โดยดร.ดิเรก พรสีมา (01)927 7230 มหาวิทยาลัยอิสเทิรน์ เอเซีย Our globe 2010 – 192 UN member countries 17,098,242 square km. 1 7 9,984,670 square km 13US$14,256,300 million 9,826,630

Download Report

Transcript โดยดร.ดิเรก พรสีมา (01)927 7230 มหาวิทยาลัยอิสเทิรน์ เอเซีย Our globe 2010 – 192 UN member countries 17,098,242 square km. 1 7 9,984,670 square km 13US$14,256,300 million 9,826,630

โดยดร.ดิเรก พรสีมา (01)927 7230 มหาวิทยาลัยอิสเทิรน์ เอเซีย
Our globe 2010 – 192 UN member countries
17,098,242 square km.
2
1 7
9,984,670 square km
65
1
0
3
3
1
US$14,256,300 million
9,826,630 square km
55
8
9
6 2 74
4
3
THAILAND
P- 63 million
A - 513,115
$ -280,000 m
1,339 million
6
9,596,960 square km
Populated countries
Richest countries
1 4 2
Largest countries
2037 World Population (in million)
Region
World
Africa
Europe
Latin America
America
Oceania
Asia
China
India
Thailand
2007
6,605.0
935.8
727.2
569.0
301.1
33.5
4,004.8
1,321.8
1,129.9
64.1
2017
7,383.4
1,151.1
719.3
633.5
328.0
37.1
4,478.1
1,409.7
1,309.2
68.7
2027
8,099.2
1,386.6
702.8
689.2
355.3
40.2
4,886.4
1,457.9
1,482.8
70.8
2037
8,725.7
1,639.6
697.2
731.0
383.8
42.6
5,209.2
1,459.0
1,641.5
71.2
Our globe – 192 UN member countries
7
3
9 6
4
THAILAND
8
2
27
10 1
2010 World competitive nations
5
1. Economic Performance- domestic economy, international trade, international investment,
employment, price
2. Government Efficiency- public finance, fiscal policy, institutional framework, business legislation,
societal framework
3. Business Efficiency- productivity, labor market, financial infrastructure, management practices,
attitudes and values
4. Infrastructure- basic infrastructure, technological infrastructure, scientific infrastructure, health
and environment, education
Our globe – 192 UN member countries
110
2010 Poorest countries – Tanzania, Zimbabwe, Burundi, Liberia, Guinea
Bissau, Eritrea, Somalia, Niger, Sierra Leone, Central African Republic :
inequality in income distribution, illiterate, corruption, HIV/AIDS
Asian Population and Per
Capita
Income
in
2009
162 m
US $ 1017
25 m
US $ 452
140 m
US $ 574
1,339 m
US $ 3,678
0.9 m
US $ 1881
2.56 m
US $ 1,560
US $ 17,074
48.846 m
US $ 39,731
127 m
86 m
US $ 1060 Luxemberg = US $ 104,512; 0.45 m
USA = US $ 46,381;300 m
Burundi=$163; 8.3 m
5.77 m
US $ 878
92 m
US $ 1746
US $ 6,897
25.1 m
222 m
US $ 2,329
Future land route
SRI LANKA
AFTA Effective Date
Areas of cooperation: infrastructure (basic, science, technology,
health and environment, education); joint production, marketing,
purchasing; R&D; information
Year 2011, 2012……
2015
Liberalization:
eliminate
discriminatory
measures and
access; prohibit new
discriminatory
measures and
access
ทาอย่างไรประเทศไทย
ของเราจึงจะสงบ สันติ
พัฒนาอย่างยัง่ ยืน และ
แข่งขันประเทศอืน่ ๆได้
World Population
1804
1,000 million
123 yr. 1927
2,000 million
72 yr. 1999
6,000 million
4 April 2008
6,677,569,921
5 Jan 2008
6,664,737,085 6,538,056 per day
6 Jan 2008
6,671,275,141
Thai population 65.5 million - Birth rate 0.6 %
2007 – new born baby = 889,000
2007 - deceased = 470,000
Total land area = 513,115 square km.
ประเทศไทยในอนาคตควรจะเป็ นอย่างไร
คนไทยในอนาคตควรจะเป็ นอย่างไร
THAILAND 2020 VISION
Creative
Specific
Precise
Convincing
DREAM
VISION
DESIRED
FUTURE
VISIONARY GOALS
Proactive Vision Not preactive, inactive, or Influence members of the
Reactive vision
organization to commit to the
vision
Physical Development
Intellectual Development
Competent,
Emotional Development
Social Development
innovative,
world-class
Spiritual Development
Malaysia
*คุณธรรม จริ ยธรรม ค่ านิยม
สมาชิกที่ดี ประชาธิปไตย
มาตรฐานหลักสู ตร เรียนต่ อเนื่อง
ทางาน คิดค้ น ประดิษฐ์ สิ่งใหม่
สุ*ขภาพกาย สุ ขภาพจิต
ทุกประเทศอยากเห็นประชาชน
ของตนมีคณ
ุ ภาพสูงๆ
คุณภาพคือดี เก่ง สุข
คนมีคุณภาพ
. . เชื่อมั่นในตนเอง
ทุกประเทศอยากเห็นประชาชน
ของตนมีคณ
ุ ภาพสูงๆ
Emotional Development
Spiritual Development
Physical Development
Intellectual Development
excellent,
Social Development
world-class
*คุณธรรม
จริยธรรม ค่ านิยม
สมาชิกที่ดี ประชาธิปไตย
มาตรฐานหลักสู ตร เรียนต่ อเนื่อง
ทางาน คิดค้ น ประดิษฐ์ สิ่งใหม่
สุ*ขภาพกาย สุ ขภาพจิต
คุณภาพคือดี เก่ง สุข
คนมีคุณภาพ
. . เชื่อมั่นในตนเอง
Singapore
Physical Development
Intellectual Development
Good,
Emotional Development
Social Development
Competent,
innovative,
Spiritual Development
South Korea
*คุณธรรม จริ ยธรรม ค่ านิยม
สมาชิกที่ดี ประชาธิปไตย
มาตรฐานหลักสู ตร เรียนต่ อเนื่อง
ทางาน คิดค้ น ประดิษฐ์ สิ่งใหม่
สุ*ขภาพกาย สุ ขภาพจิต
ทุกประเทศอยากเห็นประชาชน
ของตนมีคณ
ุ ภาพสูงๆ
คุณภาพคือดี เก่ง สุข
คนมีคุณภาพ
. . เชื่อมั่นในตนเอง
Physical Development
Intellectual Development
Good,
Emotional Development
Social Development
Competent,
Spiritual Development
Happy
Thailand
*คุณธรรม จริ ยธรรม ค่ านิยม
สมาชิกที่ดี ประชาธิปไตย
มาตรฐานหลักสู ตร เรียนต่ อเนื่อง
ทางาน คิดค้ น ประดิษฐ์ สิ่งใหม่
สุ*ขภาพกาย สุ ขภาพจิต
ทุกประเทศอยากเห็นประชาชน
ของตนมีคณ
ุ ภาพสูงๆ
คุณภาพคือดี เก่ง สุข
คนมีคุณภาพ
. . เชื่อมั่นในตนเอง
มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิ ยมที่พงึ ประสงค์ เป็ นสมาชิก
เป้ าหมายของโรงเรียน ?? ที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศ ยึดมัน่ ในการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีในหลวงเป็ นประมุข
(มาตรา 23)
ทานุ ส่งเสริม
Good,
มีความรู้
อนุรักษ์
Competent,
ความสามารถ
วัฒนธรรม
ทักษะตาม
Happy
พลั
งงาน
มี
ส
ุขภาพ
หลักสูตร คิด
ทรั
พยากร
กาย
จิ
ต
ที
่
วิเคราะห์
*คุณธรรม จริยธรรม ค่านิ ยม สมาชิกที
สิ่ ่งดีแวดล้อม
สังเคราะห์ บริหาร ดี ประชาธิปไตย มาตรฐานหลักสูตร
และหาความรู้
เรียนต่อเนื่ อง ทางาน คิดค้น ประดิษฐ์
ต่อเนื่อง ใช้
ความรูท
้ างานและ สิง่ ใหม่ สุขภาพกาย สุขภาพจิต
รักการทางาน
*
ทางานกับคนอืน
่
ได้
คนมีคุณภาพ
. . เชื่อมั่นในตนเอง
ใครจะท าให้ค นไทยเป็ นอย่ างนี้ ได้ –
ครู
ค รู คื อ ค ว า ม ห วั ง สุ ด ท้ า ย ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ
คนอืน่ จะเปลี่ยนแปลงประเทศของเราให้เป็ นไปในทางที่ดีข้ ึน
ได้ไหม – นักการเมือง นักปกครอง นักธุรกิจ นักกฎหมาย
นั ก เศรษฐศาสตร์ แพทย์ พยาบาล เกษตรกร กรรมกร
นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ นั ก เ ท ค โ น โ ล ยี ฯ ล ฯ ? ?
ครูน่ี แหละ พวกเรานี้ แหละที่มีพลังเพียง
พอที่จะเปลี่ยนแปลงประเทศได้
มาตรา 52ให้มีระบบ กระบวนการผลิต การ มาตรา 53ให้มีองค์กรวิชาชีพครูเป็ นองค์กร
พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ อิสระในกระทรวง ทาหน้าที่กาหนดมาตรฐาน
ศึกษาให้เหมาะสมกับการเป็ นวิชาชีพชัน้ สูง วิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุ ญาต กากับ
มาตรฐาน และพัฒนาวิชาชีพ
มาตรา 57 ให้มีการ
มาตรา 54 ให้มีองค์กรกลาง
ระดมทรัพยากรบุคคล
บริหารงานบุคคลข้าราชการ
หมวด 7 ครู คณาจารย์
มาใช้ในการจัด
ครูและบุคลากรทางการ
และบุ
ค
ลากรทางการ
การศึกษา
ศึกษาโดยยึดหลักการ
ศึกษา
กระจายอานาจ
มาตรา 56 การผลิตและพัฒนา
มาตรา 55 ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน
คณาจารย์ให้เป็ นไปตาม
กฎหมายจัดตัง้ สถานศึกษาแต่ สวัสดิการ กองทุนส่งเสริมครู คณาจารย์และบุคลากร
ทางการศึกษา
ละแห่ง
หมวด ๑ สภาครูและบุคลากร
ส่วนที่ ๑ บททัว่ ไป ทางการศึกษา
วัตถุประสงค์และอานาจหน้าที่
หมวด ๒ คณะกรรมการ
ส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิ
ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการคุร
ภาพครูและบุคลากรทางการ
สภา
พ.ร.บ.สภาครู
แ
ละ
ศึกษา
บุคลากรทางการศึกษา
๒๕๔๖
ส่วนที่ ๖ สมาชิกคุรุสภา
ส่วนที่ ๕ การประกอบวิชีพ
ควบคุม
ส่วนที่ ๓ คณะกรรมการ
มาตรฐานวิชาชีพ
ส่วนที่ ๔ การดาเนิ นงานของคุรุสภา
ม. ๗ ให้คุรุสภาเป็ นนิ ตบิ คุ คลในกากับของ
กระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๘ ให้ครุ ุสภามีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
ส่วนที่ ๑ บททัว่ ไป
1
2
(๑) กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุ ญาต
3
กากับดูแลการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของ
4
วิชาชีพ รวมทัง้ การพัฒนาวิชาชีพ
(๒) กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
(๓) ประสาน ส่งเสริมการศึกษาและการวิจยั เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
(๒) และ (๓) เป็ นวัตถุประสงค์ท่กี าหนดขึ้นเพือ่ สนับสนุ น (๑)
มาตรา ๗๘ ผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา ๔๓ ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่ งปี หรือปรับไม่
เกินสองหมื่นบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
หมวด ๔
บทกาหนดโทษ
มาตรา ๗๙ ผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา ๔๖ หรือมาตรา ๕๖ ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ม.๔๓ ให้วชิ าชีพครู ผูบ้ ริหารสถานศึกษา และผูบ้ ริหารการศึกษาเป็ นวิชาชีพควบคุม
ตามพระราชบัญญัตนิ ้ ี การกาหนดวิชาชีพควบคุมอืน่ ให้เป็ นไปตามที่กาหนด
ในกฎกระทรวง
ห้ามมิให้ผูใ้ ดประกอบวิชาชีพควบคุมโดยไม่ได้รบั ใบอนุ ญาตตามพระราชบัญญัตนิ ้ ี
เว้นแต่กรณี อย่างใดอย่างหนึ่ งต่อไปนี้
(๑) ผูท้ ่เี ข้ามาให้ความรูแ้ ก่ผูเ้ รียนในสถานศึกษาเป็ นครัง้ คราวในฐานะวิทยากร
พิเศษทางการศึกษา
(๒) ผูท้ ่ไี ม้ได้ประกอบอาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนแต่บางครัง้ ต้องทาหน้าที่
สอน
(๓) นักเรียน นักศึกษา หรือผูร้ บั การฝึ กอบรม หรือผูไ้ ด้รบั ใบอนุ ญาตปฏิบตั กิ าร
สอนซึ่งทาการฝึ กหัดหรืออบรมในความควบคุมของผูป้ ระกอบ
วิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเป็ นผูใ้ ห้การศึกษาอบรม ทัง้ นี้ ตาม
การประกอบ หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขที่คณะกรรมการคุรุสภา
วิชาชีพควบคุม กาหนด
(๔) ผูท้ ่จี ดั การศึกษาตามอัธยาศัย
ม.๔๓ (ต่อ)(๕) ผูท้ ่ที าหน้าที่สอนในศูนย์การเรียนตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
หรือสถานที่เรียนที่หน่ วยงานจัดการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย บุคคล
ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน อปท. องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์
สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอืน่ เป็ นผูจ้ ดั
(๖) คณาจารย์ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ผูบ้ ริหารการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ระดับปริญญาทัง้ ของรัฐและเอกชน
(๗) ผูบ้ ริหารการศึกษาระดับเหนื อเขตพื้นที่การศึกษา
(๘) บุคคลอืน่ ตามที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด
การประกอบ
วิชาชีพควบคุม
ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพ
๑. ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๔๓ (๘)
๑. ใบรับรองสิทธิ์ในการประกอบวิชาชีพ (คุณสมบัติครบถ้วนแต่รอการอนุ มตั ิ
ของกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ)
๒. ใบอนุ ญาตปฏิบตั กิ ารสอน (มาตรฐานความรู ้ หรือประสบการณ์ทางการ
สอน หรือทัง้ สองอย่างไม่ครบถ้วน)
๓. หนังสืออนุ ญาตให้ปฏิบตั กิ ารสอน (ขาดมาตรฐานความรูใ้ นวิชาชีพครูและ
ประสบการณ์ทางการสอน แต่สถานศึกษามีความจาเป็ นต้องใช้)
ครู ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ผูบ้ ริหารการศึกษา ศึกษานิ เทศก์
มาตรา ๔๕ ผูข้ อรับใบอนุ ญาต การออกใบอนุ ญาต การกาหนดอายุใบอนุ ญาต การต่อ
ใบอนุ ญาต การขอรับใบแทนใบอนุ ญาต และการออกใบแทนใบอนุ ญาต ให้เป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขที่กาหนดในข้อบังคับคุรุสภา
ผูข้ อรับใบอนุ ญาตหรือขอต่อใบอนุ ญาตซึ่ง กมว. ไม่ออกหรือไม่ต่อใบอนุ ญาต
ให้อาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการคุรุสภาได้
มาตรา ๔๖ ห้ามมิให้ผูใ้ ดแสดงด้วยวิธใี ดๆให้ผูอ้ น่ื เข้าใจว่าตนมีสทิ ธิหรือ
พร้อมจะประกอบอาชีพโดยไม่ได้รบั ใบอนุ ญาตจากคุรุสภา และ
ห้ามมิให้สถานศึกษารับผูท้ ่ไี ม่ได้รบั ใบอนุ ญาตเข้าประกอบ
วิชาชีพควบคุมในสถานศึกษา เว้นแต่จะได้รบั
ใบอนุ ญาตจากคุรุสภา
การประกอบ
วิชาชีพควบคุม
มาตรา ๕๕ ผูไ้ ด้รบั ใบอนุ ญาตซึ่งถูก กมว. วินิจฉัยตามมาตรา ๕๔ (๒)(๓)(๔) หรือ (๕)
สามารถอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการคุรุสภาได้
มาตรา ๕๖ ห้ามมิให้ผูถ้ กู สัง่ พักใบอนุ ญาตแสดงด้วยวิธีใดๆว่าตนมีสทิ ธิหรือ
พร้อมที่จะประกอบวิชาชีพควบคุม
มาตรา ๕๗ ผูไ้ ด้รบั ใบอนุ ญาตซึ่งถูกสัง่ เพิกถอนใบอนุ ญาต
จะยื่นขออีกไม่ได้ จนกว่าจะพ้นห้าปี นบั แต่วนั ที่ถกู สัง่ เพิก
การประกอบ
วิชาชีพควบคุม
ม. ๗ ให้คุรุสภาเป็ นนิ ตบิ คุ คลในกากับของ
กระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๘ ให้ครุ ุสภามีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
ส่วนที่ ๑ บททัว่ ไป
1
2
(๑) กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุ ญาต
3
กากับดูแลการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของ
4
วิชาชีพ รวมทัง้ การพัฒนาวิชาชีพ
(๒) กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
(๓) ประสาน ส่งเสริมการศึกษาและการวิจยั เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
(๒) และ (๓) เป็ นวัตถุประสงค์ท่กี าหนดขึ้นเพือ่ สนับสนุ น (๑)
บัณฑิตครูใหม่
มาตรฐานวิชาชีพ
ครูประจาการ
Standards,
Indicators,
and Criteria
Input
Standards,
Indicators,
and Criteria
องค์ประกอบของระบบการผลิตครู
Environment
Process
Output
Standards,
Indicators,
and Criteria
Standards,
Indicators,
and Criteria
องค์ประกอบเหล่านี้ สัมพันธ์กนั อย่างไร?
องค์ประกอบของระบบการผลิตครู
Environment
Process
จรรยาบรรณ ความรู ้ สมรรถนะ
Standards,
Indicators,
and Criteria
ครูปฐมวัย ครูประถม ครู
มัธยม ครูอาชีวะ ครูพละ ฯ
Output
ครูดี เก่ง รัก
วิชาชีพครู
Effective?
Input
องค์ประกอบของระบบการผลิตครู
Environment
Input
Process
Output
-แผนการเรียนการสอนและการฝึ กประสบการวิชาชีพ
-กิจกรรมการเรียนการสอนและการฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพ
-การประเมินผลนักเรียนครู
-การปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนและการฝึ กประสบการณ์อย่าง
ต่อเนื่ อง ฯ
Standards, Indicators, and Criteria
องค์ประกอบเหล่านี้ สัมพันธ์กนั อย่างไร?
Environment
Input
นักศึกษาดี เก่ง สุข คณาจารย์
ดี เก่ง สุข หลักสูตร สถานที่
อุปกรณ์ หอพัก โรงเรียนสาธิต
ฯลฯ
Process
Standards,
Indicators,
Criteria
Output
องค์ประกอบเหล่านี้ สัมพันธ์กนั อย่างไร?
Input
โรงเรียน ผูบ้ ริหารโรงเรียน
ครูรุ่นพี่ดี เก่ง มีความสุข
นโยบายประเทศจากัดการรับ
นักเรียนครู ให้ทนุ นักเรียนครู
เมื่อเรียนสาเร็จทุกคนมีงาน
ทา รับเฉพาะนักเรียน ดี เก่ง
รักอาชีพครู เงินเดือนสูง
บังคับให้ครูพฒั นา ฯลฯ
Process
Environment
Standards,
Indicators,
Criteria
Output
บัณฑิตครูจงึ จะมีคณ
ุ ภาพสูง
สภาพปัจจุบนั เกี่ยวกับ Standards (Indicators, Criteria)
ของ Inputs, Process, Output, Environment ของระบบ
การผลิตครูเป็ นอย่างไร
เราได้กาหนดมาตรฐานวิชาชีพซึ่งประกอบด้วย
๑. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์ วชิ าชีพ
๒. มาตรฐานการปฏิบัตงิ านหรือมาตรฐานสมรรถนะ
๓. จรรยาบรรณของวิชาชีพ
ครูปฐมวัย ครูประถมศึกษา ครูมธั ยมศึกษา ครูอาชีวศึกษา ...ใช้มาตรฐาน
ความรูแ้ ละประสบการณ์ สมรรถนะ และจรรยาบรรณเดียวกัน
ทัง้ ๆที่ครู แต่ละกลุ่มเหล่านี้ ต้องใช้ความรูแ้ ละประสบการณ์
สมรรถนะ และจรรยาบรรณในการปฏิบตั ภิ ารกิจต่างกัน
มาตรฐานวิชาชีพปัจจุบนั ประกอบด้วย
๑. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์ วชิ าชีพ
๒. มาตรฐานการปฏิบัตงิ านหรือมาตรฐานสมรรถนะ
๓. จรรยาบรรณของวิชาชีพ
มาตรฐานความรูข้ องครู
มาตรฐานความรูข้ องครู
มีคณ
ุ วุฒไิ ม่ตา่ กว่าปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒทิ ่คี รุ ุ
สภารับรอง โดยต้องมีความรูด้ งั ต่อไปนี้
๑. ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู
๒. การพัฒนาหลักสูตร
๓. การจัดการเรียนรู ้
๔. จิตวิทยาสาหรับครู
๕. การวัดและประเมินผลการศึกษา
มาตรฐานความรู ้ (ต่อ)
มีคณ
ุ วุฒไิ ม่ตา่ กว่าปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒทิ ่คี รุ ุ
สภารับรอง โดยต้องมีความรูด้ งั ต่อไปนี้ (ต่อ)
๖. การบริหารจัดการในห้องเรียน
๗. การวิจยั ทางการศึกษา
๘. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
๙. ความเป็ นครู
มาตรฐานประสบการณ์ของครู
มาตรฐานประสบการณ์วชิ าชีพของครู
ผ่านการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรีทาง
การศึกษาเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่าหนึ่ งปี และผ่านเกณฑ์การประเมิน
ปฏิบตั กิ ารสอนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ครุ ุสภากาหนดดังนี้
๑. การฝึ กปฏิบตั วิ ชิ าชีพระหว่างเรียน
๒. การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
มาตรฐานการปฏิบตั งิ านของครู
มาตรฐานการปฏิบตั งิ านของครู
ต้องปฏิบตั งิ านได้ตามมาตรฐานต่อไปนี้
๑. ปฏิบตั กิ จิ กรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยูเ่ สมอ
๒. ตัดสินใจปฏิบตั กิ จิ กรรมโดยคานึ งถึงผลที่จะเกิดแก่ผูเ้ รียน
๓. มุ่งมัน่ พัฒนาผูเ้ รียนให้เต็มตามศักยภาพ
๔. พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลจริง
๕. พัฒนาสือ่ การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยูเ่ สมอ
๖. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผูเ้ รียน
มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (ต่อ)
ต้องปฏิบตั งิ านได้ตามมาตรฐานต่อไปนี้
๗. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนได้อย่างมีระบบ
๘. ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดแี ก่ผูเ้ รียน
๙. ร่วมมือกับผูอ้ น่ื ในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
๑๐. ร่วมมือกับผูอ้ น่ื ในชุมชนอย่างสร้างสรรค์
๑๑. แสวงหาและใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการพัฒนา
๑๒. สร้างโอกาสให้ผูเ้ รียนได้เรียนรูใ้ นทุกสถานการณ์
จรรยาบรรณของ
วิชาชีพทางการศึกษา
จรรยาบรรณของวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อตนเอง
๑. ต้องมีวนิ ยั ในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสยั ทัศน์
ให้ทนั ต่อพัฒนาการทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยูเ่ สมอ
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
๒. ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สจุ ริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็ นสมาชิกที่ดีของ
องค์กรวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อผูร้ บั บริการ
๓. ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์และ
ผูร้ บั บริการโดยเสมอหน้า
จรรยาบรรณของวิชาชีพ (ต่อ)
จรรยาบรรณต่อผูร้ บั บริการ (ต่อ)
๔. ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู ้ ทักษะ และนิ สยั ที่ถกู ต้องดีงามแก่ศิษย์และ
ผูร้ บั บริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถและด้วยความบริสทุ ธิ์
ใจ
๕. ต้องประพฤติปฏิบตั ติ นเป็ นแบบอย่างที่ดี ทัง้ ทางกาย วาจา และจิตใจ
๖. ต้องไม่ทาตนให้เป็ นปฏิปกั ษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปญั ญา จิตใจ
อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผูร้ บั บริการ
๗. ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ
ผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่ งหน้าที่โดยมิชอบ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ (ต่อ)
จรรยาบรรณต่อผูร้ ว่ มประกอบวิชาชีพ
๘. พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์โดยยึดมัน่ ในระบบ
คุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
จรรยาบรรณต่อสังคม
๙. พึงประพฤติปฏิบตั ติ นเป็ นผูน้ าในการอนุ รกั ษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญั ญา สิง่ แวดล้อม รักษาผลประโยชน์ ของ
ส่วนรวม และยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข
นอกจากนั้น.....
เรายังไม่ได้กาหนด ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ (Indicators) เกณฑ์ (Criteria)
ระดับมาตรฐาน
มาตรฐานวิชาชีพ
ความรู/้
ประสบการณ์
(ครู ผูบ้ ริหาร ศน.)
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
สูงขึ้นๆ
เป็ นเครื่องมือในการ
ฉุดให้ความเป็ น
วิชาชีพสูงขึ้น
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพครอบคลุมมาตรฐานเกี่ยวกับอะไรบ้าง
ความรู:้ ความรูเ้ กี่ยวกับผูเ้ รียน (พัฒนาการ ความสนใจ ความถนัด
Intelligence, Brain, สถานภาพทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ฯ) กลุม่
สาระทัง้ ๘ วิธีเรียนของผูเ้ รียนแต่ละคนและวิธีสอนที่ครูอาจนาไปใช้ได้ สือ่
แหล่งเรียนรูแ้ ละวิธใี ช้ท่เี หมาะสมกับแต่ละเนื้ อหาของแต่ละกลุม่ สาระ วิธีวดั
และประเมินผลผูเ้ รียน การช่วยเหลือนักเรียนแต่ละคน ตลอดจนวิธีสร้าง
และหาความรู ้
ประสบการณ์: มีประสบการณ์ในการทดลองใช้ความรูข้ า้ งต้นอย่างน้อย ๑ ปี
สมรรถนะ: ทักษะหรือพฤติกรรมที่แสดงให้เห็น ให้รูว้ ่าเขาเป็ นผูม้ ีความรูใ้ นเรื่อง
ข้างต้น
จรรยาบรรณ: ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีในฐานะที่เป็ นมนุ ษย์ผูเ้ จริญ สมาชิก
องค์กรวิชาชีพ ผูส้ อน เพื่อนร่วมวิชาชีพ สมาชิกของสังคม
มาตรฐานวิชาชีพครอบคลุมมาตรฐานเกี่ยวกับอะไรบ้าง
ความรู:้ ของครูปฐมวัย ครูประถม ครูมธั ยม ครูอาชีวะ ครูพละ ครูนาฏศิลป์
ควรต่างกันหรือไม่
ประสบการณ์: ของครูปฐมวัย ครูประถม ครูมธั ยม ครูอาชีวะ ครูพละ ครู
นาฏศิลป์ ควรต่างกันหรือไม่
สมรรถนะ: ของครูปฐมวัย ครูประถม ครูมธั ยม ครูอาชีวะ ครูพละ ครูนาฏศิลป์
ควรต่างกันหรือไม่
จรรยาบรรณ: ของครูปฐมวัย ครูประถม ครูมธั ยม ครูอาชีวะ ครูพละ ครู
นาฏศิลป์ ควรต่างกันหรือไม่
เราอยากเห็นระดับความเป็ นวิชาชีพของครู
และบุคลากรทางการศึกษาของไทยสูงขึ้น
มาตรฐานวิชาชีพ
ระดับมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้ (Indicators) และ เกณฑ์ (Criteria)
ความรู/้
ประสบการณ์
ต้องพัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพ
ระดับมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้ (Indicators) และ เกณฑ์ (Criteria)
ความรู/้
ประสบการณ์
สมรรถนะ
ไม่ควรให้คงอยู่เท่าเดิมไปเรื่อยๆ
จรรยาบรรณ
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพ
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
ตัวบ่งชี้ (Indicators) และ เกณฑ์ (Criteria)
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพควรประกอบด้วย
๑) มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์ สมรรถนะ จรรยาบรรณของครูปฐมวัย
๒) มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์ สมรรถนะ จรรยาบรรณของครูประถมศึกษา
๓) มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์ สมรรถนะ จรรยาบรรณของครูเฉพาะวิชา เช่นครู
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เคมี ชีวะ ฟิ สิกส์ การศึกษาพิเศษ
นาฏศิลป์ พลศึกษา อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ฯ
..... พร้อมตัวบ่งชี้ และเกณฑ์
มาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัยประกอบด้วย
๑. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์ วชิ าชีพ
๒. มาตรฐานการปฏิบัตงิ านหรือมาตรฐานสมรรถนะ
๓. จรรยาบรรณของวิชาชีพ
๔. มาตรฐานความรู้ ในเนือ้ หาสาระทีค่ รู ปฐมวัยต้ องรู้ และต่ าง
จากครู กลุ่มอืน่ ๆ
มาตรฐานวิชาชีพครูประถมศึกษาประกอบด้วย
๑. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์ วชิ าชีพ
๒. มาตรฐานการปฏิบัตงิ านหรือมาตรฐานสมรรถนะ
๓. จรรยาบรรณของวิชาชีพ
๔. มาตรฐานความรู้ ในเนือ้ หาสาระทีค่ รู ประถมศึกษาต้ องรู้ และ
ต่ างจากครู กลุ่มอืน่ ๆ
มาตรฐานวิชาชีพครูฟิสิกส์ประกอบด้วย
๑. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์ วชิ าชีพ
๒. มาตรฐานการปฏิบัตงิ านหรือมาตรฐานสมรรถนะ
๓. จรรยาบรรณของวิชาชีพ
๔. มาตรฐานความรู้ ในเนือ้ หาสาระทีค่ รู ฟิสิ กส์ ต้องรู้ และต่ างจาก
ครู กลุ่มอืน่ ๆ
มาตรฐานวิชาชีพ
ความรู/้
ประสบการณ์
ระดับมาตรฐาน
(ครู ผูบ้ ริหาร ศน.)
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
สูงขึ้นๆ
เป็ นเครื่องมือในการ
ฉุดให้ความเป็ น
วิชาชีพสูงขึ้น
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
ภาษาและเทคโนโลยี การพัฒนาหลักสูตร การจัดการ
เรียนรู ้ จิตวิทยาสาหรับครู การวัดและประเมินผล การ
บริหารจัดการห้องเรียน การวิจยั ทางการศึกษา นวัตกรรม
และเทคโนโลยี ความเป็ นครู +ปฏิบตั กิ ารสอน 1 ปี
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
พัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
ปัจจุบนั
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
ตัวบ่งชี้ (Indicators) และ เกณฑ์ (Criteria)
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ภาษาและเทคโนโลยี: ภาษาไทยสาหรับครู ภาษาอังกฤษ
หรือภาษาต่างประเทศอืน่ ๆสาหรับครู เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาหรับครู + อะไรเพิม่ อีก
ความรู/้
ประสบการณ์
พัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
2552
2557
อะไรคือตัวบ่งชี้และเกณฑ์ท่บี ่งบอกว่าครูมี
ความรูเ้ กี่ยวกับภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ
ในระดับที่คุรุสภาควรออกใบอนุ ญาตให้
พ.ศ.
2562 2567 2572
ภาษาและเทคโนโลยี การพัฒนาหลักสูตร การจัดการ
เรียนรู ้ จิตวิทยาสาหรับครู การวัดและประเมินผล การ
บริหารจัดการห้องเรียน การวิจยั ทางการศึกษา นวัตกรรม
และเทคโนโลยี ความเป็ นครู +ปฏิบตั กิ ารสอน 2 ปี
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
พัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
เราควรจะเพิ่มหรือลดอะไร
ในกลุ่มครูปฐมวัย ประถม
มัธยม อาชีวะ ....
จรรยาบรรณ
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
การพัฒนาหลักสูตร ปรัชญาแนวคิดและทฤษฎี
การศึกษา ประวัตคิ วามเป็ นมาของระบบการศึกษา
วิสยั ทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย ทฤษฎี
หลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร มาตรฐานและ
มาตรฐานช่วงชัน้ ของหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนา
หลักสูตร
พัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
ควรปรับ เรื่ อ ง “ประวัติค วามเป็ นมาของระบบ
การศึ ก ษาไทย วิ ส ัย ทัศ น์ และแผนพัฒ นา
การศึ ก ษาไทย” ออกไหม? ควรเพิ่ ม เนื้ อหา
“ประวัติ ห ลัก สู ต รของไทย และการวิ เ คราะห์
หลักสูตรปัจจุบนั ” เข้าไปไหม?
พ.ศ.
2557 2562 2567 2572
จรรยาบรรณ
2552
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
การจัดการเรียนรู ้ ทฤษฎีการเรียนรูแ้ ละการสอน
รูปแบบการเรียนรูแ้ ละการพัฒนารูปแบบการเรียน
การสอน การออกแบบและการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู ้ การบูรณาการเนื้ อหาในกลุม่ สาระการเรียนรู ้
การบูรณาการการเรียนรูแ้ บบเรียนรวม เทคนิ คและ
วิทยาการจัดการเรียนรู ้ การใช้ การผลิตสือ่ และการ
พัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู ้ การจัดการเรียนรู ้
แบบยึดผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ การประเมินผลการเรียนรู ้
พัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
2552
ควรน าเรื่ อ ง “การผลิ ต และใช้ ส่ื อ การ
ประเมิ น ผลการเรี ย นรู ้” ไปรวมไว้ภ ายใต้
หัวข้ออื่น และนาเรื่อง “การจัดการความรู ”้
มารวมไว้ตรงนี้ ไหม
พ.ศ.
2557 2562 2567 2572
จิตวิทยาสาหรับครู: จิตวิทยาพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับ
พัฒนาการมนุ ษย์ จิตวิยาการศึกษา จิตวิทยาการแนะ
แนวและให้คาปรึกษา + อะไรเพิม่ อีก
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้ (Indicators) และ เกณฑ์ (Criteria)
ความรู/้
ประสบการณ์
พัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
ควรปรับเนื้ อหาให้มีความชัดเจนขึ้น
ไหม?
จรรยาบรรณ
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
การวัดและประเมินผลการศึกษา หลักการและ
เทคนิ คการวัดและประเมินผลทางการศึกษา การ
สร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผล
ทางการศึกษา การประเมินผลตามสภาพจริง การ
ประเมินจากแฟ้ มสะสมงาน การประเมินภาคปฏิบตั ิ
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
ความรู/้
ประสบการณ์
พัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
ค ว ร จ ะ เ พิ่ ม “ ก า ร วั ด ส ม ร ร ถ น ะ
คุ ณ ธรรมและจรรยาบรรณผู ้เ รี ย น”
ด้วยไหม?
2552
2557 2562 2567 2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
การบริหารจัดการในห้องเรียน ทฤษฎีและหลักการ
บริหาร ภาวะผูน้ า การคิดอย่างเป็ นระบบ วัฒนธรรม
องค์กร มนุ ษยสัมพันธ์ การบริหารจัดการชัน้ เรียน
การประกันคุณภาพ การทางานเป็ นทีม การจัดทา
โครงการทางวิชาการ การจัดโครงการฝึ กอาชีพ การ
จัดโครงการและกิจกรรมเพือ่ พัฒนา การจัดระบบ
สารสนเทศ การศึกษาเพือ่ พัฒนาชุมชน
พัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะควรปรับหัวข้อ “ทฤษฎีและหลักการบริหาร ภาวะผู น้ า
การคิ ด อย่ า งเป็ นระบบ วัฒ นธรรมองค์ก ร มนุ ษ ย
จรรยาบรรณ
สัม พัน ธ์ การท างานเป็ นที ม ....” ออกไหม? “การ
แก้ปญั หาเด็กพิเศษกลุ่มต่างๆ การจัดห้องเรี ยนแบบ
ต่ า งๆ การจัด การชั้ น เรี ย นของครู ต ้น แบบ การ
เตรียมการก่อนออกฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ” ควรรวม
ไว้ตรงนี้ ไหม
พ.ศ.
2552 2557 2562 2567 2572
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
การวิจยั ทางการศึกษา ทฤษฎีการวิจยั รูปแบบการ
วิจยั การออกแบบการวิจยั กระบวนการวิจยั สถิตเิ พือ่
การวิจยั การวิจยั ในชัน้ เรียน การฝึ กปฏิบตั กิ ารวิจยั
การนาเสนอผลงานวิจยั การค้นคว้า ศึกษางานวิจยั
ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู ้ การใช้
กระบวนการวิจยั ในการแก้ปญั หา การเสนอโครงการ
เพือ่ ทาวิจยั
พัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
ควรรวมเรื่อง “การสร้างหลักการและทฤษฎี
เกี่ยวกับการเรียนการสอนจากงานวิจยั ” เข้า
ไปด้วยไหม?
2552
2557 2562 2567 2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
แนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่
ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู ้ เทคโนโลยี
และสารสนเทศ การวิเคราะห์ปญั หาที่เกิดจากการใช้
นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศ แหล่งการ
เรียนรูแ้ ละเครือข่ายการเรียนรู ้ การออกแบบ การ
สร้าง การนาไปใช้ การประเมินและการปรับปรุง
นวัตกรรม
พัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
2552
ควรเพิ่ม เนื้ อหาเกี่ย วกับ “การออกแบบต ารา
เรีย น การน าเสนอเนื้ อหา สื่อ และต าราเรี ย น
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานของประเทศที่สาคัญ”
เข้าไปด้วยไหม?
2557 2562 2567 2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
ความเป็ นครู ความสาคัญของวิชาชีพครู บทบาท
หน้าที่และภาระงานของครู พัฒนาการของวิชาชีพครู
คุณลักษณะของครูท่ดี ี การสร้างทัศนคติท่ีดีต่อ
วิชาชีพครู การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพ
ความเป็ นครู การเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรูแ้ ละการ
เป็ นผูน้ าทางวิชาการ เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
จรรยาบรรณวิชาชีพครู กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
การศึกษา
พัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
2552
ควรเพิ่ม เนื้ อหา “ประวัติค รู ดีข องไทย ครู ดี
ของประเทศที่สาคัญ การสนทนาแลกเปลี่ ยน
ความคิดเห็นกับครูดี และปราชญ์ชาวบ้านหรือ
ปราชญ์ในชุมชน” เข้าไปด้วยไหม?
2557 2562 2567 2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพครู
การฝึ กปฏิบตั กิ ารวิชาชีพระหว่างเรียน และ การ
ปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
พัฒนาให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
สมรรถนะ
จรรยาบรรณ
2552
ควรเข้ม งวดกับ การคัด เลื อ กโรงเรี ย นที่ จ ะใช้เ ป็ น
สถานที่ ฝึ กสอนว่ า ต้อ งเป็ นโรงเรี ย นดี เ ด่ น มี
กฎกระทรวงว่ า ด้ว ยการเลื อ กโรงเรี ย นฝึ กสอน
ประโยชน์ท่โี รงเรียนและครูพเ่ี ลี้ยงจะได้รบั ด้วยไหม
พ.ศ.
2557 2562 2567 2572
ปฏิบตั ทิ างวิชาการอยู่เสมอ ปฏิบตั กิ จิ กรรมโดยคานึ งถึง
ผลที่จะเกิดกับผูเ้ รียน มุ่งมัน่ พัฒนาผูเ้ รียน พัฒนา
แผนการสอน พัฒนาสือ่ อยู่เสมอ จัดกิจกรรมโดยเน้น
ผลที่เกิดกับผูเ้ รียน รายงานผลการพัฒนาผูเ้ รียน เป็ น
แบบอย่าง ร่วมมือกับบุคคลในสถานศึกษา ร่วมมือกับ
ชุมชน ใช้ขอ้ มูลในการพัฒนา สร้างโอกาสให้ผูเ้ รียน
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
สมรรถนะ
จ ะ วั ด ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง ผู ้ ท่ี จ ะ
ประกอบวิชาชีพได้อย่างไร
จรรยาบรรณ
พัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
ปฏิ
บ
ต
ั
ท
ิ
างวิ
ช
าการอยู
่
เ
สมอ
ปฏิ
บ
ต
ั
ก
ิ
จ
ิ
กรรมโดยค
านึ
ง
ถึ
ง
มาตรฐานวิชาชีพครู
ผลที่จะเกิดกับผูเ้ รียน มุ่งมัน่ พัฒนาผูเ้ รียน พัฒนา
ระดับมาตรฐาน
แผนการสอน พัฒนาสือ่ อยู่เสมอ จัดกิจกรรมโดยเน้น
ผลที่เกิดกับผูเ้ รียน รายงานผลการพัฒนาผูเ้ รียน เป็ น
แบบอย่าง ร่วมมือกับบุคคลในสถานศึกษา ร่วมมือกับ
ชุมชน ใช้ขอ้ มูลในการพัฒนา สร้างโอกาสให้ผูเ้ รียน +
ความรู/้
สมรรถนะหลัก และสมรรถนะทางการ
ประสบการณ์
สมรรถนะ
สอนและการเรียนอะไรที่ตอ้ งเพิม่
จรรยาบรรณ
2552
สร้างความเป็ นเลิศ
สร้างโครงงาน สร้าง
นวั
ต
กรรม
เป็
น
ผู
น
้
า
พัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
ทางการสอน การผลิต
สือ่ ผลิต web
พ.ศ.กิจกรรมการเรียนการ
2557
2562 2567 2572 สอน ข้อสอบ
มาตรฐาน ฯลฯ
สมรรถนะหลัก- + Achievement-oriented, Servicemind, Expertise, Integrity, Teamwork,
ระดับมาตรฐาน
สมรรถนะในงาน- + Leadership, Communication
and Influence, Creativity, Flexibility, Analytical
Skills, Strategic-oriented, Technology,
ความรู/้
Performance Evaluation, Presentation
ประสบการณ์
สมรรถนะ
Skills, Organizational Awareness,
Conceptual Skills, Collaborative
จรรยาบรรณ
Skills, Change Leadership, and
Proactiveness, etc.
มาตรฐานวิชาชีพครู
พัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
มาตรฐานวิชาชีพครู
ระดับมาตรฐาน
ความรู/้
ประสบการณ์
สมรรถนะ
มีวินยั และพัฒนาตนเอง รัก ศรัทธา ซื่อสัตย์
รับผิดชอบและเป็ นสมาชิกที่ดี รักเมตตา เอาใจใส่
ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กาลังใจศิษย์ ส่งเสริมให้เรียนรู ้
ได้ทกั ษะและนิ สยั ที่ดี เป็ นแบบอย่าง ไม่ทาตนเป็ น
ปฏิปกั ษ์ต่อพัฒนาการผูเ้ รียน ให้บริการด้วยความ
จริงใจ ช่วยเหลือเกื้อกูลผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ เป็ น
ผูน้ าในการอนุ รกั ษ์ฟ้ ื นฟูทรัพยากรธรรมชาติ
พลังงาน และสิง่ แวดล้อม
จรรยาบรรณ
พัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง
2552
2557
2562
2567
2572
พ.ศ.
มี
ว
น
ิ
ย
ั
และพั
ฒ
นาตนเอง
รั
ก
ศรั
ท
ธา
ซื
อ
สั
ต
ย์
่
มาตรฐานวิชาชีพครู
รับผิดชอบและเป็ นสมาชิกที่ดี รักเมตตา เอาใจใส่
ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กาลังใจศิษย์ ส่งเสริมให้เรียนรู ้
ระดับมาตรฐาน
ได้ทกั ษะและนิ สยั ที่ดี เป็ นแบบอย่าง ไม่ทาตนเป็ น
ปฏิปกั ษ์ต่อพัฒนาการผูเ้ รียน ให้บริการด้วยความ
จริงใจ ช่วยเหลือเกื้อกูลผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ เป็ น
ความรู/้
ผูน้ าในการอนุ รกั ษ์ฟ้ ื นฟูทรัพยากรธรรมชาติ
ประสบการณ์
พลังงาน และสิง่ แวดล้อม + อะไรเพิม่ อีก
สมรรถนะ
ส่งเสริม สนับสนุ น
เสริ
ม
สร้
า
งคุ
ณ
ธรรมและ
จรรยาบรรณ
จริยธรรมในหมู่ขา้ ราชการ
และประชาชน เป็ นธรรม
พัฒนาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ไม่เอารัดเอาเปรียบ ไม่
เห็นแก่ตวั ฯลฯ
พ.ศ.
2552 2557
2562 2567 2572
นอกจากนั้น.....
ปริมาณครูท่เี ราผลิตได้แต่ละปี กเ็ กินความต้องการสูง
มาก
องค์ประกอบของระบบการผลิตครู
Input
Process
Output
จรรยาบรรณ ความรู ้ สมรรถนะ
ครูดี เก่ง รัก
วิชาชีพครู
ครูปฐมวัย ครูประถม ครู
มัธยม ครูอาชีวะ ครูพละ ฯ
Standards,
Indicators,
and Criteria
Effective?
Environment
หลักสูตร 5 ปี
30,000 คน ป.
บัณฑิตปี ละ
30,000 คน
เราไม่มีตาแหน่ งเพียงพอที่จะ
บรรจุหรือจ้างบัณฑิตครู
องค์ประกอบเหล่านี้ สัมพันธ์กนั อย่างไร?
Input
โรงเรียน ผูบ้ ริหารโรงเรียน
ครูรุ่นพี่ดี เก่ง มีความสุข
นโยบายประเทศจากัดการรับ
นักเรียนครู ให้ทนุ นักเรียนครู
เมื่อเรียนสาเร็จทุกคนมีงาน
ทา รับเฉพาะนักเรียน ดี เก่ง
รักอาชีพครู เงินเดือนสูง
บังคับให้ครูพฒั นา ฯลฯ
Process
Environment
ปี 2553 สพฐ. เกษียณอายุ
เพียง 6,424 คน ปี 2554
เพียง8,422 คน
Output
เราจะไม่ประสบความสาเร็จในการหานักเรียน
ม.๖ ที่ดี เก่ง และรักวิชาชีพครูมาสู่ระบบการ
ผลิตครู
องค์ประกอบเหล่านี้ สัมพันธ์กนั อย่างไร?
Environment
Input
นักศึกษาดี เก่ง สุข คณาจารย์
ดี เก่ง สุข หลักสูตร สถานที่
อุปกรณ์ หอพัก โรงเรียนสาธิต
ฯลฯ
Process
Standards,
Indicators,
Criteria
Output
เราจะไม่สามารถกากับดูแลให้กระบวนการผลิตมี
คุณภาพได้ โดยเฉพาะหลักสูตร ป.บัณฑิต
องค์ประกอบของระบบการผลิตครู
Environment
Input
Process
ไม่ได้รกั วิชาชีพครูแต่ตน้ และไม่ใช่
บัณฑิตชัน้ เยี่ยมของแต่ละสาขา
Output
คุณภาพ ?
หลักสูตร ป.บัณฑิตกาหนดให้นกั ศึกษาเรียน ๒๔ หน่ วยกิต
และฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพ ๑ ปี การศึกษา
Standards, Indicators, and Criteria
จากรายงานของอนุ กรรมการรับรองหลักสูตรปริญญา
และประกาศนี ยบัตรบัณฑิตทางการศึกษาพบว่า......
สถาบันการศึกษาที่จดั การศึกษาระดับ ป.บัณฑิต
ไม่สามารถจัดการศึกษาให้มีคณ
ุ ภาพสูงได้
......เร่งรัดจัดการศึกษาให้ผูเ้ รียนสาเร็จใน ๑ ปี
การศึกษา
ไม่สามารถบริหารหลักสูตรให้เป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์ท่รี ะบุไว้ในเอกสารหลักสูตรที่
ขอให้คุรุสภารับรอง
เราจะไม่สามารถพัฒนาและยกระดับมาตรฐานวิชาชีพ
ครูได้สาเร็จ และจะไม่สามารถพัฒนาวิชาชีพครูให้เป็ น
วิชาชีพชัน้ สูงตามเจตนารมณ์ของกฎหมายได้
ประกอบกับการศึกษาระบบการผลิตครูของประเทศ
ที่ประสบความสาเร็จในการพัฒนาคุณภาพครู พบ
ว่า.........
เขาเพิม่ คุณภาพบัณฑิตครูได้สาเร็จด้วยการ........
1. เลือกคนดีคนเก่งมาเรียนครูและให้หลักประกันการมีงานทาแก่
บัณฑิต
2. ใช้ระบบการผลิตแพทย์ในการผลิตครูและให้นกั เรียนครูเรียน
จากคณาจารย์ชน้ั เยี่ยม
3. ให้นกั เรียนครูฝึกสอนในโรงเรียนชัน้ เยี่ยมที่ครูในโรงเรียนทุก
คนล้วนเป็ น Master or Expert Teachers จนบัณฑิตครู
แต่ละคนกลายเป็ นครูวชิ าชีพ
4. ให้นกั เรียนครูได้ฝึกงาน ฝึ กจิต ฝึ กใจในโครงการพระราชดาริ
กับปราชญ์ชาวบ้าน และสถาบันศาสนาที่ตนนับถือ
(ต่อ)...........
5. ให้ครูมีรายได้(เงินเดือน)เพียงพอแก่การดารงตนอยู่ในสังคม
อย่างมีศกั ดิ์ศรี ขัน้ เงินเดือนน้อยขัน้ ได้เงินเดือนเต็มขัน้ เร็ว
6. พัฒนาคนเหล่านี้ ให้เป็ นครูท่มี ีคณ
ุ ภาพอย่างต่อเนื่ อง
7. สร้างระบบ สภาพแวดล้อมทางกายภาพในการทางาน และ
จัดหาอุปกรณ์และสือ่ ที่เอื้อให้ครูท่มี ีคณ
ุ ภาพทางานให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดแก่เด็ก
8. สร้างพลังอานาจ(empower)ให้แก่ครู และให้ครูได้แสดง
พลังอานาจทางการสอน
9. ยกย่อง ให้รางวัล ให้เกียรติบตั ร โล่ ฯลฯ
คณะกรรมการคุรุสภาจึงมีมติเมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๓
๑) ให้ปรับปรุงมาตรฐานวิชาชีพครู
๒) ให้ใช้คะแนนผลการสอบเป็ นเกณฑ์ในการชี้วดั ความรูต้ าม
มาตรฐานในการขอขึ้นทะเบียนใบอนุ ญาต
๓) ให้ยกเลิกการให้การรับรองประกาศนี ยบัตรบัณฑิตทัง้ หมดที่ครุ ุ
สภาเคยให้การรับรองเพือ่ ใช้ในการขอรับใบอนุ ญาตประกอบ
วิชาชีพไปแล้ว
๔) มติคณะกรรมการย่อมไม่มีผลย้อนหลัง
๕) ในกรณี จาเป็ น หน่ วยงานทัง้ หลายอาจขอให้ครุ ุสภาให้การ
รับรองประกาศนี ยบัตรบัณฑิตเป็ นโครงการๆ ไป
๖) คุรุสภาจะนามติดงั กล่าวไปประกาศในราชกิจจานุ เบกษาใน
เร็ววันเพือ่ ให้มีผลบังคับใช้ และจะมีหนังสือแจ้งหน่ วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง ทราบและถือปฏิบตั ิต่อไป
จากมติดงั กล่าว.....
มาตรฐานวิชาชีพของครูแต่ละกลุม่
จะเปลีย่ นไป ใบอนุ ญาตที่ครูแต่ละ
คนแต่ละกลุม่ ถือจะสอดคล้องกับ
มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์
สมรรถนะ และจรรยาบรรณของเขา
ใบอนุ ญาต ...จะสะท้อนความรูแ้ ละประสบการณ์
สมรรถนะ และจรรยาบรรณของผูถ้ อื .... และให้
หลักประกันแก่ผูร้ บั บริการว่า ครูท่มี ีใบอนุ ญาต
สามารถให้บริการที่มีคณ
ุ ภาพสูงกว่า
แต่ละมาตรฐานจะมีตวั บ่งชี้และเกณฑ์บ่งบอกระดับความรู ้ สมรรถนะ
และจรรยาบรรณ
เกณฑ์บ่งบอกความรูต้ ามตัวบ่งชี้คอื คะแนนจากการสอบวัดความรูต้ ามตัวบ่งชี้ คุรุสภา
จะนาคะแนนผูเ้ ข้าสอบทุกคนในแต่ละครัง้ มาแปลงเป็ นคะแนนมาตรฐาน (Z-score)
ผูข้ อขึ้นทะเบียนใบอนุ ญาตใหม่ทกุ คนต้องเข้าสอบวัดมาตรฐาน
ความรู ้ ผูผ้ ่านเกณฑ์ขน้ั ตา่ (เช่น Z-score อยู่ในกลุม่ 84 % สูง) จึงจะ
ได้รบั ใบอนุ ญาต
ในการสอบแต่ละครัง้ .....
16 %ไม่ให้ใบอนุ ญาต
ให้ได้รบั ใบอนุ ญาต 84 %
ในระยะยาว การสอบแต่ละครัง้ .....
33 %ไม่ให้ใบอนุ ญาต
ให้ได้รบั ใบอนุ ญาต 67 %
ในระยะเริ่มแรก......
....เราจะสร้างข้อสอบตามมาตรฐานที่ใช้อยู่ในปัจจุบนั
...... เมื่อมีการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานใหม่แล้ว
เราจึงค่อยปรับข้อสอบให้สอดคล้องกับมาตรฐานใหม่
ภายหลังการสอบแต่ละครัง้
คุรุสภา กระทรวงศึกษาธิการ สานักงบประมาณ ... จะมี
ข้อมูลเกี่ยวกับผลการสอบเพื่อขอขึ้นทะเบียนใบอนุ ญาต
ของบัณฑิตครู (%) จากคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แต่
ละแห่ง
เราจะรูว้ ่าคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยใดผลิตครูปฐมวัยได้ตาม
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์มากที่สดุ (%) ของแห่งใดผลิตครูภาษาไทย เคมี
.... ได้ตามมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์มากที่สดุ
......ในที่สดุ เราก็จะเสนอข้อมูลไปยังรัฐบาลว่าควรจะให้ มหาวิทยาลัย A,
B, C, .. 18-19 แห่งนี้ ผลิตครูปฐมวัยให้กบั ประเทศ
...... ให้มหาวิทยาลัย P, Q, R, S, …. 22-23 แห่งนี้ ผลิตครูภาษาไทย
ให้กบั ประเทศ
...... โดยเลือกให้มีมหาวิทยาลัยที่ผลิตบัณฑิตครูสาขาต่างๆกระจายอยู่ทกุ
ภูมิภาคของประเทศ
ฯลฯ
ระบบการผลิตครูและบุคลากร
ทางการศึกษาในอนาคต......
....จะเป็ นระบบปิ ด ผลิตตามจานวนที่เราจะใช้ ผูส้ าเร็จการศึกษา
สาขาครุศาสตร์ทกุ คนจะมีงานทา มีรายได้เพียงพอแก่การดารงตน
ในสังคมอย่างมีศกั ดิ์ศรี
...... ผูส้ าเร็จชัน้ ม.๖ ที่พลาดจากการสอบเข้าเรียนครู ก็
อาจไปเรียนต่อในสาขาแพทย์ วิศวกรรม ธุรกิจการท่องเที่ยว
บัญชี เศรษฐศาสตร์ การบริหารธุรกิจ นิ เทศศาสตร์ หรือ
อืน่ ๆ
.... ประเทศไทยก็จะได้แต่คนดี คนเก่ง คนรัก
วิชาชีพครูมาเป็ นครู
.........คนไทยก็จะเป็ นคนดี เก่ง และมี
ความสุข เพราะได้เรียนกับครูท่ดี ี เก่ง และรักวิชาชีพ
แล้วพวกเราชาวครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์กจ็ ะ
เปลีย่ นประเทศได้สาเร็จ
เราจะปรับข้อสอบ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์บ่ง
บอกความรู ้ สมรรถนะ และจรรยาบรรณของผู ้
ประกอบวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่ อง
ใครจะมาช่วยเราปรับ .......
ใครจะมาช่วยเราสร้างข้อสอบ.......
ในระยะใกล้ อีก 4 ปี จากนี้ ไป (พ.ศ. ๒๕๕๗) .....
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ของเราจะแยกเป็ นมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์สาหรับครูปฐมวัย ครูประถมศึกษา และครูเฉพาะ
วิชา
โรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่อาจมีครูเฉพาะวิชาได้
อีก 4 ปี จากนี้ ไป (พ.ศ. ๒๕๕๗) ใบอนุ ญาตของเราจะแยกเป็ น
๑. ใบอนุ ญาตครูปฐมวัย
๒. ใบอนุ ญาตครูประถมศึกษา
๓. ใบอนุ ญาตครูฟิสิกส์ ....
๔. ใบอนุ ญาตครูช่างกล ....
๕. ใบอนุ ญาตครูนาฏศิลป์ ....
๖. ใบอนุ ญาตครูพละ ....
ฯลฯ
ครู ๑ คน อาจมีใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพมากกว่า ๑ ใบ
ขึ้นอยู่กบั ความรูแ้ ละประสบการณ์ สมรรถนะ และจรรยาบรรณของ
เขา
ในทานองเดียวกัน.......
เราจะปรับมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์บ่งบอก
ความรู ้ สมรรถนะ และจรรยาบรรณของผู ้
ประกอบวิชาชีพผูบ้ ริหารสถานศึกษา ผูบ้ ริหาร
การศึกษา และศึกษานิ เทศก์แต่ละกลุ่มเช่นกัน
มาตรฐานความรู ้ สมรรถนะ และจรรยาบรรณ
ของผูป้ ระกอบวิชาชีพครู จะสูงขึ้น ...... คุณภาพ
ของครู จะสูงขึ้น
.....คุณภาพคนไทยก็จะสูงขึ้น
Our globe – 192 UN member countries
7
3
9 6
4
THAILAND
8
3
1
10 2
2030 World competitive nations
5
1. Economic Performance- domestic economy, international trade, international investment,
employment, price
2. Government Efficiency- public finance, fiscal policy, institutional framework, business legislation,
societal framework
3. Business Efficiency- productivity, labor market, financial infrastructure, management practices,
attitudes and values
4. Infrastructure- basic infrastructure, technological infrastructure, scientific infrastructure, health
and environment, education
.... คุรุสภา จึงใคร่ขอเรียนเชิญสถาบันอุดมศึกษา
ทัง้ หลาย ได้โปรดมาร่วมมือกันเปลีย่ นแปลงประเทศไทยของ
พวกเรา.......เถอะครับ
ขอบคุณ