หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต - reg.ksu.ac.th

Download Report

Transcript หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต - reg.ksu.ac.th

หลักสู ตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสู ตร 5 ปี )
สาขาคอมพิวเตอร์ ศึกษา
ชื่อเต็ม ครุศาสตรบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ ศึกษา)
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Education (Computer Education)
ชื่อย่ อ
ค.บ. (คอมพิวเตอร์ ศึกษา)
B.Ed. (Computer Education)
หน่ วยงาน : ภาควิชาศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสิ นธุ์
ปรัชญาของหลักสู ตร

หลักสู ตรครุศาสตรบัณฑิตเป็ นมาตรฐานผลิตครูข้นั วิชาชีพที่
สามารถบูรณาการความรู้ความสามารถทักษะ คุณธรรม จริยธรรม
มีอตั ราในการประกอบวิชาชีพเหมาะสมกับการเป็ นวิชาชีพชั้ นสู ง
สามารถทางานและอยู่ร่วมกับคนอืน่ ได้ อย่ างมีความสุ ข รู้ เท่ าทันการ
เปลีย่ นแปลงและสามารถเผชิญปัญหาหรือวิกฤตได้ ด้วยสติปัญญา
***************
วัตถุประสงค์ ของหลักสู ตร
1.
2.
3.
4.
ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากสถานการณ์จริ ง
เป็ นครู ที่มีความรู ้ ความสามารถทางคอมพิวเตอร์ศึกษา ตระหนัก
ในคุณค่าของวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
มุ่งเน้นพัฒนาความสามารถและทักษะในการใช้ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มุ่งสร้างความตระหนักและปลูกฝังจิตสานึกของความเป็ นครู ตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพ
โครงสร้ างของหลักสู ตร
ประกอบด้ วยกลุ่มชุ ดวิชาจานวน 4 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มวิชา
จานวนหน่ วยกิต
กลุ่มวิชาการศึกษาทั่วไป
ไม่ น้อยกว่า 33
กลุ่มวิชาชีพครู
- ชุดวิชาการศึกษา
-วิชาชีพครู บงั คับ
- วิชาชีพครู เลือก
- ชุดวิชาการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ
ไม่ น้อยกว่า 50
ไม่นอ้ ยกว่า 24
ไม่นอ้ ยกว่า 9
ไม่นอ้ ยกว่า 17
กลุ่มชุดวิชาเฉพาะด้ าน
ไม่ น้อยกว่า 78
กลุ่มชุดวิชาเลือกเสรี
ไม่ น้อยกว่า 6
ไม่ น้อยกว่า 167
รวม
หมายเหตุ : จานวนหน่วยกิตและการคิดหน่วยกิตเป็ นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง
เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับ ปริ ญญาตรี พ.ศ. 2548
ตารางวิเคราะห์ เนือ้ หาความรู้ ตามรายวิชาทีเ่ ปิ ดสอน เทียบกับสาระความรู้ ตาม
มาตรฐานทีค่ ุรุสภากาหนด
มาตรฐานความรู้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู
การพัฒนาหลักสู ตร
การจัดการเรียนรู้
จิตวิทยาสาหรับครู
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การบริหารจัดการในห้ องเรียน
การวิจัยทางการศึกษา
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ความเป็ นครู
หน้ าถัดไป
สาระความรู้ ตามมาตรฐาน
1. ภาษาไทยสาหรับครู
2. ภาษาอังกฤษหรื อภาษาต่างประเทศ
อื่น ๆ สาหรับครู
3. เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับครู
สมรรถนะตามมาตรฐาน
1. สามารถใช้ทกั ษะในการฟัง การพูด
การอ่าน การเขียนภาษาไทย เพื่อ
การสื่ อความหมายได้อย่างถูกต้อง
2. สามารถใช้ทกั ษะในการฟัง การพูด
การอ่าน การเขียนภาษาอังกฤษ
หรื อภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เพื่อ
การสื่ อความหมายได้อย่างถูกต้อง
3. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ข้นั พื้นฐาน
กลับหน้ าหลัก
สาระความรู้ ตามมาตรฐาน
1. ปรัชญา แนวคิดทฤษฎีการศึกษา
2. ประวัติความเป็ นมาและระบบการจัด
การศึกษาไทย
3. วิสยั ทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย
4. ทฤษฎีหลักสูตร
5. การพัฒนาหลักสูตร
6. มาตรฐานและมาตรฐานช่วงชั้นของหลักสู ตร
7. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
8. ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร
สมรรถนะตามมาตรฐาน
1. สามารถวิเคราะห์หลักสู
2. สามารถปรับปรุ งและพัฒนา
หลักสู ตรได้อย่างหลากหลาย
3. สามารถประเมินหลักสูตรได้ท้งั ก่อน
และหลังการใช้หลักสูตร
4. สามารถจัดทาหลักสูตร
กลับหน้ าหลัก
สาระความรู้ ตามมาตรฐาน
1. ทฤษฎีการเรี ยนรู้และการสอน
2. รู ปแบบการเรี ยนรู้และการพัฒนา
รู ปแบบการเรี ยนการสอน
3. การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้
4. การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้
5. การบูรณาการการเรี ยนรู้แบบเรี ยนรวม
6. เทคนิค และวิทยาการจัดการเรี ยนรู้
7. การใช้และการผลิตสื่ อและการพัฒนานวัตกรรมในการ
เรี ยนรู้
8. การจัดการเรี ยนรู้แบบยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
9. การประเมินผลการเรี ยนรู้
สมรรถนะตามมาตรฐาน
1. สามารถนาประมวลรายวิชามาจัดทา
แผนการเรี ยนรู้รายภาค และตลอดภาค
2. สามารถออกแบบการเรี ยนรู้ที่
เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน
3. สามารถเลือกใช้ พัฒนาและสร้างสื่ อ
อุปกรณ์ที่ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน
4. สามารถจัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มการ
เรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนและจาแนกระดับการ
เรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนจากการประเมินผล
กลับหน้ าหลัก
สาระความรู้ ตามมาตรฐาน
สมรรถนะตามมาตรฐาน
1. จิตวิทยาพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับ
1. เข้าใจธรรมชาติของผูเ้ รี ยน
พัฒนาการมนุษย์
2. สามารถช่วยเหลือผูเ้ รี ยนให้เรี ยนรู้
2. จิตวิทยาการศึกษา
และพัฒนาได้ตามศักยภาพของตน
3. จิตวิทยาการแนะแนวและให้คาปรึ กษา 3. สามารถให้คาแนะนาช่วยเหลือ
ผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึน
4. สามารถส่ งเสริ มความถนัดและความ
สนใจของผูเ้ รี ยน
กลับหน้ าหลัก
สาระความรู้ ตามมาตรฐาน
1. หลักการและเทคนิคการวัดและ
ประเมินผลทางการศึกษา
2. การสร้างและการใช้เครื่ องมือวัดผล
และประเมินผลการศึกษา
3. การประเมินตามสภาพจริ ง
4. การประเมินจากแฟ้ มสะสมงาน
5. การประเมินภาคปฏิบตั ิ
6. การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
สมรรถนะตามมาตรฐาน
1. สามารถวัดและประเมินผลได้ตาม
สภาพความเป็ นจริ ง
2. สามารถนาผลการประเมินไปใช้ใน
การปรับปรุ งการจัดการเรี ยนรู้และ
หลักสูตร
กลับหน้ าหลัก
สาระความรู้ ตามมาตรฐาน
1. ทฤษฎีและหลักการบริ หารจัดการ
2. ภาวะผูน้ าทางการศึกษา
3. การคิดอย่างเป็ นระบบ
4. การเรี ยนรู้วฒั นธรรมองค์กร
5. มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร
6. การติดต่อสื่ อสารในองค์กร
7. การบริ หารจัดการชั้นเรี ยน
8. การประกันคุณภาพการศึกษา
9. การทางานเป็ นทีม
10. การจัดทาโครงงานทางวิชาการ
11. การจัดโครงการฝึ กอาชีพ
12. การจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อ พัฒนา
13. การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารจัดการ
14. การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน
สมรรถนะตามมาตรฐาน
1.
2.
3.
4.
5.
มีภาวะผูน้ า
สามารถบริ หารจัดการในชั้นเรี ยน
สามารถสื่ อสารได้อย่างมีคุณภาพ
สามารถในการประสานประโยชน์
สามารถนานวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ใน
การบริ หารจัดการ
กลับหน้ าหลัก
สาระความรู้ ตามมาตรฐาน
1. ทฤษฎีการวิจยั
2. รู ปแบบการวิจยั
3. การออกแบบการวิจยั
4. กระบวนการวิจยั
5. สถิติเพื่อการวิจยั
6. การวิจยั ในชั้นเรี ยน
7. การฝึ กปฏิบตั ิการวิจยั
8. การนาเสนอผลงานวิจยั
9. การค้นคว้า ศึกษางานวิจยั ในการพัฒนา
กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
10. การใช้กระบวนการวิจยั ในการแก้ปัญหา
11. การเสนอโครงการเพื่อทาวิจยั
สมรรถนะตามมาตรฐาน
1. สามารถนาผลการวิจยั ไปใช้ในการจัดการเรี ยน
การสอน
2. สามารถทาวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนและ
พัฒนาผูเ้ รี ยน
กลับหน้ าหลัก
สาระความรู้ ตามมาตรฐาน
สมรรถนะตามมาตรฐาน
1. แนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมการศึกษาที่ส่งเสริ มการ
พัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู้
2. เทคโนโลยีและสารสนเทศ
3. การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้
นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศ
4. แหล่งการเรี ยนรู้และเครื อข่ายการ เรี ยนรู้
5. การออกแบบ การสร้าง การนาไปใช้
การประเมินและการปรับปรุ ง นวัตกรรม
1. สามารถเลือกใช้ ออกแบบ สร้างและ
ปรับปรุ งนวัตกรรมเพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิด
การเรี ยนรู้ที่ดี
2. สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและ
สารสนเทศเพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ที่ดี
3. สามารถแสวงหาแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลาก
หลายเพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน
กลับหน้ าหลัก
สาระความรู้ ตามมาตรฐาน
1. ความสาคัญของวิชาชีพครู บทบาท
หน้าที่ ภาระงานของครู
2. พัฒนาการของวิชาชีพครู
3. คุณลักษณะของครู ที่ดี
4. การสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพครู
5. การเสริ มสร้างศักยภาพและสมรรถภาพ
ความเป็ นครู
6. การเป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู้และ
การเป็ นผูน้ าทางวิชาการ
7. เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
8. จรรยาบรรณของวิชาชีพครู
9. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
สมรรถนะตามมาตรฐาน
1. รัก เมตตา และปรารถนาดีต่อผูเ้ รี ยน
2. อดทนและรับผิดชอบ
3. เป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู ้และเป็ น
ผูน้ าทางวิชาการ
4. มีวสิ ยั ทัศน์
5. ศรัทธาในวิชาชีพครู
6. ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
กลับหน้ าหลัก
การคัดเลือกผู้เข้ าศึกษา
คุณสมบัติทวั่ ไป
ปริ ญญาตรี 5 ปี ต้องเป็ นผูส้ าเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลายหรื อเทียบเท่า และมีเกรดเฉลี่ยไม่นอ้ ยกว่า 2.00 หรื อเป็ นผูม้ ีคุณสมบัติ
พื้นฐานต่าง ๆ ตามที่สถาบันกาหนด
คุณสมบัติตามเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพ
- ด้านร่ างกาย
- ด้านความประพฤติ จรรยามารยาท
- ด้านจิตใจ
ระบบการศึกษาและการจัดการศึกษา
1. ระบบการศึกษา
- การจัดการศึกษาให้เป็ นไปตามที่กาหนดไว้ในข้อบังคับของมหาวิทยาลัยราชภั
กาฬสิ นธุ์ ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอนุปริ ญญาและระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2548
2. การจัดการศึกษา
2.1 การจัดการเรี ยนรู ้ ความสาเร็ จของการใช้หลักสู ตรอยูท่ ี่การจัดการเรี ยนรู้ให้
บรรลุผลตามผลลัพธ์การเรี ยนรู ้ของแต่ละรายวิชา
2.2 การจัดกิจกรรม พัฒนาทักษะและคุณลักษณะของความเป็ นครู ประสบการณ์ที่จดั
ให้นกั ศึกษา
2.3 การปฏิบตั ิการสอน นักศึกษาจะต้องปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาที่มีคุณสมบัติ
ครบตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ที่คณะกรรมการสภาวิชาชีพครู กาหนดเป็ นระยะเวลา 1 ปี
ภายใต้การแนะนาของผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นวิชาชีพครู
ระยะเวลาการศึกษา

ใช้เวลาศึกษาไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี การศึกษาปกติและไม่เกิน 10 ปี การศึกษา
สาหรับการลงทะเบียนเรี ยนเต็มเวลา และใช้เวลาไม่นอ้ ยกว่า 16 ภาค
การศึกษาปกติและไม่เกิน 30 ภาคการศึกษา สาหรับ การลงทะเบียนเรี ยน
ไม่เต็มเวลา
*************************
อาจารย์ ผ้ ูสอน


อาจารย์ประจา เป็ นอาจารย์ที่สงั กัดใน โปรแกรมวิชา
คอมพิวเตอร์ศึกษา หรื ออาจารย์ที่ทาการสอนในสาขาที่เกี่ยวข้อง
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสิ นธุ์
อาจารย์สอนวิชาชีพครู เป็ นอาจารย์ที่สอนวิชาชีพครู ระดับ
ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู
จบการนาเสนอ
หลักสู ตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสู ตร 5 ปี )
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ศึกษา
**********
ขอขอบคุณ