เกิดจากการเรียนรู้ จากทีใ่ ด”
โลแกน และโอลม สเตค (Logan and Olmstead)
“ทฤษฎี หมายถึง ข้อความหนึ่งข้อความใดที่กาหนดไว้
อย่างมีเหตุผล เชื่อถือได้ และได้มีการถกเถียงกันมาก่อน
ก่อนที่จะลงความเห็นว่าสมควรที่จะกาหนดเรี ยนว่า “ทฤษฎี”
เฟรด เคสลินเกอร์ (Fred N. Keslinger)
“ทฤษฎี คือ การผสมผสานของความคิดรวบยอดที่แสดง
ให้เห็นถึงปรากฏการณ์ที่มีระบบ และเกิดความจริ งจน
สามารถพิสูจน์ได้”
ทฤษฎีหลักสูตร เป็ นแนวคิดใหม่ที่มีนกั พัฒนาหลักสูตรได้นามาใช้
ทฤษฎีหลักสูตรเป็ นการผสมผสานทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ศึกษาเข้ามาไว้ดว้ ยกัน กาหนดขึ้นเพื่อการนามาใช้ในการพัฒนา
หลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตรจึงเป็ นการพิจารณานาเอาพัฒนาการ
ของมนุษย์นาเข้ามาใช้ เป็ นการจัดและแยกประเภทของเหตุการณ์
ต่างๆ และโยงความสัมพันธ์กบั เหตุการณ์น้ นั นาเอามาใช้และ
พิจารณาโครงสร้างและเนื้อหาวิชาที่เหมาะสม นามาบรรจุไว้ใน
หลักสูตรด้วยการคานึงถึงความสอดคล้อง ตามสภาพการณ์ต่างๆ
ทั้งในส่ วนของผูเ้ รี ยนและในส่ วนของสังคม การนาทฤษฎีหลักสูตร
ไปใช้จะประกอบด้วยการจัดประเภท การวางแผนการประเมินค่า
และการปฏิบตั ิ
มิติของการพัฒนาหลักสูตร
1. การวางแผนจัดทาหรื อยกร่ างหลักสูตร
(Curriculum Planning)
2. การใช้ หลักสูตร
(Curriculum Implementation)
3. การประเมินหลักสูตร
(Curriculum Evaluation)
การวางแผนพัฒนาหลักสู ตร
การผลิตและใช้สื่อการเรี ยนการสอน
การเตรี ยมบุคลากร
การบริ หารหลักสูตร
การสอนตามหลักสูตร
การประเมินหลักสู ตร
วิเคราะห์ขอ้ มูลพื้นฐาน
กาหนดจุดมุ่งหมาย
กาหนดเนื้อหาและประสบการณ์
กาหนดการวัดและประเมินผล
การใช้ หลักสู ตร
เอกสารหลักสูตร
การใช้หลักสูตร
สัมฤทธิผลของหลักสูตร
หลักสูตรทั้งระบบ
เขตพืน้ ที่การศึกษา
กลุ่มโรงเรียน
โรงเรียน
ห้ องเรียน
ปรัชญา
การศึกษา
สั งคม
เนือ้ หา
วิชา
แหล่ง
ข้ อมูล
จุดประสงค์
ชั่วคราว
ผู้เรียน
การเลือกและจัด
ประสบการณ์
การเรียนรู้
การ
กลัน่ กรอง
จิตวิทยาการเรียนรู้
การประเมินผล
จุดประสงค์
ที่แท้ จริง