การวิจัยในชั้นเรียน_present_M9

Download Report

Transcript การวิจัยในชั้นเรียน_present_M9

การวิจัยในชั้นเรียน
วิภา เอี่ยมสาอางค์ จารามิลโล
9 มีนาคม 2554
“การวิจัยในชั้นเรียน”
• การวิจยั ในห้องเรี ยน
• การวิจยั ของครู
• การวิจยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน
“ Classroom Action Research: CAR”
1. การวิจัยในชั้นเรียนคืออะไร
• Classroom Research คือกระบวนการหาความรู ้หรื อวิธีการใหม่ ๆ รวมทั้งการ
ประดิษฐ์คิดค้นสิ่ งใหม่ ๆ
•
•
•
•
•
เพื่อนามาใช้ในการเรี ยนการสอน
เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดจากการเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยนของตนเอง
เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ผลการวิจยั ใช้ได้เฉพาะกลุ่มที่ทาการศึกษา
บางทีเราเรี ยกว่า การวิจยั เชิงปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน (Classroom Action Research: CAR) หรื อ
การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้
การที่ครู /อาจารย์ทาการแก้ปัญหานักเรี ยน/นักศึกษาอ่อน (บางคน บางเรื่ อง) เพื่อให้
เรี ยนทันเพื่อน หรื อพัฒนานักเรี ยน/นักศึกษาเก่ง (บางคน บางเรื่ อง) เพื่อให้ถึง
ศักยภาพสู งสุ ดของเขา
การเปรียบเทียบความแตกต่ างของการทา CAR กับการวิจัยเชิงวิชาการ
ประเด็น
CAR
การวิจยั เชิงวิชาการ
เป้ าหมาย
มุ่งสร้างความรู้เฉพาะเพื่อใช้ในห้องเรี ยนของครู ผวู้ ิจยั
มุ่งสร้างข้อความรู้ทวั่ ไป ซึ่งสามารถสรุ ปอ้างอิง
ผูว้ ิจยั
ครู ผสู้ อนในห้องเรี ยน มีลกั ษณะการวิจยั แบบร่ วมมือ
(Collaborative Research) แบบ
PAOR
นักวิชาการ/นักการศึกษา
วงจรของการวิจยั
Plan, Act, Observe, Reflect
Reflect เป็ นขั้นตอนที่เด่นที่ทาให้ CAR ต่าง
จากวิจยั อื่น
ครบขั้นตอนการวิจยั : ปัญหา RL ออกแบบการ
วิจยั (กาหนดประชากร กลุ่มตัวอย่าง สร้าง
เครื่ องมือ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล) สรุ ปและ
อภิปรายผลงานวิจยั
วิธีการวิจยั
ไม่เน้นการกาหนดกรอบแนวคิดทฤษฎีแต่ใช้
ประสบการณ์ของผูส้ อน ไม่เน้นแบบแผนการวิจยั มาก
ใช้การวิจยั เชิงคุณภาพ > เชิงปริ มาณ
ยึดแบบแผนการวิจยั การออกแบบการวิจยั ที่รัดกุม
มีการกาหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี ตรวจสอบ
ทฤษฎี และพัฒนาทฤษฎี
ใช้การวิจยั เชิงปริ มาณ > เชิงคุณภาพ
การกาหนดวิธีการ
แก้ไขปัญหาใน
ห้องเรี ยน
ใช้วิธีการเชิงอัตวิสยั (Subjective)โดยอาศัย
ประสบการณ์ของผูส้ อน แต่จะใช้วิธีการเชิงปรนัยใน
การตรวจสอบผลการวิจยั
อิงทฤษฎี หรื อมีผลการวิจยั รองรับ
วงจรการทางานการวิจัยในชั้นเรียน ของ Kemmis
วางแผน
(Plan)
สะท้อนกลับ
ลงมือปฏิบตั ิ
(Reflecting)
(Act)
สังเกต
(Observe)
การเปรียบเทียบความแตกต่ างของการทา CAR กับการวิจัยเชิงวิชาการ
ประเด็น
CAR
การวิจยั เชิงวิชาการ
กลุ่มเป้ าหมายที่ตอ้ งทาวิจยั
นักศึกษาอาจเป็ นรายคนหรื อรายห้อง
กลุ่มนักศึกษาที่เป็ นตัวแทนประชากร
ข้อมูลวิจยั
ครู เป็ นผูเ้ ก็บข้อมูล ใช้การสังเกตหลักฐาน การแสดง
พฤติกรรมของผูเ้ รี ยน
อาจเป็ นแบบเดียว CAR แต่มีโอกาส
ใกล้ชิดแหล่งข้อมูลน้อย
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ไม่เน้นการวิเคราะห์ดว้ ยสถิติ
ขั้นสูง
ใช้วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติเน้นการสรุ ป
อ้างอิง
การอภิปราย แปลความหมาย
ข้อค้นพบจากการวิจยั
ครู นกั วิจยั และเพื่อนจะมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ อภิปรายภายใต้กรอบทฤษฎีที่ใช้ในการ
การวิจยั ร่ วมกัน มีการอภิปรายถึงการแก้ปัญหาที่ใช้ วิจยั และใช้ความคิดเห็นของนักวิจยั
และผลที่เกิดขึ้น
ประกอบการอภิปราย
ช่วงเวลาในการทาวิจยั
ทาเป็ นส่วนหนึ่งของการเรี ยนการสอนและทาอย่าง
นักวิจยั เฝ้ าสังเกต/เก็บข้อมูล การวางแผน
รวดเร็วเพื่อให้สามารถทดลองใช้ผลตามแนวทางที่ครู การวิจยั อาจใช้เวลานาน
ตัดสิ นใจใช้
การใช้ผลการวิจยั
ใช้ในการแก้ปัญหาในห้องเรี ยนทันทีและตรวจสอบ
ผลที่เกิดขึ้น
ผลการวิจยั อาจไม่ได้นาไปใช้ทางปฏิบตั ิ
จริ ง แต่อาจมีการตีพิมพ์เผยแพร่ เป็ น
บทความวิจยั /ทางวิชาการ
การวิจัยในชั้นเรียน ควรมีลกั ษณะ:
• เป็ นการวิจยั จากปัญหาที่เกิดขึน้ ในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการเรียน
การสอน
• ทาการวิจยั เพือ่ นาผลการวิจยั ไปพัฒนาการเรียนการสอน
• ทาการวิจยั ควบคู่กบั การเรียนการสอน
– สอนไปวิจัยไป แล้วนาผลการวิจัยไปแก้ปัญหาในชั้นเรียน และทาการเผยแพร่
ให้ เกิดประโยชน์ ต่อผู้อนื่
ความสาคัญของการวิจัยในชั้นเรียน
• นักเรี ยน เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ ใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรี ยน จนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนจนเป็ นที่น่าพอใจ
• ครู มีการวางแผนการสอนอย่างเป็ นระบบ เลือกวิธีสอนที่เหมาะสม
ประเมินผลเป็ นระยะ หาทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
• สถานศึกษา ความสัมพันธ์อนั ดีของคณะครู ในสถานศึกษา ช่วย
บริ หารงานทางวิชาการให้เป็ นระบบ มีประสิ ทธิภาพ ยกระดับมาตรฐาน
วิชาการสถานศึกษาให้สูงขึ้น
ขอบเขตการทาวิจัยในชั้นเรียน
•
การวิจัยในชั้นเรียน เป็ นการวิจัยโดยครูผู้สอนในห้ องเรียนทากับ
นักเรียนทีเ่ ป็ นกลุ่มตัวอย่ างขนาดเล็ก เพือ่ แก้ปัญหา หรือพัฒนาการ
เรียนการสอนในวิชาทีค่ รูรับผิดชอบ
ขอบเขตให้ ความสาคัญกับการคิดค้นพัฒนานวัตกรรมเพือ่ แก้ ปัญหา
อย่ างเหมาะสม นวัตกรรมมี ๒ ประเภท
•
–
สื่อการเรียนการสอนทีเ่ ป็ นสิ่งประดิษฐ์ (Invention)
–
กิจกรรมการพัฒนา หรือเทคนิควิธีสอน (Instruction)
รู ปแบบของการวิจยั ในชั้นเรียน
• การวิจัยในชั้นเรียนมีลกั ษณะเฉพาะ เป็ นการวิจัยเพือ่
พัฒนางานจัดการเรียนการสอน ดังนั้น รู ปแบบจะเป็ น
แบบ การวิจัยและพัฒนา (Research & Development)
กระบวนการ
การทาวิจัยในชั้นเรียน
1. การวิเคราะห์ ปัญหาการเรียนการสอน
• การดาเนินการ : กาหนดปัญหาการเรี ยนการสอนได้
อย่างเฉพาะ เจาะจง และชัดเจน เพื่อนาเสนอเขียน
สภาพปัญหาของผูเ้ รี ยน และครู ยังสามารถเขียนเป็ น
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ได้ดว้ ย
2. การศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง
• เมื่อได้ วตั ถุประสงค์ แล้ ว ควรจะต้ องศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่
เกีย่ วข้ องกับเรื่องที่จะวิจยั เพือ่ แสดงความต่ อเนื่องทางวิชาการ ที่
จะทาให้ สมบูรณ์ ยงิ่ ขึน้
• การดาเนินการ ได้ เทคนิคในการแก้ ปัญหาที่สอดคล้ องกับ
หลักการ ทฤษฎี หรืองานวิจยั ทีม่ ีผู้ศึกษาไว้ แล้ ว เพิม่ ความ
น่ าเชื่อถือมากยิง่ ขึน้
3. การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
• นวัตกรรมเป็ นรู ปแบบ หรือวิธีการแก้ ปัญหาทีค่ รู สร้ างขึน้ มาเอง
หรือนาเอารู ปแบบ หรือวิธีการทีผ่ ้ ูอนื่ ทาไว้ แล้ วมาปรับปรุ งให้
เหมาะสมกับสภาพปัญหาทีต่ ้ องการ เช่ น บทเรียนสาเร็จรู ป ชุด
การสอน วิธีสอนรู ปแบบใหม่ ๆ
• การดาเนินการ ได้ นวัตกรรมทีค่ าดว่ ามีคุณภาพเหมาะสมที่
นาไปใช้ ในการแก้ ปัญหา
4. การออกแบบการวิจัย
• เป็ นการวางแผนในการวิจยั โดยกาหนดรู ปแบบของการทดลองใช้
นวัตกรรม การกาหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง เครื่ องมือในการ
รวบรวมข้อมูล วิธีรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ขอ้ มูล มีประเด็น
สาคัญ :
– การออกแบบการทดลอง จะต้ องออกแบบการทดลองให้ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์
สมมุติฐาน โดยคานึงถึงกลุ่มตัวอย่ าง และตัวแปรทีว่ ัด
• การดาเนินการ (๑) ได้ รูปแบบการทดลอง นวัตกรรมทีเ่ หมาะสม น่ าเชื่อถือ เพือ่ พิสูจน์
ว่ า นวัตกรรมนั้นมีประสิ ทธิภาพ และใช้ แก้ ปัญหาได้
– การสร้ างและพัฒนาเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล จะใช้ เครื่ องมือชนิดใด
ย่ อมขึน้ อยู่กบั วัตถุประสงค์ ของการวิจัย และตัวแปรทีจ่ ะวัด เช่ น แบบทดสอบ
แบบสอบถาม ฯลฯ
• เมือ่ สร้ างเครื่องมือวัด (๒) หรือปรับปรุงเครื่องมือทีผ่ ู้อนื่ สร้ างไว้ จะต้ องมีการ
ตรวจสอบคุณภาพก่ อนทีจ่ ะไปใช้ จริง โดยนาไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่ าง เพือ่ ตรวจสอบ
ความตรง ความเทีย่ ง
5. การทดลองใช้ นวัตกรรม
• เมื่อครู สร้ างนวัตกรรม และสร้ างเครื่องมือวัดเสร็จแล้ ว
• ขั้นต่ อไป นาเอานวัตกรรมนั้นไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่ าง
• เก็บรวบรวมข้ อมูลมาวิเคราะห์ ตามแนวทางทีก่ าหนด
6. การวิเคราะห์ ข้อมูลและสรุปผล
• นาผลจากการทดลองมาวิเคราะห์ ด้วยวิธีการทางสถิติ
สรุปผลข้ อมูล โดยการนาเสนอให้ เห็นถึงผลของการ
ทดลองอย่ างชัดเจน เพือ่ สามารถนานวัตกรรมนั้น ๆ ไป
พัฒนาการเรียนการสอนต่ อไป
7. การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน
• เป็ นการเขียนรายงานงานวิจยั ตั้งแต่ เริ่ มต้น
วิเคราะห์และสารวจปัญหา การพัฒนารู ปแบบ การ
ทดลองใช้รูปแบบเพื่อแก้ปัญหา การวิเคราะห์ผล
สรุ ปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ
ข้ อจากัดของ CAR
• ขนาดเล็ก จากัดในการอ้างอิง
• ข้อค้นพบของ CAR เป็ นไปตามสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในชั้นเรี ยน
บางครั้งอาจมีผลรบกวนจากตัวแปรภายนอก
คาถามที่ CAR มักถูกถาม
1. ปัญหาหรือสิ่ งทีต่ ้ องการพัฒนาในชั้นเรี ยนต้ องเป็ น
ด้ านความรู้ เท่ านั้นใช่ หรือไม่
• ไม่ ใช่
• ปัญหาหรือสิ่ งทีต่ ้ องการพัฒนาอาจเป็ นด้ านความรู้ ทักษะ และเจต
คติ หรือด้ านความประพฤติ พฤติกรรม หรือบุคลิกภาพทีไ่ ม่ พงึ
ประสงค์ ของนักเรียนก็ได้
2. การทาวิจัยในชั้นเรียน จะทาให้ ครูทงิ้ ชั้นเรียน
เพราะ ต้ องไปค้ นคว้ าเกีย่ วกับนวัตกรรม ใช่ หรือไม่
• ไม่ ใช่
• การทาวิจยั ในชั้นเรี ยนเป็ นการวิจยั เล็ก ๆ ควบคู่ไปกับการปฏิบตั ิงานจริ ง
• มุ่งแก้ปัญหาหรื อพัฒนาผูเ้ รี ยน เป็ นสาคัญ ไม่จาเป็ นต้องค้นคว้าหรื อ
อ้างอิงแบบวิทยานิพนธ์
• รู ปแบบการหาความรู ้อาจได้มาจากการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั
เพื่อนครู ดว้ ยกัน จากเอกสารต่าง ๆ ที่ได้รับจากการประชุมอบรม
สัมมนา จากรายการ โทรทัศน์ทางการศึกษา
•
จากแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เช่น Internet วิทยานิพนธ์
รายงานวิจยั
3. รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนจะเขียนเมื่อไร
• เขียนขึ้นเมื่อครู ผสู ้ อนเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลเสร็ จ
เรี ยบร้อยแล้ว
• ครู ผสู ้ อนต้องเขียนสรุ ปผลการวิจยั หากพบว่าผูเ้ รี ยนไม่เกิดการ
เรี ยนรู ้ และ/หรื อมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
• ครู ผสู ้ อนอาจต้องทาวิจยั ในชั้นเรี ยนซ้ าอีกครั้งหรื อหลาย ๆ
ครั้ง จนกว่าผูเ้ รี ยนได้เกิดการเรี ยนรู ้ และ/หรื อมีพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ ตามเจตนารมณ์ตามหลักสูตรอย่างแท้จริ ง
•
4. การเขียนรายงานการวิจยั ในชั้นเรียนต้ องเขียนตาม
ระเบียบวิธีวจิ ยั คือต้ องมีบทที่ 1 ถึง บทที่ 5 ใช่ หรือไม่
• ไม่ จาเป็ น
• การเขียนรายงานการวิจยั ในชั้นเรี ยน ครู สามารถเขียนง่าย ๆ
– โดยระบุปัญหาที่ พบ สาเหตุของปั ญหา วิธีการแก้ปัญหา และผลการ
แก้ปัญหา อาจมีขอ้ เสนอแนะหรื อ ข้อสังเกตต่อท้าย และแนบหลักฐาน
สิ่ งที่ได้ ดาเนินการ เช่น แบบฝึ ก แบบบันทึก ฯลฯ
5. ทาวิจัยแล้ วจะเอาไปใช้ ประโยชน์ อะไรได้ บ้าง
• ทาวิจยั แล้วมีประโยชน์อย่างแน่นอน
– ประโยชน์ต่อนักเรียนคือ
• นักเรี ยนแต่ละคนจะได้รับการพัฒนา หรื อแก้ปัญหาอย่างถูกวิธี
– ประโยชน์ต่อครู คือ
• ครู มีการวางแผนการทางานอย่างเป็ นระบบ ครู ผสู ้ อนสามารถสรุ ปเขียนรายงาน
การวิจยั ในชั้นเรี ยนเพื่อรอรับการประเมินตามมาตรฐานวิชาชีพครู และ สามารถ
รวบรวมเป็ นผลงานวิชาการเพื่อขอเลื่อนระดับให้สูงขึ้น
Characteristics of Classroom Research
(Angelo & Cross, 1993)
• Learner-centered:
– “focuses its primary attention on observing & improving learning rather than on. . .teaching.”
• Teacher-directed:
– proposes that, “teachers are capable of conducting useful and valid research on classroom
learning.”
• Collaborative:
– “requires the active engagement of students and teachers . . . benefits from full discussion
and participation by all [stakeholders].”
•
Context-specific:
–“
is conducted to shed light on the specific questions of an identified classroom”
–
“involves the teaching of a particular discipline to a known group of students.”
Characteristics of Classroom Research
(Angelo & Cross, 1993)
• Scholarly: “intellectually demanding and professionally responsible.
– It builds on the knowledge base of research on teaching & learning.
– It requires the identification of a researchable question, the careful planning of an appropriate
research design, and consideration of the implications of the research for practice.”
• Practical & relevant:
– “The questions selected . . . are practical questions that the teacher faces in teaching the class. . .the
primary purpose . . . is to deepen personal understanding . . [and make a] contribution to the
knowledge and practice of the teacher.”
• Continual:
– ongoing, and can “raise new questions, leading to cascading investigations.”
Principles of Classroom Research
• The study should be relevant & important to the real-life needs of the teacher
• The strength of the researcher lies not in technical methodology, but in their closeness to the learning
needs & realities of the classroom.
• Small, local studies of real, relevant needs are most useful and relevant to stakeholders and policy
makers.
• There is equal interest in
• how the majority may confirm a hypothesis
• how a minority may depart from it.
• Don’t try to save the world—just find out something important to improve your teaching & your
students’ learning.
• You don’t have to have earth-shaking, quantitatively-solid data.
•
Almost any kind of information that adds to your understanding of teaching and
learning is important.
•
Remember that the focus is on students & their needs primarily.
7 Principles of good teaching practice
in undergraduate education
•
•
•
•
•
•
•
Encourages student-faculty contact
Encourages cooperation among students—and colleagues
Encourages active learning
Gives prompt feedback
Emphasizes time on task
Communicates high expectations
Respects diverse talents and ways of learning—and teaching
4 forms of scholarship
(Boyer,1990)
• Discovery:
– “contributes to the stock of human knowledge & also to the intellectual climate o the college or
university”
• Integration: making connections across disciplines & making interpretations that fit research into
larger intellectual patterns
– “to foster the integration and synthesis of knowledge rather than learning discrete bits of
information”
• Application: addresses the question, “How can knowledge be responsibly applied to consequential
problems?”
• Teaching: “ not only transmitting knowledge but transforming and extending it as well”
Classroom Research
• is a promising approach to professional development because of its emphasis
collecting data and reflecting on its implications for adding to faculty
knowledge about teaching and learning (Cross and Angelo).
• does not necessarily refer to traditional notions of rigorous scientific study
often associated with social science empirical research (Cross and Steadman).
• Classroom researchers are teachers interested in learning, not methodologists
with technical research competence in the social sciences, and their strength
lies in their understanding of the classroom context (Cross and Steadman).
• Classroom research opts for relevance over rigor (Cross and Steadman).
แหล่ งข้ อมูล
• Angelo, T. Classroom Assessment and Research: An Update on
Uses, Approaches, and Research Findings. New Directions for
Teaching and Learning. Ed. Robert J. Menges, 1998.
• Angelo, T. & Cross, P. Classroom Assessment Techniques, 1993.
• Cross, P. K. & Steadman, M. H. Classroom
Research: Implementing the Scholarship of Teaching, 1996.
• อุทุมพร ทองอุไทย (2544). รวมบทคัดย่ อ รายงานการวิชัยในชั้น
เรียน/โรงเรียน คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• สุ วิมล ว่องวาณิ ช (2553). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน.
กรุ งเทพมหานคร:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.