ลงลิฟท์ กลับมาทบทวน บันไดขัน้ ที่ 1 เพื่อค ุณภาพ อย่างยัง่ ยืน ธวัช ชาญชญานนท์และคณะ สาหรับอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ การทบทวนบันไดขัน้ ที่หนึ่ ง 6 มีนาคม 2552

Download Report

Transcript ลงลิฟท์ กลับมาทบทวน บันไดขัน้ ที่ 1 เพื่อค ุณภาพ อย่างยัง่ ยืน ธวัช ชาญชญานนท์และคณะ สาหรับอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ การทบทวนบันไดขัน้ ที่หนึ่ ง 6 มีนาคม 2552

ลงลิฟท์ กลับมาทบทวน
บันไดขัน้ ที่ 1 เพื่อค ุณภาพ
อย่างยัง่ ยืน
ธวัช ชาญชญานนท์และคณะ
สาหรับอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ การทบทวนบันไดขัน้ ที่หนึ่ ง
6 มีนาคม 2552
1
การรับรองเป็นเพียงแรงจูงใจ
และให้กาลังใจแก่การทาดี
ค ุณค่าที่แท้จริงอยูท่ ี่ค ุณภาพ
และความปลอดภัยที่ให้แก่ผป้ ู ่ วย
2
การพัฒนาค ุณภาพที่
ง่าย มัน ดี และมีความส ุข
3
สบายๆ ตามบันไดสามขัน้
ขัน้ แรก ไฟลุกตรงไหน ตามไปดูตรงนัน้ กันอย่าให้เกิดซา้
ขัน้ สอง มองงานของตนเอง หาเป้ า เฝ้ าดู ทาให้บรรลุเป้ า
ขัน้ สาม มองมาตรฐาน เชื่อมโยง ประเมินผล เรียนรู้ ยกระดับ
ก้าวแรกที่เข้าใจ ก้าวต่อไปก็ไม่ใช่เรื่องยาก
4
ลักษณะของการพัฒนาในบันไดขัน้ ที่ 2
• เปลี่ยนจากการตัง้ รับปัญหา มาสู่การวิเคราะห์และวางระบบที่ดี
• มุ่งเน้ นการวางระบบ ป้ องกันความเสี่ยง และการพัฒนา
ต่อเนื่ อง เพื่อตอบสนองต่อเป้ าหมายและบริบทของหน่ วยงาน
• กาหนดเครื่องชี้วดั สาคัญเพื่อติดตามการบรรลุเป้ าหมาย
• มีการนามาตรฐาน HA ที่จาเป็ นมาสู่การปฏิบตั ิ
• ทบทวนคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง และเชื่อมต่อกับระบบงานสาคัญ
5
เกณฑ์การตัดสิน บันไดขัน้ ที่ 2
• การทบทวนคุณภาพ
– ทบทวนอย่างต่อเนื่ อง และเชื่อมต่อกับระบบงานที่สาคัญ
• การวิเคราะห์โอกาสพัฒนา และการปรับปรุง
– ทุกหน่ วยงานและทีมสหสาขาวิชาชีพ (PCT) วิเคราะห์ unit/team profile
– การวิเคราะห์นาไปสู่การกาหนดลาดับความสาคัญในการพัฒนาที่ตรงประเด็น
และเครื่องชี้วดั ที่เหมาะสม
– มีการปรับปรุงตามโอกาสพัฒนาที่วิเคราะห์ได้ และครอบคลุมประเด็นที่มีสาคัญ
สูง, มีการทบทวนโอกาสพัฒนา, มีความเข้าใจและการปฏิบตั ิ ในหน่ วยงานหลัก
ที่สาคัญ
• การพัฒนาตามมาตรฐาน HA
– มีกระบวนการที่ดี, ครอบคลุมประเด็นสาคัญ, มีโอกาสที่จะนาไปสู่ผลลัพธ์ตาม
เป้ าหมายของมาตรฐาน, แกนหลักมีความเข้าใจ
6
เกณฑ์การตัดสิน บันไดขัน้ ที่ 2
• การใช้ core value & concept
– มีการกาหนดความคาดหวังที่ชดั เจน, แกนนาสามารถอธิบายและ
ยกตัวอย่างการนาไปปฏิบตั ิ ได้
– ทิศทางนา: เด่นชัดในผูน้ าระดับสูง
– ผูร้ บั ผล: ตอบสนองความต้องการที่สาคัญ
– คนทางาน: มีการทางานเป็ นทีมภายในหน่ วยงาน/วิชาชีพ
– การพัฒนา: ประยุกต์ใช้เครื่องมือและเทคนิคได้เหมาะสมกับปัญหา
– พาเรียนรู้: เรียนรู้และพัฒนา
– แนวคิดง่ายๆ
• ทางานประจาให้ดี มีอะไรให้คยุ กัน ขยันทบทวน
• เป้ าหมายชัด วัดผลได้ ให้คณ
ุ ค่า อย่ายึดติด
7
ลักษณะของการพัฒนาในบันไดขัน้ ที่ 3
•
•
•
•
•
มีการนามาตรฐาน HA ที่มาสู่การปฏิบตั ิ อย่างครบถ้วน
มีการเชื่อมโยง การใช้นวตกรรม
มีการประเมินผล เรียนรู้ และพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง
แสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึน้ หรือการบรรลุเป้ าหมายขององค์กร
มีวฒ
ั นธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้
8
จากสิ่งที่เรียบง่ายในธรรมชาติ
การตอบสนอง
สิ่งเร้า
9
สู่ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์
ตอบสนอง
ทบทวน
เรียนรู้
สิ่งเร้า
ปรับปรุง
10
และระบบที่ซบั ซ้อนขององค์กร
แนวคิด/หลักการ
สิ่งเร้า/บริบท
แนวทาง/ตัวอย่าง
การตอบสนอง
การออกแบบ
การเรียนรู้
การปรับปรุง
11
แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ
สิ่งที่กากับอยู่ในใจ
Core Value & Concept
ภูมิหลังของเรา
Plan
Context Objective/Indicator Design
เข็มทิศเดินทาง
Standard/Criteria
Customer & needs
Capability & limitation
Challenges
Do
Action
Units
Systems
Patient Pop.
HPH
Study
Learning
Improvement
Act
12
การทบทวนในบันไดขัน้ ที่ 1
แนวคิด/หลักการ
Risk & Safety
Teamwork
Customer
ตอบสนอง
ทบทวน
เรียนรู้
เหตุการณ์
แนวทาง/ตัวอย่าง
ปรับปรุง
13
แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ
สิ่งที่กากับอยู่ในใจ
Core Value & Concept
โลกที่เป็ นจริง
Context
เข็มทิศเดินทาง
Standard/Criteria
Action
Design
Units
Systems
Patient Pop.
HPH
Learning
Improvement
14
Core Values & Concept
Patient Focus
Focus on Health
Community Responsibility
Value on Staff
Individual Commitment
Teamwork
Ethic & Professional Standard
Creativity & Innovation
Management by Fact
Continuous Process Improvement
Focus on Results
Evidence-based Approach
Visionary Leadership
System Perspective
Agility
ทิศทางนา
ผูร้ บั ผล
คนทางาน
การพัฒนา
พาเรียนรู้
Learning
Empowerment
15
Core Values & Concept in Clinical Tracer
Patient Focus
Focus on Health
Community Responsibility
Value on Staff
Individual Commitment
Teamwork
Ethic & Professional Standard
Creativity & Innovation
Management by Fact
Continuous Process Improvement
Focus on Results
Evidence-based Approach
Visionary Leadership
System Perspective
Agility
ทิศทางนา
ผูร้ บั ผล
คนทางาน
การพัฒนา
พาเรียนรู้
Learning
Empowerment
16
หลักง่ายๆ ช ุดที่หนึ่ง (งานประจา)
• ทางานประจาให้ดี (Commitment)
• มีอะไรให้คยุ กัน (Team Work)
• ขยันทบทวน (Learning, Continuous
Improvement)
17
หลักง่ายๆ ช ุดที่สอง (การพัฒนา)
• เป้ าหมายชัด (Visionary Leadership)
• วัดผลได้ (Focus on result, Management by Fact)
– วัดตรงประเด็น อย่าให้เป็ นภาระ
• ให้คณ
ุ ค่า (Focus on Patient, Focus on Health)
• อย่ายึดติด (Creativity & Innovation, Agility)
– อย่าติดรูปแบบ
– ลอกเลียนได้ แต่ต้องปรับให้เข้ากับของเรา
– ไม่เลือกบุคคล สถานที่ เวลา
18
เป้าหมายชัด
• เป้ าหมายทาให้งาน “ว้า น่ าเบือ่ ” เป็ นงาน “ว้าว”
• เป้ าหมายมีได้ในทุกเรือ่ ง ทุกระดับ
• เป้ าหมายหาได้เพียงถามว่า “ทาไปทาไม”
– ทาไมต้องมีคลินิกเบาหวาน
– ทาไมต้องตรวจตลาด
– ทาไมต้องกวาดล้างยุงลาย
• ต่อจากเป้ าหมายคือการถามว่า “แล้วทาตาม
เป้ าหมายได้ผลดีเพียงใด”
19
วัด (ประเมิน) ผลได้
• การประเมินที่ตรงประเด็น คือประเมิน
เปรียบเทียบกับเป้ าหมาย
• การประเมินที่ไม่เป็ นภาระคืออย่ารีบกระโดดไป
หาตัวชี้วดั
• การประเมินด้วยวิธีการเชิงคุณภาพเป็ นเรื่องที่
ทาได้ง่าย ทาให้เห็นประเด็นได้ครอบคลุม
20
ประเด็นสาคัญ
จุดแข็งจุดอ่อน
จัดลาดับความสาคัญ
ประเมินด้วยความรส้ ู ึก
แปลงความรูส้ ึกเป็นคะแนน
เลือกบางเรือ่ งมาติดตามตัวชี้วดั
21
ประเด็นสาคัญ
Psychosocial Support
ARV continuity
OI Prevention
Concern/จุดแข็งจุดอ่อน
จัดลาดับความสาคัญ
+ การรวมกลุม่ self help group
- การยอมรับของครอบครัว/ชุมชน
- มีบางคนยังไม่ยอมเข้าร่วมกลุม่
+ การรวมกลุม่ self help group
- การยอมรับของครอบครัว/ชุมชน
- มีบางคนยังไม่ยอมเข้าร่วมกลุม่
ประมาณว่ามีครอบครัวอยูใ่ นแต่ละระดับเป็ นสัดส่วนเท่าใด
ประเมินด้วยความรส้ ู ึก
ระดับการยอมรับและช่วยเหลือของครอบครัว
1. ทอดทิง้ ไปเลย
2. อยูร่ ะหว่างการทาใจ
3. ยอมรับ แต่ขาดศักยภาพ
4. มีสว่ นร่วมอย่างแข็งขัน
แปลงความรูส้ ึกเป็นคะแนน
เลือกบางเรือ่ งมาติดตามตัวชี้วดั
22
ประเมิน HP ในช ุมชน
• ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน
– เมินเฉย (Ignorance)
– ให้ทาอะไรก็ทา (Passive)
– ค้นหาตัวเอง
– คิดเอง ทาเอง (Proactive)
• มีสดั ส่วนของชุมชนในแต่ละกลุ่มเท่าไร
• จะเลือกทาอะไร กับชุมชนใด
23
ให้ค ุณค่า: การให้ขอ้ มูลแก่ผป้ ู ่ วย
• สถานการณ์ “ผูป้ ่ วยเป็ นเบาหวานและไตวาย แพทย์
สังอาหารเบาหวานและลดเค็
่
ม”
• พยาบาลวางแผนให้สขุ ศึกษาเรื่อง “ลดอาหารเค็มจัด”
• คาถามเพื่อตรวจสอบการทางาน
– สิ่งที่สอนนัน้ จะเกิดผลในทางปฏิบตั ิ หรือไม่?
– ถ้าไม่ได้ มีข้อจากัดอะไร จะร่วมกันหาทางออกอย่างไร?
– ผูป้ ่ วยจะรู้ได้อย่างไรว่าปฏิบตั ิ ได้ในระดับที่เหมาะสม?
24
ไม่เลือก บ ุคคล สถานที่ เวลา
ค ุณภาพและค ุณค่าในท ุกลมหายใจ
• Lab สามารถทาอะไรได้บา้ งในระหว่างเจาะเลือดผูป้ ่ วย DM
• คุยกับผูป้ ่ วย
–
–
–
–
“ครัง้ ที่แล้วผลน้าตาลเป็ นอย่างไร”
“ค่าที่ได้มีความหมายว่าอย่างไร”
“คุณหมอ/พยาบาลแนะนาว่าอย่างไร”
“ทาได้ตามที่แนะนาหรือเปล่า”
• Feedback ข้อมูลสาคัญกลับไปให้แพทย์/พยาบาล
• เล่าเรื่องสนุกๆ ให้ผปู้ ่ วยฟัง
– เจ้าตัวคือผูค้ วบคุมระดับน้าตาลในเลือด
– ความสัมพันธ์ระหว่างอาหาร การออกกาลัง กับ น้าตาล
25
แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ
สิ่งที่กากับอยู่ในใจ
Core Value & Concept
โลกที่เป็ นจริง
Context
เข็มทิศเดินทาง
Standard/Criteria
Action
Design
Units
Systems
Patient Pop.
HPH
Learning
Improvement
26
บริบทของโรงพยาบาลช ุมชน
• ลักษณะของ รพ.ชุมชน (ที่แตกต่างจาก รพ.ระดับอืน่ )
• ลักษณะเฉพาะของ รพ. แต่ละแห่ง
– เป้ าหมายสาคัญ/ปัญหาท้าทายที่โรงพยาบาลต้องเผชิญ
– ข้อจากัด
– โรคที่เป็ นปัญหาสาคัญในพื้นที่ โรคที่เป็ นโอกาสพัฒนา
– ผูป้ ่ วย/ผูร้ บั ผลงานสาคัญ ความต้องการของแต่ละกลุม่ ความซับซ้อน
ของผูป้ ่ วย
– ลักษณะโดยรวมของบุคลากร อายุ ความรู ้ ความเชี่ยวชาญ
– สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม เครือข่าย การมีสว่ นร่วม
– อืน่ ๆ
• จากบริบทที่วเิ คราะห์ได้แต่ละประเด็น ทาให้เห็นจุดที่ควรใส่ใจใน
เรื่องคุณภาพอะไรบ้าง
27
ทบทวนคุณค่าของการทบทวน
ความรส้ ู ึกต่อการทบทวน
?
ปัญหาในการทบทวน
วิธีการสร้างสรรค์ที่นามาใช้
ค ุณค่าของการทบทวน
28
ลดภาระในการทบทวนของแต่ละหน่ วย
รวมทัง้ รพ.
ทัง้ ระดับ รพ. และ
ระดับหน่ วย
ทาในแต่ละ
หน่ วย
1. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย
2. การทบทวนความคิ ดเห็น/คาร้องเรียนของผูร้ บั บริ การ
3. การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชานาญกว่า
5. การค้นหาและป้ องกันความเสี่ยง
6. การเฝ้ าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
7. การเฝ้ าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา
8. การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สาคัญ
9. การทบทวนความสมบูรณ์ของเวชระเบียน
10. การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการ
11. การทบทวนการใช้ทรัพยากร
12. การติดตามเครื่องชี้วดั สาคัญ
29
นาเหตุการณ์ /อุบตั ิ การณ์มาเล่าสู่กนั ฟั ง
เหตุการณ์
Root cause
ระบบที่เกี่ยวข้อง
ความคาดหวังต่อระบบที่ดี
30
จุดพลังและสร้างคุณค่า
ยกตัวอย่างร ูปธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
หาวิธีการทาให้ดียงิ่ ขึ้น
?
ระบ ุประเด็นที่ยงั ไม่เห็นทางออก
31
จากบทเรียนของบุคคล
ไปสูก่ ลุ่มและองค์กร
ทางาน
เอาความรู้ฝังเข้าไป
ในงานและบริการ
เรียนรู้
แลกเปลี่ยน
สรุปบทเรียน
เก็บลงฐานข้อมูล
ทาสื่อเรียนรู้
ขยายการเรียนรู้
32
หัวหน้าพาทา
ถามตนเองท ุกวัน
ทาไมเรายังต้องพัฒนาคุณภาพ
วันพรุ่งนี้ ตัวเราเองจะทาอะไรให้ดีขึน้
จะทาให้งานของเราง่ายขึน้ ได้อย่างไร
จะช่วยให้เพื่อนของเราทางานได้ง่ายขึน้ อย่างไร
จะทาให้ลกู ค้าของเราได้รบั คุณค่ามากขึน้ ได้อย่างไร
เราทาหน้ าที่ตามเป้ าหมายของหน่ วยงานและองค์กรได้สมบูรณ์ หรือยัง
33
ทบทวนการ
ด ูแลรักษา
หาโอกาสสอดแทรก
การสร้างเสริมส ุขภาพ
C3THER
จากทาให้ สู่ช่วยให้ทาเองได้
Empower ผูป้ ่ วยและครอบครัว
พิจารณาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต
ป้ องกันมิให้เป็ นซา้ ป้ องกันสาหรับคนอื่น
ต่อเชื่อมกับกิจกรรมในชุมชน
Holistic
Empowerment
Lifestyle
Prevention
34
ทากิจกรรม
ตามนโยบาย
กาหนดกลุ่มเป้ าหมายที่ชดั เจน
กาหนดผลลัพธ์ที่ต้องการ
ติดตามวัด ประเมินผล
ปรับปรุงให้ได้ผล
ทางานนโยบาย
ให้มีค ุณภาพ
-พฤติกรรม
-การดูแลตนเอง
-ผลลัพธ์สขุ ภาพ
35
ทาเพราะถ ูกสัง่
ทาจากแรง
กระตน้ ุ ภายใน
ไม่สงก็
ั ่ ทา
ไม่มีคนอื่นทา ก็ทาคนเดียว
ทาจนเป็ นความเคยชิน
ทาจนความคิดและพฤติกรรมเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึน้
ชวนกันทามากขึน้
36
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? หัวใจสาคัญของการทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วยคืออะไร
เพิม่ ความไวในการค้นหาปัญหาของผูป้ ่ วย
ตอบสนอง/แก้ปญั หาของผูป้ ่ วยในทันที
เรียนรูจ้ ากสิง่ ที่ผูป้ ่ วยแต่ละคนหยิบยื่นให้
เรียนรูจ้ ากมุมมองของวิชาชีพอืน่
เห็นประเด็นที่จะนาไปปรับปรุงระบบงาน
37
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? ท ุกหน่วยงานจะต้องทบทวนเรือ่ งนี้หรือไม่
- หน่ วยงานที่จะได้ประโยชน์จากการทบทวนนี้ มากที่สุด
คือ หอผูป้ ่ วย หรือ ห้องสังเกตอาการ
ซึ่งมีระยะเวลาสัมผัสกับผูป้ ่ วยนานพอ
- หน่ วยงานอืน่ ๆ อาจจะประยุกต์แนวคิดนี้ ไปใช้ได้
- หน่ วยงานเช่น OPD, ER, ทันตกรรม มีวธิ กี ารอืน่ ที่
ให้ประโยชน์ เช่น Trauma Audit,
Retrospective Review
38
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? จะต้องทบทวนให้ครบ C3THER ท ุกครัง้ หรือไม่
- C3THER เป็ นเพียงเครื่องเตือนใจเพือ่ ความครบถ้วน
ในการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานวิชาชีพ
- ในขัน้ ฝึ กปฏิบตั ิ ควรทบทวนให้ครบทุกประเด็น
- เมื่อเข้าใจเป้ าหมายและมีทกั ษะในการมองปัญหาดีแล้ว
อาจจะเลือกทบทวนเฉพาะประเด็นสาคัญของผูป้ ่ วยแต่ละราย
- เมื่อคล่องแล้ว อาจจะใช้สูตรเตือนใจอืน่ ๆ ก็ได้
39
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? จาเป็นต้องทบทวนโดยทีมสหสาขาวิชาชีพหรือไม่
- ทีมสหสาขาวิชาชีพ ช่วยให้เกิดมุมมองที่หลากหลาย และช่วยใน
การประสานแผนการดูแลผูป้ ่ วย มีความจาเป็ นในผูป้ ่ วยที่ซบั ซ้อน
- การรอทบทวนโดยทีมสหสาขาวิชาชีพเพียงอย่างเดียว อาจจะทาให้
เสียโอกาสในการเรียนรูจ้ ากผูป้ ่ วย
- แนะนาให้ทบทวนในทุกโอกาสที่เป็ นไปได้ เมื่อมีเวลาว่าง, หรือ
ระหว่างที่ให้การดูแล/รักษา/พยาบาลผูป้ ่ วย จะเป็ นโดยคนคนเดียว
หรือร่วมกับเพื่อนก็ได้
40
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? ควรทบทวนบ่อยเพียงใด
- ทุกคนที่ข้ ึนทางานกับผูป้ ่ วย ควรฝึ กทบทวนในทุกโอกาสที่ทา
ได้ ไม่ตอ้ งรอคนอืน่ สามารถทาได้ทกุ วัน
- การทบทวนร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ควรทบทวนทุก
สัปดาห์ ถ้าเป็ นไปได้
- ในการตรวจเยี่ยมผูป้ ่ วยร่วมกันระหว่างแพทย์กบั พยาบาล ก็
สามารถฝึ กซ้อมการทบทวนในบางประเด็นที่สงั เกตเห็นได้
41
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? จะบันทึกข้อมูลอย่างไร
- R คือส่วนหนึ่ งของการทบทวนเวชระเบียน ถ้าเวชระเบียนไม่
สมบูรณ์ ก็ควรบันทึกข้อมูลเพิม่ เติมให้สมบูรณ์
- ถ้าการทบทวนพบปัญหาบางอย่างที่มองข้ามไป ก็ควรบันทึกสิง่ ที่
พบเห็นและการดูแลผูป้ ่ วยที่เพิม่ เติมขึ้นมานั้นในเวชระเบียน
- อาจพบว่าบางกรณี มีความน่ าสนใจที่ควรบันทึกไว้เรียนรูใ้ น
อนาคต ก็ควรจดบันทึกไว้ต่างหาก หากยินดีเผื่อแผ่ให้เพือ่ นๆ
ในโรงพยาบาลอืน่ ได้รบั รู ้ พรพ.ก็พร้อมที่จะเป็ นตัวกลางให้
42
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? จะเชื่อมโยงกับเรือ่ งความเสี่ยงทางคลินิกอย่างไร
- การพิจารณาว่าผูป้ ่ วยรายนั้นมีความเสีย่ งต่อการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนอะไร มีอะไรที่เราละเลยไป คือการค้นหาความ
เสีย่ งทางคลินิก
- การที่เราตอบสนองต่อความเสีย่ งที่คน้ พบ คือการจัดการกับ
ความเสีย่ งเพือ่ ป้ องกันผลที่ไม่พงึ ประสงค์
- ข้อมูลที่พบเหล่านี้ จะเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งในการป้ องกัน
ความเสีย่ งสาหรับผูป้ ่ วยที่มีลกั ษณะคล้ายกัน
43
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? ถ้าไม่มีการบันทึกข้อมูลการทบทวนต่างหาก จะ
รวบรวมความเสี่ยงทางคลินิกอย่างไรให้ครบถ้วน
- การบันทึกข้อมูลสรุปความเสีย่ งที่พบไว้อย่างง่ายๆ จะช่วยให้การ
วิเคราะห์ความเสีย่ งทางคลินิกทาได้งา่ ยและครบถ้วนมากขึ้น
-มีวธิ ีการอืน่ ๆ ที่เราสามารถระบุความเสีย่ งทางคลินิกได้
- ทบทวนจากประสบการณ์ของทีมงาน
- ตรวจเยี่ยมเพือ่ ค้นหาความเสีย่ งเป็ นการเฉพาะ
- ทบทวนจากเวชระเบียน
- รวบรวมจากรายงานอุบตั ิการณ์
- วิเคราะห์จาก flow chart ในการดูแลโรคนั้น
44
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? ผูป้ ระเมินจะทราบอย่างไรว่า รพ. มีการทบทวน
- ดูเวชระเบียน เห็นบันทึกการดูแลที่ครอบคลุม
- ถามทีมงาน ได้รบั บทเรียนอะไรจากการทบทวน การ
ทบทวนนามาสูก่ ารปรับปรุงที่สาคัญอะไรบ้าง
- ดูผูป้ ่ วยที่น่าสนใจ ทีมงานเห็นประเด็นที่ควรจะเห็น
หรือไม่
45
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? การทา M&M Conference ใช้แทนได้หรือไม่
- M&M Conference เทียบได้กบั การทบทวน
อุบตั กิ ารณ์ท่รี ุนแรง ซึ่งนานๆ ครัง้ จะเกิดขึ้น
- M&M Conference เป็ นการทบทวนหลังจากเกิด
เหตุการณ์ท่ไี ม่พงึ ประสงค์แล้ว มิใช่การทบทวนระหว่าง
การดูแลผูป้ ่ วย
46
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? จาเป็นหรือไม่ที่ตอ้ งทบทวนข้างเตียงผูป้ ่ วย
- การดูผูป้ ่ วยที่ขา้ งเตียง จะได้รบั ข้อมูลมากกว่าการรับฟัง
การนาเสนอในห้องประชุม
- การอภิปรายในทีม ไม่ควรกระทาที่ขา้ งเตียงผูป้ ่ วย
- อย่าหลงประเด็นสับสนกับการทา Journal Club ซึ่ง
เป็ นการทบทวนความรูท้ างวิชาการที่ควรทา แต่ไม่ควรดึง
ทีมออกมาจากการดูสภาพจริงที่ตวั ผูป้ ่ วย
47
การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วย (C3THER)
? คาดหวังว่าจะต้องนาผลการทบทวนไปใช้แค่ไหน
ปรับปรุงการดูแลผูป้ ่ วยรายนั้นทันที
ปรับปรุงระบบงานที่เกี่ยวข้อง
สือ่ สารให้ผูเ้ กี่ยวข้องเข้าใจเหตุผลของการปรับระบบงาน
จัดระบบที่จะให้มีการเรียนรูร้ ่วมกันในอนาคต
ทุกคนมีความไวมากขึ้นในการตรวจจับปัญหา
48
จุดพลังและสร้างคุณค่า
ยกตัวอย่างร ูปธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
หาวิธีการทาให้ดียงิ่ ขึ้น
?
ระบ ุประเด็นที่ยงั ไม่เห็นทางออก
49
ทบทวน
วางระบบ
จากคอยไล่ดบั ไฟ สู่การป้ องกันไฟ
จากการแก้ไขเป็ นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย
50
ระบบคืออะไร
ที่รวมขององค์ประกอบหรือส่วนย่อยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกัน
มีปฏิสมั พันธ์และส่งผลต่อกัน (mutual interaction)
ส่งผลให้
-เกิดปรากฏการณ์บางอย่าง
-เกิดพฤติกรรมบางอย่าง
-นาไปสูเ่ ป้ าหมายบางอย่าง
51
ระบบต้องมีอะไรบ้าง
Purpose
(เป้ าหมาย)
Environment (สิ่งแวดล้อม)
WHAT
WHY
ส่วนย่อย 4
ส่วนย่อย 1
Input
ส่วนย่อย 3
ส่วนย่อย 2
Feedback WHO
(สะท้อนกลับ)
WHEN
HOW
Output
ส่วนย่อย 5
Boundary (ขอบเขต)
WHERE
52
53
เหตุผล – ความรู้สึก
ศาสตร์ - ศิลป์
Whole System
วัตถุ – จิตวิญญาณ
มองเรือ่ งราวทุกแง่มมุ
เรือ่ งเล็ก – เรือ่ งใหญ่
สิ่งที่เรารู้สึก – สิ่งที่เราคิด
สิ่งที่เรารับรู้ – สิ่งที่เราจินตนาการ
สิ่งที่สมั ผัสได้ – สิ่งที่สมั ผัสไม่ได้
วิทยาศาสตร์ - ศิลปศาสตร์
ความเชื่อ - ข้อเท็จจริง
เหตุ - ผล
บริบท - เนื้ อหา
54
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
ระบบที่เกี่ยวข้องกับการทบทวน
Work System 1
Work System 2
Organization
factor
Work System 3
event
Review System
55
จากหนึ่ งเหตุการณ์ สู่การมองระบบ
• นอกเหนื อจากเหตุการณ์นี้แล้ว มีอะไรอีกที่จะทาให้เกิดผล
กระทบต่อ คุณภาพ ความปลอดภัย ความเชื่อมัน่ ชื่อเสียง
ของโรงพยาบาล
• ในบรรดาเหตุการณ์ทงั ้ หลายเหล่านัน้ มีความสาคัญแตกต่าง
กันอย่างไร
• โรงพยาบาลสามารถจัดการกับโอกาสเกิดเหตุการณ์เหล่านัน้
ได้ดีเพียงใด ครอบคลุมเพียงใด
• เรื่องที่มีความสาคัญสูงๆ ไปเกี่ยวข้องกับระบบงานสาคัญ
อะไรบ้าง มันใจหรื
่
อทราบได้อย่างไรว่าระบบงานดังกล่าวมี
ส่วนต่อการป้ องกันปัญหาอย่างได้ผล
56
ความสัมพันธ์ระหว่างการทบทวนกับการวางระบบ
การทบทวนคาร้องเรียน/ข้อคิดเห็น
Complaint Management System
การทบทวนการส่งต่อ/การตรวจรักษาโดยผู้ชานาญ
Competency Management System
การค้นหาความเสี่ยง, การทบทวนอุบตั ิ การณ์
Adverse Event/Risk Management System
การทบทวนการติดเชื้อในโรงพยาบาล
Infection Control System
การทบทวนความคลาดเคลื่อนทางยา
Drug Management System
การทบทวนเวชระเบียน
Medical Record System
การทบทวนการใช้ทรัพยากร
Resource Management System (UR)
การทบทวนเครื่องชี้วดั
Measurement & Monitoring System
การทบทวนข้างเตียงผู้ป่วย (C3THER)
Patient care system / nursing process
การทบทวนการใช้ความรูท้ างวิชาการ
Clinical CQI
57
จากการทบทวนสู่การวางระบบ
What’s in it for me?
อะไรที่ทาได้ดีแล้ว ?
ตรงไหนยังเป็นจ ุดอ่อน ?
?
องค์ประกอบ
การเชื่อมต่อ
การประเมินและปรับปรุง
58
ทบทวน
คาร้องเรียน
Patient/Customer
Focus
Customer Relation Management
Complaint Management System
จากคอยไล่ดบั ไฟ สู่การป้ องกันไฟ และให้คณ
ุ ค่าแก่ผร้ ู บั ผลงาน
จากการแก้ไขเป็ นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย
59
3. การมุ่งเน้ นผูป้ ่ วย/ผูร้ บั ผลงาน
3.1 องค์กรรับรู้และเข้าใจความต้องการและความ
คาดหวังของผูป้ ่ วยและผูร้ บั ผลงานอื่นๆ เพื่อให้
มันใจว่
่ าจัดบริการที่สอดคล้องกับความต้องการทัง้
ในปัจจุบนั และสาหรับอนาคต
(1)
กาหนดกลุ่ม
วิเคราะห์ความสาคัญ
กาหนดกลุ่มทีม่ งุ่ เน้น
PLAN
b
(1)
(2)
รับฟังและเรียนรู้
เรียนรู้
-ความต้องการ
-ความคาดหวัง
นาไปใช้
-วางแผน
-ปรับปรุงบริการ
ACT
(2)
(1)
ติดตาม feed back
สร้างความสัมพันธ์
ตอบสนองความคาดหวัง
ได้รบั ความร่วมมือ
(2)
ช่องทางสื่อสาร
ขอข้อมูล
รับบริการ
เสนอแนะ
ร้องเรียน
ประเมินความพึงพอใจ
วิธกี ารวัดผล
-ได้ actionable dataCHECK
- เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละกลุ่ม
ปรับปรุง
3.2 องค์กรสร้างความสัมพันธ์กบั ผูป้ ่ วย/ผูร้ บั
ผลงาน เพื่อสร้างความเชื่อมัน่ ศรัทธา ความ
พึงพอใจ และความร่วมมือ มีการนาข้อมูล
ความพึงพอใจมาใช้ปรับปรุงการดาเนินงาน
(3)
a
จัดการคาร้องเรียน
ได้ผล
ทันท่วงที
รวบรวมวิเคราะห์ขอ้ มูล
DO
60
การทบทวนคาร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ
? หัวใจสาคัญของการทบทวนคาร้องเรียนคืออะไร
- ไวต่อการรับรูแ้ ละตอบสนองความต้องการของผูร้ บั บริการ
- การที่ผูร้ บั บริการเห็นว่าโรงพยาบาลยินดีรบั ข้อคิดเห็น
คือภูมิคมุ ้ กันสาคัญของโรงพยาบาล
61
การทบทวนคาร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ
? ประเด็นที่ควรทบทวนมีอะไรบ้าง
ทบทวนท่าทีและช่องทางในการรับข้อมูล
ทบทวนแหล่งข้อมูล
ทบทวนความสามารถในการตอบสนองต่อคาร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ
62
การทบทวนคาร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ
? ควรเก็บข้อมูลในระดับหน่วยงานหรือโรงพยาบาล
- ควรเก็บข้อมูลในทัง้ สองระดับ
- การเก็บข้อมูลระดับโรงพยาบาลช่วยลดภาระงานใน
ระดับหน่ วย
- ระดับหน่ วยจะใกล้ชิดกับผูร้ บั บริการ และสามารถ
พูดคุยอย่างไม่เป็ นทางการกับผูร้ บั บริการได้ทกุ วัน
63
การทบทวนคาร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ
? ควรทบทวนบ่อยเพียงใด
- การทบทวนเนื้ อหาในคาร้องเรียน ควรทาให้บ่อยทีส่ ดุ เพือ่ ให้
สามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว เช่น ทันทีท่ไี ด้รบั คาร้องเรียน
- การทบทวนระบบจัดการคาร้องเรียนจะบ่อยเพียงใด ขึ้นอยู่กบั
การมองเห็นโอกาสในการพัฒนา
64
การทบทวนคาร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ
? ควรเก็บข้อมูลไว้อย่างไร
ควรเก็บไว้ในรูปแบบที่สามารถนามาวิเคราะห์ให้เห็นภาพรวม
และแนวโน้มของปัญหา สามารถติดตามผลลัพธ์ของการ
ตอบสนองได้
65
การทบทวนคาร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ
? ผูป้ ่ วยไม่ชอบเขียนคาร้องเรียน จะทาอย่างไร
- เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลสามารถเขียนคาร้องเรียน/
ข้อเสนอแนะแทนผูป้ ่ วยได้
- การพูดคุย รับฟัง กับผูร้ บั บริการที่มีท่าทีไม่สบอารมณ์ จะทา
ให้ทราบปัญหาในการเข้ารับบริการ
- การพูดคุย รับฟัง กับผูร้ บั บริการที่มีท่าทีท่ดี ี จะทาให้ทราบจุด
ดีของโรงพยาบาล และข้อเสนอแนะดีๆ
66
ทบทวนการส่งต่อ/
การตรวจรักษา
โดยผูช้ านาญกว่า
Competency/Performance
Management System
จากคอยไล่ดบั ไฟ สู่การป้ องกันไฟ และยกระดับศักยภาพของบุคลากร
67
Competency/Performance Management System
WHY
WHO
เป้าหมาย: ผู้ปฏิบัตงิ านมีความรู้ และทักษะเหมาะสมกับหน้ าที่รับผิดชอบ
HR Com
HR Dep
Head
กิจกรรมทบทวน
กาหนด competency
กาหนดนโยบาย
Staff
กาหนด performace
ที่คาดหวัง
ปฏิบตั ิ หน้ าที่
WHAT
Feed back
วางแผนพัฒนา
สาหรับองค์กร
ประเมิน
วางแผนพัฒนา
สาหรับแต่ละคน
พัฒนาศักยภาพ
68
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
? หัวใจสาคัญของการทบทวนการส่งต่อฯ คืออะไร
คือการมองหาในสิง่ ที่เราทาไม่ได้ หรือทาได้ไม่ดี
เพือ่ นามาสูก่ ารปรับปรุงศักยภาพของบุคคล/องค์กร
และระบบงาน
69
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
? ควรทบทวนบ่อยเพียงใด
- ควรทบทวนทุกครัง้ ที่มีการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
- ควรทบทวนโดยเร็ว ในขณะที่ผูเ้ กี่ยวข้องยังจดจาเหตุการณ์
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ ยังรับรูค้ วามรูส้ กึ ของผูร้ บั บริการ
70
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
? ใครควรเข้าร่วมในการทบทวน
- ควรร่วมมือกันในทุกระดับ
- ผูป้ ฏิบตั งิ านที่หน้างานควรสรุปเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้น พร้อมทัง้
คาอธิบายสาเหตุในมุมมองของตน
- หัวหน้าหน่ วยงาน/แพทย์ ควรทบทวน หาข้อมูล และให้ความเห็น
เพิม่ เติม
- ในเรื่องสาคัญ ควรให้ทมี งานที่เป็ นกลาง เข้าร่วมหาข้อมูลเพิม่ เติม
แต่อาจต้องจากัดขอบเขตการรับรูห้ ากเป็ นเรื่อง sensitive
71
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
? เนื้อหาในการทบทวนควรเน้นอะไรบ้าง
- เหตุผลที่เกิดเหตุการณ์ เป็ นเพราะทาไม่ได้ หรือทาไม่ดี หรือ
ทาดีแต่ไม่เป็ นที่ถกู ใจของผูร้ บั บริการ
- ถ้าทาไม่ได้ ควรจะมีการเพิม่ ศักยภาพของบุคคล/องค์กร
อย่างไร
- ถ้าทาไม่ดี จะทาให้ดีข้ ึนได้อย่างไร
- การวินิจฉัยและการดูแลก่อนส่งต่อ ทาได้ถกู ต้องเหมาะสม
เพียงใด
72
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
? คาดหวังว่าจะนาผลการทบทวนไปใช้แค่ไหน
- การทบทวนควรนามาสูก่ ารพัฒนาศักยภาพ มิใช่ทบทวนแล้ว
ได้แต่ขอ้ สรุปว่า “ผูป้ ่ วยสมควรได้รบั การส่งต่อ” เพียงอย่าง
เดียว
- การรับ feedback จาก รพ.ที่รบั ผูป้ ่ วยมีความสาคัญสูงมาก
ในการพัฒนาศักยภาพของเรา
73
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
? จะต้องใช้ขอ้ มูจาก รพ.ที่รบั ผูป้ ่ วยเพียงใด
- ควรมีการสือ่ สารกับ รพ.ที่รบั ผูป้ ่ วยอย่างใกล้ชิด
- จะทาให้รูว้ ่าเราให้การวินิจฉัยถูกต้องหรือไม่ เราให้การดูแล
ขัน้ ต้นเหมาะสมหรือไม่ เราให้การดูแลระหว่างส่งต่อเหมาะสม
หรือไม่ เราละเลยบางสิง่ บางอย่างไปหรือไม่ เราขาดความรูใ้ น
บางเรื่องที่ควรจะรูห้ รือไม่
74
การทบทวนโดยผูช้ านาญกว่า
? หัวใจสาคัญของการทบทวนโดยผูช้ านาญกว่า คืออะไร
- คือการใช้ศกั ยภาพของผูท้ ่เี ก่งกว่าในองค์กร มาพัฒนา
ศักยภาพของผูท้ ่มี ีประสบการณ์นอ้ ยกว่า
- เป็ นการเรียนรูท้ ่ตี รงประเด็น เป็ นประโยชน์ในการใช้งานจริง
- มีการแก้ไขข้อผิดพลาดอย่างรวดเร็ว
75
การทบทวนโดยผูช้ านาญกว่า
? ควรจะทบทวนบ่อยเพียงใด
- สาหรับ ER ควรทบทวนทันทีในวันรุ่งขึ้น เพราะหากมี
ความผิดพลาดเกิดขึ้น อาจก่อให้เกิดผลเสียรุนแรง
- การทบทวนเป็ นรายเดือนหรือรายสัปดาห์ในผูป้ ่ วย ER ไม่
น่ าจะเพียงพอ
- สาหรับงานในลักษณะอืน่ ๆ ขึ้นอยู่กบั ดุลยพินิจ
76
การทบทวนโดยผูช้ านาญกว่า
? จะคัดเลือกกรณีมาทบทวนอย่างไรให้ประหยัดเวลา
- พยาบาลเลือกกรณี ท่ตี นไม่มนั ่ ใจหรือต้องการเรียนรูม้ าให้
แพทย์ทบทวน
- จัดระบบสุม่ ผูป้ ่ วยอืน่ มาทบทวนอีกจานวนหนึ่ ง
- เวลาที่ใช้ในการทบทวนไม่ควรเกินวันละ 15 นาที เมื่อทา
ชานาญขึ้นจะทบทวนได้มากขึ้นหรือใช้เวลาน้อยลง
77
การทบทวนโดยผูช้ านาญกว่า
? ควรนาผลการทบทวนไปใช้อย่างไร
- ติดตามผูป้ ่ วยมารับการตรวจรักษาเพิม่ เติม ถ้าจาเป็ น
- จัดให้เกิดการเรียนรูใ้ นกลุม่ คนที่ตอ้ งทางานโดยเร็วที่สุด
ไม่ควรรอวางแผนเป็ นเดือนๆ
78
การทบทวนโดยผูช้ านาญกว่า
? จะขยายความหมายหรือประย ุกต์ใช้กบั งานต่างๆ อย่างไร
- แพทย์ ทบทวนการตรวจรักษาของพยาบาล
- แพทย์ผูเ้ ชี่ยวชาญ ทบทวนการตรวจรักษาของแพทย์ทวั ่ ไป
- ผูม้ ีประสบการณ์สูง/ได้รบั การฝึ กอบรมมาเป็ นการเฉพาะ
ทบทวนการปฏิบตั งิ านโดยผูม้ ีประสบการณ์นอ้ ยกว่า ในงาน
บางอย่างที่ตอ้ งใช้ความชานาญ เช่น Counseling, การอ่าน
EKG
79
การค้นหาความเสี่ยง
การทบทวนอ ุบัติการณ์
Risk Management
System
จากคอยไล่ดบั ไฟ สู่การป้ องกันไฟ และให้หลักประกันความปลอดภัยแก่ผป้ ู ่ วย
จากการแก้ไขเป็ นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย
80
Risk Management System
RM Team
Head
Staff
ค้นหา/ระบุความเสี่ยงในแต่ละระดับ
วิเคราะห์ risk profile ของทัง้ รพ.
วิเคราะห์ risk profile ของหน่ วย
Update
วางมาตรการป้ องกัน
ประเมิน
และปรับปรุง
สร้างความตระหนัก
สื่อสาร ฝึ กอบรม
สร้างสิ่งอานวยความสะดวก
ทุกคนเป็ น risk manager
Esp เมื่อเกิดอุบตั ิ การณ์
รายงานอุบตั ิ การณ์
จัดระบบรายงาน/เฝ้ าระวัง
วิเคราะห์แนวโน้ มของ รพ.
วิเคราะห์แนวโน้ มของหน่ วย
81
การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง
? หัวใจสาคัญของการค้นหาและป้องกันความเสี่ยงคืออะไร
ค้นหาลูกระเบิดที่ซุกซ่อนอยู่ตามที่ต่างๆ และรอวันระเบิด
จัดการกาจัดลูกระเบิดเหล่านั้นให้ส้ นิ
อย่าให้เกิดระเบิดขึ้นเป็ นอันตรายกับผูร้ บั บริการและผูใ้ ห้บริการ
82
การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง
? ควรใช้วิธีการค้นหาอะไรบ้าง
- ทบทวนประสบการณ์ท่เี คยพบ
- ข้อมูลจากการทบทวนขณะดูแลผูป้ ่ วย
- ตรวจสอบสิง่ แวดล้อมที่เห็นในปัจจุบนั
- ตามรอยผูป้ ่ วย วัสดุ ข้อมูลข่าวสาร
- เรียนรูจ้ ากความผิดพลาดของโรงพยาบาลอืน่
- ตรวจเยี่ยมหน่ วยงานต่างๆ และถามความเห็นของผูป้ ฏิบตั งิ าน
- ทบทวนเวชระเบียนว่ามีอะไรหลุดลอดไป
83
การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง
? ค้นหาได้มาแล้วจะจัดลาดับความสาคัญอย่างไร
ใช้เกณฑ์งา่ ยๆ คือ ความถี่ และ ความรุนแรง
แบ่งเป็ น 2 หรือ 3 ระดับ
ความถี่
สูง
ตา่
ตา่
ความรุนแรง
ความรุนแรง
สูง
ความถี่
สูง กลาง ตา่
สูง
กลาง
ตา่
84
การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง
? หัวใจของการป้องกันคืออะไร
- ถ้าเคยมีเหตุการณ์เกิดขึ้น ต้องเข้าไปศึกษาข้อมูลรายละเอียด
ทาความเข้าใจความรูส้ กึ ของผูป้ ฏิบตั งิ าน
- พยายามออกแบบระบบงานให้งา่ ยต่อผูป้ ฏิบตั งิ าน และสามารถ
ป้ องกันเหตุไม่พงึ ประสงค์ได้ (ถามตัวเองว่าทาอย่างนี้ แล้วจะมี
โอกาสเกิดเหตุการณ์ซ้ามากเพียงใด)
85
การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง
? จะต้องจัดทาเอกสารอะไรบ้าง
แนวทางป้ องกันความเสีย่ งถือว่ามีความสาคัญที่ผูเ้ กี่ยวข้อง
ทุกคนต้องรับรู ้ การจัดทาคู่มือเพือ่ สือ่ สารให้ทกุ คนรับทราบ
จึงเป็ นสิง่ ที่สมควรทา คู่มือที่จดั ทาควรกระชับและง่ายต่อ
การทาความเข้าใจ
86
การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง
? ทาอย่างไรจึงจะมีการปฏิบตั ิตามแนวทางที่กาหนดไว้
คู่มือไม่ใช่คาตอบ เป็ นเพียงเครื่องมือสือ่ สาร
คาตอบอยู่ท่คี วามตระหนักในโอกาสเกิดปัญหา
เครื่องเตือนใจ สิง่ อานวยความสะดวก การติดตาม
และสะท้อนกลับ
87
การทบทวนเหต ุการณ์สาคัญ
? หัวใจสาคัญของการทบทวนเหต ุการณ์สาคัญคืออะไร
การจัดการกับปัญหารุนแรงอย่างเหมาะสม
การเรียนรูแ้ ละจัดระบบเพือ่ ป้ องกันมิให้เกิดปัญหาซ้า
88
การทบทวนเหต ุการณ์สาคัญ
? เหต ุการณ์สาคัญอะไรบ้างที่ควรนามาทบทวน
- ผูป้ ่ วยเสียชีวติ ทุกราย ควรได้รบั การทบทวน
- ผูป้ ่ วยที่มีภาวะแทรกซ้อนทุกราย ควรได้รบั การทบทวน
- ผูป้ ่ วยที่ญาติแสดงความไม่พอใจสูง มีโอกาสเกิดการร้องเรียน
ควรได้รบั การทบทวน
- อุบตั เิ หตุท่กี อ่ ให้เกิดการบาดเจ็บต่อผูป้ ่ วย/เจ้าหน้าที่
89
การทบทวนเหต ุการณ์สาคัญ
? ทบทวนอย่างไรจึงจะได้ประโยชน์อย่างแท้จริง
- รีบทบทวนทันทีเมื่อทราบเหตุ
- เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ในสถานที่จริงให้มากที่สดุ ทัง้ จาก
การสัมภาษณ์ และหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
- มองระบบที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วน
- วิเคราะห์ให้ได้ root cause เพือ่ การแก้ไขป้ องกันที่ยงั ่ ยืน
- การป้ องกันควรเน้นการออกแบบระบบให้คนทางานง่ายขึ้น
90
การทบทวนเหต ุการณ์สาคัญ
? ใครควรเป็นผูท้ บทวน
- ควรเป็ นคนกลางที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์
(ถ้าทาได้)
- ควรเป็ นผูม้ ีความรูใ้ นเรื่องนั้นดี และเป็ นที่ยอมรับ
- ควรจากัดจานวนให้มีนอ้ ยที่สุด (1-3 คน)
- ควรรายงานตรงต่อผูอ้ านวยการ
- อาจปรึกษาผูเ้ ชี่ยวชาญภายนอกถ้าจาเป็ น
91
การทบทวนเหต ุการณ์สาคัญ
? M & M Conference ใช้ทดแทนได้หรือไม่
- M & M เป็ นเหตุการณ์สาคัญ
- การทบทวนในที่น้ ี ม่งุ ให้เกิดการปรับปรุงระบบงานและการ
เพิม่ ศักยภาพของผูป้ ฏิบตั งิ าน
- การทบทวนที่ม่งุ หาคาตอบเชิงวิชาการว่าผูป้ ่ วยเป็ นอะไร
ไม่เพียงพอเพือ่ การพัฒนา
- ทีมสามารถปรับปรุงระบบงานได้ แม้ไม่รูว้ ่าการ
วินิจฉัยโรคคืออะไร
92
HAI = Healthcare Associated Infection
การทบทวน
การติดเชื้อใน รพ.
HAI
Prevention &
Control System
จากคอยไล่ดบั ไฟ สู่การป้ องกันไฟ และให้หลักประกันความปลอดภัยแก่ผป้ ู ่ วย
จากการแก้ไขเป็ นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย
93
4.1 ระบบงาน
4.3 การป้ องกันและควบคุม
วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ มาตรการ
จุดเน้นของการป้องกันและควบคุม
ความรูแ้ ละการปฏิบตั ซิ ง่ึ เป็ นทีย่ อมรับ
ครอบคลุมทุกพืน้ ที
เชื่อมประสานกับระบบคุณภาพ
ปฏิบตั ทิ วทั
ั ่ ง้ องค์กร
การออกแบบระบบ
การป้ องกัน
ลดความเสี่ยง
ควบคุมสิ่งแวดล้อม
การบริหารระบบ
พืน้ ที่เสี่ยง
ผูก้ ากับดูแล, ICN
ทรัพยากร
ระบบสารสนเทศ
การอบรมเจ้าหน้าที่
การให้ความรูช้ ุมชน
ป้ องกันการ
ติดเชื้อสาคัญ
การควบคุมการระบาด
วางแผน, ให้ความรู้
ปรับปรุงระบบ
แก้ปญั หาผูป้ ว่ ยเฉพาะราย
ใช้ประโยชน์ อื่นๆ
Standard Precaution
Clean/disinfect/sterilizqtion
Infectious waste
Hand hygiene
อากาศ, โครงสร้างอาคาร
น้ า, น้ ายาทาลายเชือ้
การติดเชื้อ
ตา่ ที่สดุ
ซักฟอก, จ่ายกลาง
ครัว, กายภาพบาบัด
ผ่าตัด, เก้บศพ
VAP, CAUTI,
SSI, BSI
4.2 การติดตามและเฝ้ าระวัง
การติดตาม/เฝ้ าระวัง
Active HAI surveillance
Passive HAI surveillance
การใช้ยาต้านจุลชีพ
เชือ้ โรคใหม่ เชือ้ โรคดือ้ ยา
94
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
? หัวใจสาคัญของเรือ่ งการเฝ้าระวังติดเชื้อคืออะไร
การรับรูจ้ ุดเสีย่ งต่อการติดเชื้อ ซึ่งจะนาไปสูก่ ารป้ องกัน
เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยทัง้ ต่อผูป้ ่ วยและเจ้าหน้าที่
95
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
? IC ในรพ.ขนาดเล็ก ต่างจาก รพ.ขนาดใหญ่อย่างไร
- เน้นการเฝ้ าระวังกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์
- OPD เป็ นจุดเสีย่ งที่ตอ้ งเฝ้ าระวังไม่แพ้ IPD
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
- การเฝ้ าระวังต่อเนื่ องไปในชุมชนมีความสาคัญ
- การนาเสนอข้อมูลที่มีอตั ราการติดเชื้อตา่ อาจนาเสนอด้วย
ช่วงห่างของการติดเชื้อ (จานวนผูป้ ่ วยที่ไม่ติดเชื้อ)
96
โรงพยาบาลขนาดเล็ก
ผูป้ ่ วยนอก
การดูแลที่บา้ น
กระบวนการ
บุคลากร
สิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลขนาดใหญ่
ผูป้ ่ วยใน
การดูแลที่โรงพยาบาล
ผลลัพธ์
บุคลากร
สิ่งแวดล้อม
97
การนาเสนอข้อมูลเฝ้าระวัง กรณีที่มีการติดเชื้อต่า
1000
900
700
600
500
400
300
8.0
200
7.0
100
0
2
3
4
5
6
7
Case number
8
9
10
11
6.0
12
log interval between cases
Interval between cases
800
5.0
4.0
-2SD
3.0
-3SD
2.0
1.0
0.0
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
Case number
98
12
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
? กระบวนการที่ควรให้ความสาคัญมีอะไรบ้าง
- Hand Hygiene & Personal Protective
Equipment
- สุขอนามัยเพือ่ ป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
(Respiratory Hygiene)
- Standard Precaution อืน่ ๆ
99
การทบทวน
ความคลาดเคลื่อนทางยา
Drug System
จากคอยไล่ดบั ไฟ สู่การป้ องกันไฟ และให้หลักประกันความปลอดภัยแก่ผป้ ู ่ วย
จากการแก้ไขเป็ นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย
100
ระบบยา
กก.ยา
เภสัชกร
นโยบาย
คัดเลือก
แพทย์
พยาบาล
สื่อสาร/ให้ความรู้
จัดหา
เก็บรักษา
เตรียม
สังใช้
่
ถ่ายทอดคาสัง่
บริหารยา
จัดจ่าย
ประเมิน/
ปรับปรุง
เฝ้ าระวัง
Med Error, DUR
101
การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา
? หัวใจสาคัญเรือ่ งความคลาดเคลื่อนทางยาคืออะไร
คือการรับรูโ้ อกาสเกิดความคลาดเคลื่อน ซึ่งจะนาไปสู่
การปรับปรุงเพือ่ ป้ องกันอันตรายจากการใช้ยา
102
การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา
? ความผิดพลาดส่วนใหญ่เป็นเรือ่ งไม่ร ุนแรง
มีประโยชน์อะไรที่จะเฝ้าระวัง
การเฝ้ าระวังคือการวางระบบให้เกิดความตื่นตัว ความ
รับผิดชอบ และความมัน่ ใจว่าการรายงานความ
ผิดพลาดคลาดเคลือ่ นเป็ นเรื่องปกติท่ไี ม่เกิดผลเสียต่อ
ผูร้ ายงาน
103
การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา
? การเฝ้าระวังที่ดีควรเป็นอย่างไร
- ควรครอบคลุมทุกขัน้ ตอน: การสัง่ ยา การจัดยา การให้ยา
- ควรเชื่อมโยงกับการเกิดผลที่ไม่พงึ ประสงค์
- ตอบสนองผลไม่พงึ ประสงค์ท่เี กิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
- ควรครอบคลุมเหตุการณ์เกือบพลาด (near miss)
104
การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา
? นอกจากเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนแล้ว
มีอะไรที่เป็นเรือ่ งสาคัญอีก
- การทบทวนการใช้ยาที่มีความเสีย่ งสูง เทียบกับแนวปฏิบตั ติ าม
มาตรฐานวิชาชีพ
- การทบทวนเมื่อเกิดผลที่ไม่พงึ ประสงค์จากยา
- การระบุยาที่มีความเสีย่ งสูง (high alert drug) วาง
แนวทางการใช้ยาและการติดตามผล
- การทบทวนคาสัง่ ใช้ยาเมื่อแรกรับ, เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจุด
ให้บริการ, และเมื่อจาหน่ าย
- การประเมินความเข้าใจในการใช้ยาบางตัวที่ใช้ยาก
105
การทบทวน
เวชระเบียน
Medical Record
System
จากคอยไล่ดบั ไฟ สู่การป้ องกันไฟ และการบันทึกที่มีคณ
ุ ค่า
จากการแก้ไขเป็ นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย
106
การทบทวนเวชระเบียน
? หัวใจสาคัญของการทบทวนเวชระเบียนคืออะไร
เพือ่ ให้เห็นจุดอ่อนของการบันทึกเวชระเบียนที่เป็ นอยู่
นาไปสูก่ ารปรับปรุงวิธีการบันทึกให้เป็ นประโยชน์ต่อการ
ดูแลผูป้ ่ วย และการประเมินคุณภาพการดูแลผูป้ ่ วยมากขึ้น
107
การทบทวนเวชระเบียน
? ควรเริม่ ต้นทบทวนความสมบูรณ์อย่างไร
ควรเริ่มด้วยการประเมินความต้องการและการใช้ประโยชน์
หยิบเวชระเบียนขึ้นมาฉบับหนึ่ ง ตัง้ คาถามทานองนี้
- แพทย์อยากรูข้ อ้ มูลอะไรจากพยาบาล มีอยู่หรือไม่ ตรงไหน
- พยาบาลอยากรูข้ อ้ มูลอะไรจากแพทย์ มีอยู่หรือไม่ ตรงไหน
- ทีม HHC อยากรูข้ อ้ มูลอะไรเพือ่ การเยี่ยมบ้านต่อ
- ถ้าผูป้ ่ วยมีภาวะแทรกซ้อน จะรักษาต่อเนื่ องได้หรือไม่
- ถ้ามีการฟ้ องร้อง จะมีขอ้ มูลอะไรแสดงว่าเรารักษาอย่างเต็มที่
108
การทบทวนเวชระเบียน
? ควรทบทวนบ่อยเพียงใด
ในช่วงที่การบันทึกยังมีปญั หาเรื่องความสมบูรณ์ และทีมงานมี
เป้ าหมายการพัฒนาที่ชดั เจน ควรทบทวนให้บ่อยพอที่จะกระตุน้
การพัฒนา ขณะเดียวกันให้เวลาในการปรับปรุงที่ไม่เนิ่ นนาน
เกินไป เช่น ทบทวนทุกเดือน
109
การทบทวนเวชระเบียน
? เป้าหมายการพัฒนาความสมบูรณ์ควรเป็นอย่างไร
- ควรตัง้ เป้ าเป็ นลาดับขัน้
- ตัง้ เป้ าที่สาคัญ และมีความเป็ นไปได้ท่จี ะบรรลุเป้ าในเวลาไม่นาน
- อย่าตัง้ เป้ าสาหรับการประเมินเมื่อสิ้นปี เพราะจะทาให้ทีมใจเย็น
และไม่เป็ นไปตามเป้ า
- ตัวอย่าง “ปรับปรุงการบันทึก progress note โดยบันทึก
เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงการรักษาทุกราย ภายใน 1 เดือน”
110
การทบทวนเวชระเบียน
? เมื่อไรที่ควรจะประเมินความสมบูรณ์ออกมาเป็นตัวเลข
เมื่อทีมงานเข้าใจวิธกี ารและประโยชน์ของการประเมินเวช
ระเบียนในแง่การใช้ประโยชน์ มีการปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจาวัน
อย่างสมา่ เสมอ มีการพัฒนาความสมบูรณ์มาได้มากพอสมควร
เมื่อนั้นการประเมินเป็ นตัวเลขจะเกิดประโยชน์ในการกระตุน้ ให้
เกิดความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
111
การทบทวนเวชระเบียน
? ภาระงานมากจะทาให้เวชระเบียนสมบูรณ์ได้อย่างไร
- ยิ่งภาระงานมากยิ่งต้องทบทวนว่าอะไรคือข้อมูลที่จาเป็ น
- ถ้าไม่มีการทบทวน จะยิ่งสูญเสียเวลากับเรื่องที่ไม่จาเป็ น
ไม่มีโอกาสที่จะสร้างคุณค่าใหม่ๆ ให้กบั ผูร้ บั บริการ
- การทบทวนต้องนามาสูค่ วามเข้าใจว่าอะไรคือข้อมูลที่จาเป็ น
และเป็ นประโยชน์
112
การทบทวนเวชระเบียน
? ควรออกแบบฟอร์มช่วยการบันทึกอย่างไร
- แบบฟอร์มมีทง้ั ข้อดีและข้อเสีย
- ข้อดีคอื ช่วยเตือนใจ ช่วยลดภาระการเขียน
- ข้อเสียคือทาให้ไม่คิด และเป็ นภาระในการกรอกจนลืมปัญหา
ของผูป้ ่ วย
- ควรมีแบบฟอร์มเท่าที่จาเป็ น ทบทวนประโยชน์และการใช้บ่อยๆ
ว่าเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ท่ตี อ้ งการหรือไม่
- ไม่ควรลอกเลียนแบบฟอร์มของ รพ.อืน่ ที่ดูดี แต่ซบั ซ้อน
113
การทบทวนเวชระเบียน
? การบันทึกเวชระเบียนที่ดีควรทาอย่างไร
- ควรบันทึกในขณะที่ความทรงจาปัญหาของผูป้ ่ วยยังอยู่ในใจ
หรือไปบันทึกอยู่ท่หี น้า/ข้างเตียงผูป้ ่ วย
- ควรบันทึกเหตุผลของการกระทาควบคู่กบั การกระทา บันทึก
ที่มาของแผนการรักษาควบคู่กบั แผน/คาสัง่ การรักษา
- ควรเลิกคัดลอกข้อความที่บนั ทึกตามๆ กันมา
114
การทบทวนเวชระเบียน
? การทบทวนขณะด ูแลผูป้ ่ วยกับการทบทวนเวชระเบียน
จะทาร่วมกันได้หรือไม่
- เป็ นสิง่ ที่สมควรทาร่วมกันอย่างยิ่ง
- จะทาให้มีโอกาสทบทวนได้บ่อยขึ้น
- จะทาให้มีโอกาสปรับปรุงเวชระเบียนให้สมบูรณ์มากขึ้น
- จะทาให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความเป็ นจริงของผูป้ ่ วย กับสิง่ ที่
บันทึกในเวชระเบียน และทาให้เกิดความสอดคล้องกันมากขึ้น
115
ทบทวนการใช้
ความรูท้ างวิชาการ
Clinical CQI
จากการพัฒนาที่เน้ นเครื่องมือเดี่ยวๆ
มาสู่การพัฒนาที่เน้ นกลุ่มผูป้ ่ วย และใช้เครื่องมือทุกอย่างร่วมกัน
116
การทบทวนการใช้ความรูท้ างวิชาการ
? หัวใจสาคัญของการใช้ความรท้ ู างวิชาการคืออะไร
คือการเพิม่ คุณค่าให้แก่การดูแลผูป้ ่ วยด้วยข้อมูลวิชาการ
ทาในสิง่ ที่เกิดประโยชน์ให้มากขึ้น
ละเว้นการทาในสิง่ ที่ไม่เกิดประโยชน์
ตรวจรักษาโดยมีขอ้ บ่งชี้ท่เี หมาะสมมากขึ้น
117
การทบทวนการใช้ความรูท้ างวิชาการ
? ควรใช้แหล่งความรท้ ู างวิชาการจากที่ใด
เอกสารแนวทางปฏิบตั งิ านที่กรมกองวิชาการของ สธ. จัดทา
CPG ที่องค์กรวิชาชีพหรือ รพ.ต่างๆ จัดทา
Internet
118
การทบทวนการใช้ความรูท้ างวิชาการ
? ทบทวนอย่างไรจึงจะนาไปสูก่ ารปรับปร ุง
- ทบทวนแล้วต้องถามว่าจะนาไปใช้ในการทางานอย่างไร
- อะไรที่เหมาะจะนามาใช้
- ที่ทาอยู่ทกุ วันนี้ แตกต่างไปจากความรูท้ ่ที บทวนอย่างไร
- ถ้าจะปรับใช้ จะมีเป้ าหมายอย่างไร
- จะทาให้เกิดการปรับปรุงเพือ่ บรรลุเป้ าหมายอย่างไร
119
การทบทวนการใช้ความรูท้ างวิชาการ
? การทา Journal Club ใช้ได้หรือไม่
การทา Journal Club เป็ นจุดเริ่มต้นของการทบทวน
ถ้าจะให้เกิดประโยชน์ตอ้ งนาไปสูก่ ารปรับปรุงวิธีการทางาน
120
การทบทวนการใช้ความรูท้ างวิชาการ
? จะใช้ให้เกิดประโยชน์สงู ส ุดอย่างไร
ใช้รว่ มกับเครื่องมือพัฒนาอืน่ ๆ
ติดตามเครือ่ งชี้วดั สาคัญ
KPI Monitoring
ศึกษาจากผูเ้ ยี่ยมยุทธ์
มาช่วยกันดูหลายๆ มุม
Benchmarking
Multidisciplinary Team
เป้ าหมาย
ในการดูแลผู้ป่วยกลุม่ นี้
เจาะหาจุดอ่อนจากบันทึก
Medical Record/Bedside Review
รุมดูแลแบบองค์รวม
Holistic Care
ใช้อบุ ตั ิ การณ์ มาวิเคราะห์
สวมความรูว้ ิ ชาการ
Root cause Analysis from Incidence
Evidence-based Practice
121
ทบทวน
การใช้ทรัพยากร
Resource
Management
System
จากคอยไล่ดบั ไฟ สู่การป้ องกันไฟ และการใช้ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ
จากการแก้ไขเป็ นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย
122
Resource Management System
UR Team
CLT
วิเคราะห์การใช้ทรัพยากรของทัง้ รพ.
Update
Members
วิเคราะห์การใช้ทรัพยากรของทีม
กาหนดลาดับความสาคัญ เป้ าหมาย ข้อบ่งชี้
สร้างความตระหนัก
สื่อสาร ฝึ กอบรม
สร้าง reminder
ทบทวนการใช้ทรัพยากร (UR)
วิเคราะห์แนวโน้ มของ รพ.
ตัดสินใจตามแนวทาง
ที่ตกลงร่วมกัน
Feed back
รับทราบ/ปรับพฤติกรรม
วิเคราะห์แนวโน้ มของทีม
123
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
การทบทวนการใช้ทรัพยากร
? หัวใจสาคัญของการทบทวนการใช้ทรัพยากร คืออะไร
คือการมองหาโอกาสปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
กาหนดข้อตกลงร่วมกัน และพยายามปฏิบตั ติ ามข้อตกลง
นั้น โดยใช้การทบทวนและสะท้อนกลับเป็ นเครื่องมือช่วย
124
การทบทวนการใช้ทรัพยากร
? โอกาสที่จะเพิ่มประสิทธิภาพอยูต่ รงไหน
- โอกาสสูงสุดอยู่ท่กี ารตัดสินใจทางคลินิก โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งความเหมาะสมในการใช้ยาและการตรวจ investigate
- การทบทวนทรัพยากรอืน่ ๆ ก็มีโอกาสเช่นเดียวกัน แต่ควร
พิจารณาความคุม้ ค่า หรือผลลัพธ์การลดค่าใช้จา่ ยที่ได้มา
เทียบกับเวลาที่ตอ้ งใช้ในการทบทวน
125
การทบทวนการใช้ทรัพยากร
? ถ้าแพทย์ไม่มีเวลามาร่วมทบทวนจะทาอย่างไร
วางแผนใช้เวลาของแพทย์ให้นอ้ ยที่สุด เตรียมข้อมูลให้พร้อม
-วิเคราะห์ขอ้ มูลการใช้ทรัพยากรเพือ่ ช่วยเลือกประเด็น
-ทบทวนความรูท้ างวิชาการเพือ่ ช่วยกาหนดข้อตกลงในการ
ปฏิบตั ิ
-เก็บข้อมูลการปฏิบตั ติ ามข้อตกลงเพือ่ สะท้อนให้ผูเ้ กี่ยวข้อง
อย่างต่อเนื่ อง
126
ทบทวน
เครือ่ งชี้วดั
Performance
Monitoring
System
จากเก็บข้อมูลตามๆ กัน โดยไม่ร้เู หตุผล
มาสู่การเก็บข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ ต่อการปรับปรุงผลการดาเนินงาน
127
4.2 การจัดการสารสนเทศ
องค์กรสร้างความมันใจว่
่ ามีข้อมูลและสารสนเทศซึ่งมีคณ
ุ ภาพ พร้อมใช้งาน สาหรับ
บุคลากรและผูป้ ่ วย/ลูกค้าในเวลาที่เหมาะสม
ความต้องการ
วางแผน
จัดการ
บุคลากร
ผูบ้ ริหาร
ผูป้ ว่ ย/ผูร้ บั ผลงาน
องค์กรภายนอก
(1)
เลือกตัวชี้วดั
(4)
(2)
รวบรวม/เชื่อมโยง
(3)
ข้อมูลเปรียบเทียบ
ปรับปรุงระบบวัดผลงาน
4.1 a. การวัดผลงาน
data standards
technology standards (hardware &
software)
steps for implementation
criteria for data capture
data retention
criteria for data updating
4.1 b. การวิเคราะห์ผลงาน
(1) วิเคราะห์ข้อมูล
ใช้ประโยชน์
การควบคุมงานประจา
การดูแลผูป้ ว่ ย
การพัฒนาคุณภาพ
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
(2)
สื่อสารผล
ข้อมูลพร้อมใช้
128
การทบทวนเครือ่ งชี้วดั
? หัวใจสาคัญของการทบทวนเครือ่ งชี้วดั คืออะไร
เป็ นการประเมินการบรรลุวตั ถุประสงค์หรือเป้ าหมาย
ของหน่ วยงานและการดูแลผูป้ ่ วย
129
การทบทวนเครือ่ งชี้วดั
? ควรเริม่ ต้นทบทวนอย่างไร
- เริ่มด้วยการนาข้อมูลที่เก็บไว้มาแปลความหมาย และดูว่า
จะใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาอย่างไร
- ตัง้ คาถาม “ทาไม” กับกระบวนการหรือกิจกรรมสาคัญที่
ทาอยู่ และถามว่าจะวัดผลการบรรลุเป้ าหมายอย่างไร
- พิจารณาว่าควรปรับปรุงการเก็บข้อมูลอย่างไรจึงจะคุม้ ค่า
130
การทบทวนเครือ่ งชี้วดั
? ภาพรวมของเครือ่ งชี้วดั ทัง้ หมดเป็นอย่างไร
วัดเป้ าหมายในทุกระดับ
พันธกิจ
ผลลัพธ์
ด้านผูร้ บั บริการ
วัยต่างๆ เป้าหมายตาม
โรคต่างๆ กลมุ่ ประชากร
ผลลัพธ์
ด้านผูใ้ ห้บริการ
ผลลัพธ์
ด้านองค์กร
เป้าหมายของ
หน่วยย่อย
คน
เป้าหมายของ ข้อของ
มูล
ระบบงาน ปลอดภัย
การติดเชื่อ
Outcome
Process
เป้าหมายของ
เป้าหมายของเป้าหมายของ
เป้าหมายของ
เป้าหมายของ
กระบวนการกระบวนการ
1
กระบวนการ
2
กระบวนการ
3
กระบวนการ
4
5
131
การทบทวนเครือ่ งชี้วดั
? จะใช้ประโยชน์เครือ่ งชี้วดั ให้เต็มที่อย่างไร
เลือกตัวชีว้ ดั
เก็บข้อมูล
วิเคราะห์ขอ้ มูล
สื่อสารข้อมูล
แปลความหมาย
ควบคุมงานประจา
ทบทวน
ตัดสินใจ
(ใช้ประโยชน์ )
ปรับปรุง/พัฒนา
เชิงกลยุทธ์
132
รายกรณี
(Case)
กลมุ่ ผูป้ ่ วย
(Clinical Population)
จากคอยไล่ดบั ไฟ สู่การป้ องกันไฟ และให้คณ
ุ ค่าแก่ผป้ ู ่ วย
จากการแก้ไขเป็ นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย
133
ฝึ กใช้ Clinical Tracer
โรค/หัตถการ/กลุ่มเป้ าหมาย/สิ่งของ/ข้อมูล อะไร
เรื่องนี้ กบั รพ.ของเรา มีอะไรน่ าสนใจ
ประเด็นสาคัญของเรื่องนี้ 2-5 ประเด็น
เป้ าหมายของการดูแลผูป้ ่ วยกลุ่มนี้ /งานนี้ (ตามประเด็นสาคัญ)
ตัวชี้วดั สาคัญ (ตามเป้ าหมาย)
กระบวนการดูแลผูป้ ่ วย ขัน้ ตอนใดสาคัญมาก ทาได้ดีหรือไม่ ดี
อย่างไร จะทาให้ดีขึน้ ได้อย่างไร
• กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ใช้แนวคิดและเครื่องมืออะไรไปบ้าง
อะไรยังไม่ได้ใช้ ควรจะนามาใช้หรือไม่ อย่างไร
• องค์ประกอบอื่นๆ ที่สาคัญ มีอะไร ควรปรับปรุงอย่างไร
•
•
•
•
•
•
134
Clinical Tracer คืออะไร
• คือการใช้สภาวะทางคลินิกเพื่อติดตามประเมินคุณภาพใน
แง่มมุ ต่างๆ ได้แก่
– กระบวนการดูแลผูป้ ่ วย (Patient Care Process)
– กระบวนการพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement Process)
– องค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ
• สภาวะทางคลินิกที่ใช้ติดตามอาจจะเป็ น
–
–
–
–
โรค
หัตถการ
ปัญหาสุขภาพ
กลุ่มเป้ าหมาย
135
Clinical Tracer มีประโยชน์ อย่างไร
•
•
•
•
•
เป็ นรูปธรรมที่เห็นชัดเจน
เชิญชวนผูป้ ระกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วม
ตามรอยคุณภาพได้ทุกองค์ประกอบ
นาไปสู่ Clinical CQI
แต่ละสภาวะช่วยเสริมมุมมองที่แตกต่างกัน ทาให้
มองได้ความสมบูรณ์ขนึ้
136
Thai HA Clinical Tracer
• เป็ นการตามรอยสภาวะทางคลินิกหรือกลุ่มผูป้ ่ วย คู่กบั ระบบ
• เน้ นการทบทวนโดยทีมของโรงพยาบาล
• จุดมุ่งหมายทัง้
– เพื่อแสดงให้เห็นคุณภาพที่ทาได้ดีแล้ว
– หาโอกาสพัฒนาต่อเนื่ อง
• เน้ นการพัฒนาคุณภาพโดยใช้วิธีการที่หลากหลายพร้อมๆ กัน
• นา Core Value & Concept ที่สาคัญมาใช้ เช่น
–
–
–
–
Focus on Results
Management by Fact
Evidence-based Practice
Patient Focus
137
Clinical Tracer เป็ นหน้ าที่ของใคร
• เป็ นหน้ าที่ของผูท้ ี่เกี่ยวข้องโดยตรงในการดูแลสภาวะ
ทางคลินิกนัน้
• อาจเรียกว่าเป็ น Clinical QI Team หรือ Patient Care
Team ซึ่ง Clinical Lead Team จะช่วยดูในภาพรวมของ
การ trace quality ในสาขานัน้
• ใน รพ.ขนาดเล็ก อาจเป็ นหน้ าที่ของ Clinical Lead
Team/Patient Care Team (ตามแต่ รพ.จะเรียก)
138
จะเลือกประเด็นอย่างไร จานวนเท่าไร
• อาจจะเริ่มด้วยทีมที่ทางานร่วมกัน หรือเลือกด้วยสภาวะทางคลินิกก่อน
ก็ได้
• สภาวะทางคลินิกที่เลือกขึน้ มา ควรเป็ นเรื่องที่ทีมมีความเข้าใจดี และมี
ความสาคัญพอสมควร
– เป็ นสิ่งที่ทีมทาได้ดี หรือ
– เป็ นสิ่งที่มีความเสี่ยงสูง หรือ
– เป็ นสิ่งที่มีโอกาสพัฒนาอีกมาก : ผลลัพธ์ไม่ดี, ต้องประสานกัน, ยืดเยือ้
• เมื่อทาเสร็จแล้ว ให้ถามว่ามีเรื่องอะไรที่สาคัญกว่าเรื่องที่ทาไปแล้วอีก
บ้าง เพื่อคัดเลือกเรื่องเหล่านัน้ มาทาต่อ ถ้าไม่มีกเ็ ลือกเรื่องที่มี
ความสาคัญรองลงมา
• จานวนเรื่องเป็ นเรื่องที่ต้องพิจารณาความสมดุลของประโยชน์
(ครอบคลุมผูป้ ่ วยและมุมมองคุณภาพ) กับภาระงาน
139
แนวทางการเขียนบอกเล่า
กระบวนการเพื่อให้ได้คณ
ุ ภาพ
• เขียนด้วยคาพูดธรรมดาให้คนทัวไประดั
่
บที่มีการศึกษา
เข้าใจ
• ในกรณี ที่เรือ่ งนี้ ทาได้ดีแล้ว ควรบรรยายให้ผอู้ ่านเกิด
ความมันใจในคุ
่
ณภาพของโรพยาบาล
140
4.1 ใช้ตวั ตามรอย (tracer) เพื่อทบทวนคุณภาพการดูแลผูป้ ่ วย
ผลลัพธ์ทางคลินิก
บันทึกข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
ประเมิน
วางแผน
ดูแล
สื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล
เสริมพลัง
จาหน่ าย
ติดตาม
พิจารณาว่าขัน้ ตอนใดที่มีความสาคัญสูงเป็ นพิเศษในการดูแลสภาวะ/โรคนัน้
ขณะนี้ มีวิธีการในการดูแลเพื่อให้ผป้ ู ่ วยได้รบั การดูแลอย่างดีที่สดุ อย่างไร
มีระบบการควบคุมอย่างไรเพื่อให้เป็ นไปตามที่ออกแบบไว้ มีโอกาสพัฒนาอะไรบ้าง
นาเสนอข้อมูลให้เพื่อนสมาชิกรับทราบและให้เพื่อนสมาชิกตัง้ ประเด็นคาถาม
รายละเอียดเชิงปฏิบตั ิ ในบางเรื่องที่มีความสาคัญหรือน่ าสนใจ ตลอดจนชี้ประเด็
น
141
ให้เห็นความเสี่ยงที่ยงั มีอยู่
4.2 ใช้ตวั ตามรอย (tracer) เพื่อทบทวนกระบวนการพัฒนาคุณภาพ
ติดตามเครือ่ งชี้วดั สาคัญ
KPI Monitoring
ศึกษาจากผูเ้ ยี่ยมยุทธ์
มาช่วยกันดูหลายๆ มุม
Benchmarking
Multidisciplinary Team
เป้ าหมาย
ในการดูแลผู้ป่วยกลุม่ นี้
เจาะหาจุดอ่อนจากบันทึก
Medical Record/Bedside Review
รุมดูแลแบบองค์รวม
Holistic Care
ใช้อบุ ตั ิ การณ์ มาวิเคราะห์
สวมความรูว้ ิ ชาการ
Root cause Analysis from Incidence
Evidence-based Practice
พิจารณาการพัฒนาที่ผา่ นมาว่าเน้ นที่จดุ ใด ได้ผลสาเร็จอย่างไร
พิจารณาว่าจะนาแนวทางการพัฒนาอื่นๆ เข้ามาเสริมให้สมบูรณ์ ขึน้ อย่างไร
142
การจัดการสารสนเทศและความรู้
การมุ่งเน้ น
พนักงาน
การวางแผน
กลยุทธ์
การนา
ผลลัพธ์
การมุ่งเน้ นผู้ป่วย
และสิทธิผ้ปู ่ วย
ตอนที่ I
การจัดการ
กระบวนการ
ตอนที่ IV
ด้านคลินิก
ด้านผู้ป่วยและลูกค้า
ด้านการเงิน
ด้านพนักงานและระบบงาน
ด้านประสิทธิผลองค์กร
ด้านการนาและสังคม
ด้านสร้างเสริมสุขภาพ
MBNQA/TQA Model
ระบบงานสาคัญของ รพ. ตอนที่ II
โครงสร้างมาตรฐาน HA/HPH
ฉบับฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปี
ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ
การกากับดูแลวิชาชีพ
โครงสร้างภาพและสิ่งแวดล้อม
การป้ องกันการติดเชื้อ
ระบบเวชระเบียน
ระบบยา
ห่องปฏิบตั ิ การทางการแพทย์
การทางานกับชุมชน
กระบวนการดูแลผู้ป่วย
ตอนที่ III
กระบวนการดูแลผู้ป่วย
แรกรับ
ประเมิน
วางแผน
ดูแล
ให้ข้อมูลและเสริม143
พลัง
วางแผนจาหน่ าย/ดูแลต่อเนื่ อง
พรุ่งนี้ จะทาอะไรให้ดีขึน้
จะทาให้งานง่ายขึน้ อย่างไร
จะทาให้เพื่อนของเราทางานง่ายขึน้ อย่างไร
จะเพิ่ มคุณค่าให้ลกู ค้าของเราอย่างไร
เราทาหน้ าที่ตามเป้ าหมายสมบูรณ์ หรือยัง
จากบันไดขัน้ ที่ 1
จุดพลังส่งต่อเนื่ อง
ถามคาถามพืน้ ฐานสมา่ เสมอ
ทบทวนเหตุการณ์ ที่ไม่พึงประสงค์ทกุ ครัง้
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
C3THER เป็ นประจาทุกวัน
รับฟังเสียงสะท้อนจากผูป้ ่ วยทุกวัน
สารวจความเสี่ยงทุกวัน
ปรับเปลี่ยนระบบงาน
จากตัง้ รับสู่การป้ องกันที่เป็ นระบบ Process Improvement, KPI
จากป้ องกันความเสี่ยงสู่การเพิ่มคุณค่า องค์รวม สร้างเสริม
จากทบทวนรายผูป้ ่ วยไปสู่กลุ่มผูป้ ่ วย
เชื่อมโยงการพัฒนาหน่ วยกับทิศทางองค์กร
สร้างการเรียนรู้
Purpose, Priority,
เรียนรู้ทกุ ครังที
้ ่ทากิจกรรม C3THER, After Action Review
นาเนื้ อหามาใช้ประโยชน์ กรณี ศึกษา, บอกเล่าเรื่องราว, อ้างอิ งในคู่มือ
144
สร้างนวตกรรมเพื่อการเรียนรู้
145