แนวทางการขอผลงานวิจัย อ.สิริวรรณ

Download Report

Transcript แนวทางการขอผลงานวิจัย อ.สิริวรรณ

แนวทางการทา
ผลงานวิชาการ
เพือ่ ขอกาหนดตาแหน่ ง
ศ.ดร.สิ ริวรรณ ศรีพหล
1
การทาผลงานเพือ่ ขอกาหนด
ตาแหน่ ง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์
- รองศาสตราจารย์
- ศาสตราจารย์
2
ผลงานทางวิชาที่ใช้ เสนอขอมี
หลายประเภท ได้ แก่
- ผลงานวิจัย หรือผลงาน
วิจัยในลักษณะอืน่ และ
- ผลงานแต่ งหรือเรียบเรียง
ตารา หนังสื อ
3
การทาผลงานทางวิชาการ
ด้านวิจยั
4
ลักษณะของ
งานวิจัย
1) ควรเป็ นงานวิจัย
R and D
R and D หมายถึงอะไร
การวิจัยและพัฒนา (research and
development)
- เป็ นกิจกรรมหรือกระบวนการทีอ่ ยู่ใน
กล่ มุ เดียวกับการวิจยั แต่ มคี วามแตกต่ าง
หลายประการ
- การวิจยั และพัฒนามีวตั ถุประสงค์ หลัก
คือ การพัฒนาผลิตผล ซึ่งสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ สนองความต้ องการของ
หน่ วยงาน หรือของผ้ ูวจิ ยั
- การวิจัยและพัฒนา คือการพัฒนานั่นเอง
แต่ เหตุทเี่ รียกว่ า การวิจยั และพัฒนา เพราะ
เป็ นกระบวนการที่เริ่มต้ นด้ วยการวิจัย
เพือ่ ให้ ได้ ทฤษฎีที่เป็ นพืน้ ฐานสาหรับ
การพัฒนา
- เมื่อพัฒนาผลิตผลขึน้ มาแล้ ว ก็ต้องนาไป
ทดลองใช้ ซึ่งต้ องใช้ ระเบียบวิธีของการ
วิจัยเชิงทดลอง เป็ นแนวทาง จึงจะมั่นใจใน
ผลการทดลองใช้ น้ัน
- ดังนั้น การวิจัยจึงเข้ ามาเกีย่ วข้ องใน
กระบวนการวิจัยและพัฒนา ตั้งแต่ ต้นจนสิ้นสุ ด
กระบวนการ
- ถ้ าให้ ถูกต้ อง ต้ องเรียกว่ า
“การวิจัย พัฒนา และเผยแพร่ ” (research,
development and diffusion)
(ประพนธ์ เจียรกูลม2550)
- งานวิจัย R and D เช่ น
R - พัฒนารูปแบบหลักสูตร
- พัฒนารูปแบบการสอน
- พัฒนารูปแบบการเรียน
D – เอารูปแบบไปใช้ ทดลองใช้
2. เป็ นงานวิจัยลึกซึ้งที่ไม่ มีใครทามาก่ อน
ต้ องทาการสารวจว่ ามีใครทางานวิจัย
เรื่องนีม้ าก่ อน
(ศึกษาวรรณกรรมและงานวิจัยที่
เกีย่ วข้ อง)
3. ประชากรต้ องอ้ างอิงได้ กว้ าง
4. สถิติที่ใช้ ต้องสอดคล้ องกับเรื่อง
ที่ทา
5. ได้ องค์ ความรู้ด้านวิชาการและ
วิชาชีพของตน
6. เป็ นประโยชน์ ในวงกว้ าง
7. มีการเผยแพร่ งานวิจยั
เมื่อทาการงานวิจยั เสร็ จแล้ว
ต้องมีการเผยแพร่ โดยเขียนเป็ นบทความ
วิจยั โดยเผยแพร่ ในช่องทางต่างๆ
16
ข้ อสั งเกตเกีย่ วกับ
การทาผลงานทางวิชาการ
ด้ านการวิจัย
1. การกาหนดปัญหาการวิจยั
แนวทางการวิเคราะห์ ประเด็น
ปัญหาเพือ่ การวิจัย
18
1. การวิเคราะห์ เพือ่ หาปัญหา/สิ่ งที่ต้องการ
พัฒนา
- ลักษณะของปัญหา/สิ่ งที่ต้องการ
พัฒนา
- สาเหตุของปัญหา/การพัฒนา
2) การวิเคราะห์ สภาพในปัจจุบัน
-ปัจจัยนาเข้ า
- กระบวนการ
- ผลผลิต
3) วิเคราะห์ แนวทางแก้ ปัญหา/พัฒนา
- เสนอแนวทางแก้ ปัญหา/พัฒนา
หลากหลายแนวทาง
- เลือกแนวทางทีด่ ที สี่ ุ ดเพียง 1 แนวทาง
4) การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง
- ปรัชญาและหลักการ
- แนวคิดของนักการศึกษา/นักวิชาการ
- ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง
5) การพัฒนานวัตกรรมที่ใช้ ในการ
แก้ ปัญหา/พัฒนา
- ลักษณะนวัตกรรม
- แนวคิดและทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง
ดังนั้น ผู้จะทาวิจยั จึงต้ องเลือกปัญหาการวิจัย
โดยมีเกณฑ์ ดังนี้
1) ปัญหาต้ องเกีย่ วข้ องกับงานทีท่ าหรือ
สอดคล้ องกับประสบการณ์ ของผู้วจิ ยั
2) ปัญหานั้นต้ องมีความสาคัญ คุ้มค่าทีจ่ ะทา
3) ปัญหานั้นมีความเป็ นไปได้
ต้ องพอจะหาคาตอบได้
4) ผู้วจิ ัยต้ องมีความพร้ อมจะศึกษา
5) ปัญหานั้น ต้ องเป็ นปัญหาที่จากัด
ขอบเขตได้
6) ปัญหานั้นต้ องไม่ ขัดต่ อศีลธรรม
7) ปัญหาการวิจัยนั้น ต้ องไม่ ซ้าซ้ อนกับ
ผู้อนื่
2. การเขียนหัวข้อความสาคัญ
ของปัญหาที่ทาการวิจยั
- เป็ นการกล่าวถึงภูมิหลัง
ของปัญหาที่จะทาการวิจยั
27
ข้อสังเกต
- มักเขียนข้อความทัว่ ๆไป
โดยไม่ตอบโจทย์หวั ข้อ
การวิจยั
28
ข้อสังเกต
- ผูว้ จิ ยั ต้องเขียนโดยชี้แจงให้เห็น
ความสาคัญของปัญหาที่จะศึกษา โดย
อ้างทฤษฎี ข้อมูล ตัวเลข หรื อ
ผลวิจยั และเอกสารเพื่อ
สนับสนุนให้การทาวิจยั ดูมี
น้ าหนักมากขึ้น
29
ข้อสังเกต
- โดยทัว่ ไป ผูว้ จิ ยั มักเขียนข้อความ
ทัว่ ๆ ไป เป็ นการเขียนลอย ๆ
ไม่มีน้ าหนัก
- เขียนยืดยาว ไม่มีจุดเน้น
- ถ้าต้องการเขียนรายละเอียด
ให้ไปเขียนไว้ในบทที่ 2
30
3.การเขียน
วัตถุประสงค์
การวิจยั
31
ข้ อสั งเกต
- การกาหนดวัตถุประสงค์ ไม่ สอดคล้ องกับ
ปัญหาการวิจัย
- กาหนดวัตถุประสงค์ โดยไม่ มแี นวคิด
อะไรรองรับ เป็ นการเขียนลอย ๆ
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- เป็ นการเขียนประเมินค่างานวิจยั
ที่ทา ว่าเมื่อได้ศึกษาวิจยั แล้ว
ผลที่ได้จะนาไปใช้
ประโยชน์อย่างไรบ้าง
33
- ใครบ้างที่จะได้ประโยชน์
- คุม้ ค่ากับแรงงาน เวลา ทรัพยากร
งบประมาณ ที่เสี ยบไปหรื อไม่
- ทั้งนี้เพื่อให้เห็นคุณค่า
ของงานวิจยั ที่ทา
34
- ดังนั้นรายงานการวิจยั จึงต้องมีการ
คาดการณ์ถึงผลที่จะได้รับ
ข้อสังเกต
- ผูว้ จิ ยั ส่ วนใหญ่มกั เขียน
โดยล้อวัตถุประสงค์
การวิจยั
35
ข้ อสั งเกต
- เช่ น วัตถุประสงค์ กาหนดว่ า
“จะพัฒนารูปแบบการสอน...”
- ผู้วจิ ยั มักเขียนว่ า “ได้ รูปแบบการสอน...”
- ต้ องเขียนว่ า “จะเอารูปแบบการสอนที่
พัฒนาได้ น้ัน ไปใช้ ทาอะไร...”
5. การทบทวนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ อง
- วรรณกรรมที่เกีย่ วข้ อง เป็ นการ
ค้ นคว้ าหาความรู้ ข้อมูลต่ างๆ
ตลอดจน ผลการวิจัยในหัวข้ อ
ที่เกีย่ วข้ องกับงานที่จะ
ศึกษา
37
- การทบทวนวรรณกรรมจะ
เป็ นประโยชน์ ในการกาหนด
ปัญหาการวิจัย เพือ่ ทาให้
ปัญหาการวิจัยชัดขึน้ และ
เป็ นไปได้ โดยมีแนวคิดและ
ทฤษฎีรองรับ
38
ดังนั้น การเขียนวรรณกรรม จึงต้อง
เขียนในประเด็น
- ทฤษฎีที่รองรับการวิจยั
- ความรู ้พ้นื ฐานเกี่ยวกับ
เรื่ องที่วิจยั
- ผลการวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
39
ข้อสังเกต
- ผูว้ จิ ยั ให้รายละเอียดในบทนี้มาก
เกินไป
-นาเรื่ องที่ไม่เกี่ยวข้องกับ
เรื่ องที่ศึกษามาใส่ ไว้
(ทาให้เหมือนเป็ น“ขยะ”)
40
ข้อสังเกต
- การทบทวนเอกสารผูว้ ิจยั ต้องดู
หัวข้อที่ศึกษา ว่ามี Keyword อะไร
จึงทบทวนเรื่ องนั้นๆ
41
ข้อสังเกต
- ผูว้ จิ ยั ต้องแสดงให้เห็นว่า
การทบทวนแต่ละหัวข้อจะนา
ไปใช้ในการวิจยั อย่างไร
42
ข้อสังเกต
- การทบทวนในส่ วนของงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้อง
- งานวิจยั ที่นามาทบทวน
เก่าเกินไป (ต้องไม่เกิน 5 ปี )
43
ข้อสังเกต
- การทบทวนงานวิจยั ต้อง
กล่าวเฉพาะ
- วัตถุประสงค์
- วิธีการวิจยั และ
- ผลการวิจยั
44
ข้อสังเกต
- ต้องเขียนในลักษณะสังเคราะห์ ว่า
ได้อะไรบ้างจากงานวิจยั เรื่ องนั้น
- ไม่ควรคัดลอกบทคัดย่อ
มาใส่
45
ข้ อสั งเกต
- ดังนั้น การเขียนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ อง
ผู้วจิ ยั ต้ องสามารถเขียนให้
เชื่อมโยงกับปัญหาที่ทา
การวิจัย
46
ข้ อสั งเกต
- ทาให้ ปัญหาการวิจัยที่ศึกษาชัดเจนขึน้
- ความสาคัญของปัญหาการวิจัย
ที่ศึกษามีมากขึน้
- เห็นเหตุผลทีจ่ ะนาไปส่ ู
จุดหมายของการวิจยั ได้
47
6. ระเบียบวิธีวิจยั
48
ข้อสังเกต: ประชากรและกลุ่ม
ตัวอยา่ ง
- ประชากร เขียนไม่ชดั เจน
- ต้องระบุ ลักษณะ
ประชากร จานวน
49
- กล่ มุ ตัวอย่ าง ต้ องระบุถงึ
วิธีการทีจ่ ะได้ มาซึ่งกล่ ุม
ตัวอย่ าง เช่ น ส่ ุ มโดยวิธีใด
ได้ จานวนเท่ าใด
50
- กลุ่มตัวอยา่ งต้องเป็ นตัวแทน
ของประชากร จึงจะสรุ ป
พาดพิงไปถึงประชากรได้
- จึงต้องระบุวา่ จะสุ่ มตัวอยา่ ง
อยา่ งไร
51
ข้อสังเกต: เครื่ องมือ
การวิจยั
เครื่ องมือการวิจยั
แบ่งเป็ น 2 ประเภท
52
1) เครื่ องมือที่ใช้รวบรวม
ข้อมูล
2) เครื่ องมือที่ใช้ในการ
ทดลอง
53
- เครื่ องมือที่ใช้ตอ้ ง
สอดคล้องกบั ตัวแปรที่
ผูว้ จิ ยั มุ่งวัด เพื่อตอบคาถาม
หรื อวัตถุประสงค์การวิจยั
54
- ผูว้ ิจยั ต้องระบุรายละเอียด
ของการสร้างเครื่ องมือให้
ชัดเจน
- ต้องเริ่ มจากการนิยามตัวแปร
ที่ตอ้ งการวัด
55
- ระบุลกั ษณะของเครื่ องมือ
- การสร้างเครื่ องมือ ต้องมีการ
ตรวจสอบความตรง ความ
เที่ยงให้ชดั เจน
56
- เครื่ องมือที่ใช้ตอ้ งเป็ น
เครื่ องมือที่มีคุณภาพ เป็ น
เครื่ องมือที่
- มีความเที่ยง
- มีความตรง
57
ข้อสังเกต: การ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
58
- สถิติที่ใช้ตอ้ งสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
- โดยทัว่ ไปสถิติที่มกั ใช้จะเป็ นค่า
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เป็ นต้น
59
- ถ้าผูว้ ิจยั จะใช้สถิติที่มีความ
ซับซ้อน หรื อสถิติข้นั สูง
จะต้องเขียนอธิบายให้ชดั เจน
ถึงวิธีการวิเคราะห์ดว้ ย
60
7. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ข้อสังเกต
- มักเสนอผลการวิเคราะห์
ข้อมูลไม่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ที่กาหนด
ไว้ในบทที่ 1
61
- ต้องเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ภายใต้ขอบเขตที่คน้ พบเท่านั้น
-ไม่นาความเห็นส่ วนตัวมาเสนอปน
กับข้อค้นพบ
- ต้องเสนอผลที่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์
62
- เสนอผลการวิเคราะห์ที่เข้าใจง่าย
- เสนอในรู ปของตาราง แผนภูมิ
โดยประกอบคาบรรยายที่ใช้ภาษา
ง่าย ชัดเจน รัดกุม
63
8. การเขียนรายงานการวิจยั ใน
ส่ วนของบทที่ 5
บทที่ 5 จะมี 3 ส่ วน คือ
- สรุ ปผลการวิจยั
- อภิปรายผลการวิจยั
- ข้อเสนอแนะ
64
ข้อสังเกต
1) การเขียนสรุ ปผลการวิจยั ต้อง
เขียนสรุ ปผลตามวัตถุประสงค์การ
วิจยั เขียนให้ตรงประเด็น กระชับ
และครบถ้วน
65
ข้อสังเกต
2) การเขียนอภิปรายผลการวิจยั เป็ นการ
เขียนความคิดเห็นเพื่ออธิบายถึง
ผลการวิจยั ว่าเป็ นไปตามสมมุติฐาน
หรื อไม่ โดยนาแนวคิด ทฤษฎี และ
งานวิจยั ที่ทบทวนในบทที่ 2 มา
ประกอบการอภิปราย
66
- การเขียนในส่ วนนี้ ผูว้ จิ ยั ต้องอภิปราย
ว่าเอกสารที่ทบทวนนั้น มีส่วนสอดคล้อง
หรื อขัดแย้ง เพราะอะไร ผูว้ ิจยั ต้องเขียน
ให้ชดั เจน
- นอกจากนั้น อาจชี้ถึงจุดเด่น หรื อจุด
ด้อยของงานวิจยั ประกอบด้วย
67
3) การเขียนข้อเสนอแนะ มี 2 ส่ วน คือ
- ข้อเสนอแนะที่จะนา
ผลจากการวิจยั ครั้งนี้ไปใช้
- ข้อเสนอแนะในการวิจยั
ครั้งต่อไป
68
- ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ ต้องเขียน
ว่าจะไปใช้ประโยชน์อะไรจากผล
การวิจยั
- ไม่ควรเขียนจากข้อคิดเห็นของผูว้ ิจยั
หรื อเป็ นข้อความทัว่ ๆ ไป จะทาให้เห็น
ว่า ไม่ตอ้ งทาวิจยั ก็สามารถเขียนเป็ น
ข้อเสนอแนะได้
69
- ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครั้ง
ต่อไป ต้องเขียนว่าจะต่อยอดการ
วิจยั อย่างไร เพื่อให้ผสู ้ นใจเห็น
แนวทางในการวิจยั ต่อไป
70
9. การอ้ างอิง เป็ นการเพิม่ นา้ หนัก
หรือความน่ าเชื่อถือของเนือ้ เรื่อง
- การอ้ างอิงประกอบด้ วย
1) เชิงอรรถ
2) บรรณานุกรม
3) ภาคผนวก
71
ข้อสังเกต
- เชิงอรรถหรื อบรรณานุกรมมีไม่
ครบตามที่อา้ งอิงไว้ในเนื้อเรื่ อง
(โดยเฉพาะบทที่ 2) จึงควร
ตรวจสอบอย่างละเอียด
72
ข้อสังเกต
- รู ปแบบของการเขียนเชิงอรรถ
หรื อบรรณานุกรม ต้องมีรูปแบบที่
ถูกต้อง ยึดรู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่ง
73
ข้อสังเกต
- ภาคผนวก แยกเป็ นภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค เป็ นต้น
- ภาคผนวก ที่นิยมเขียนไว้ใน
ส่ วนท้าย ได้แก่
74
ข้อสังเกต
- เครื่ องมือวิจยั
- รายชื่อผูท้ รงคุณวุฒิ
- ตาราง สถิติ ฯลฯ
- บทสัมภาษณ์
ฯลฯ
75
10. การเผยแพร่ งานวิจยั
เมื่อทาการวิจยั แล้ว ต้องมีการเผยแพร่
โดยเขียนเป็ นบทความวิจยั โดยเผยแพร่
ในช่องทางต่างๆ เป็ นต้นว่า
76
- การเผยแพร่ผลงานวิจยั ใน
การประชุมทางวิชาการ ใน
โอกาสต่างๆ
77
- การเผยแพร่ ทางสื่ อสิ่ งพิมพ์ เช่น
วารสาร (ที่มี Peer Review)
- การเผยแพร่ ทางWeb (ต้องเป็ นWeb ที่มี
Peer Review)
78
ข้อเสนอแนะในการจัดพิมพ์
1) งานทุกชิ้นที่เสนอขอต้องมี
ความประณี ต เช่น
- การพิมพ์ ต้องตรวจสอบ
พยัญชนะ ตัวสะกด การันต์ เป็ น
ต้น
79
2) รู ปแบบการอ้างอิง เชิงอรรถ
บรรณานุกรม ต้องตรวจสอบอย่าง
ถูกต้อง
งานที่มีความประณี ต จะสะท้อน
ถึงความตั้งใจของผูข้ อผลงาน
ไม่ใช่การทางานแบบสุ กเอาเผากิน
80
จบการ
นาเสนอ