ทีม Hum - โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม

Download Report

Transcript ทีม Hum - โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม

ตอนที่ 1
ข้ อ 5 การมุ่งเน้ นทรัพยากรบุคคล
Context
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
เป็ นโรงพยาบาลชุ มชนระดับ 2.3 มีเจ้ าหน้ าทีท่ ้งั หมด 393 คน
ชาย 149 คน หญิง 244 คน ประกอบด้ วย
1. ข้ าราชการ 152 คน อายุเฉลีย่ 40.5 ปี อายุงานเฉลีย่ 19.5 ปี
2. ลูกจ้ างประจา 40 คน อายุเฉลีย่ 51 ปี อายุงานเฉลีย่ 21.5 ปี
3. ลูกจ้ างชั่วคราว 237 คน อายุเฉลีย่ 34.5 ปี อายุงานเฉลีย่ 11.75 ปี
โรงพยาบาลกาหนดเป้าหมายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
4 เป้าหมาย
• เป้าหมายที่ 1 ด้ านอัตรากาลังเพียงพอและมีประสิ ทธิภาพ
– ยังมีบุคลากรตามสายวิชาชีพไม่ เพียงพอ (วิเคราะห์ ตามภาระงาน)
. แพทย์
. ทันตแพทย์
. พยาบาลวิชาชีพ
. เจ้ าหน้ าทีส่ ายสนับสนุน (พัสดุ,ธุรการ,การเงิน,บุคลากร
คนงาน)
เป้ าหมายที่ 2 ด้ านการพัฒนาความรู้และทักษะ
• Competency จะทาการประเมิน 2 อย่ าง
•
•
Core Competency (สมรรถนะหลัก) กพ 5 core
Specific Competency (สมรรถนะตามสายงาน)
• การพัฒนาความรู้ โดยการอบรม / ประชุม /
• ศึกษาดูงาน
เป้ าหมายที่ 3 ด้ านการสร้ างแรงจูงใจและความก้ าวหน้ า
- ประเมินผลการปฏิบัตงิ าน โดยใช้ ผ้ ูประเมินมากกว่ า 1 คน
- เจ้ าหน้ าทีท่ ุกคนทราบผลการประเมินของตนเอง
เป้ าหมายที่ 4 ความพึงพอใจและความผาสุ ก
• ประเมินความพึงพอใจเจ้ าหน้ าทีป่ ี ละ 1 ครั้ง ผลการประเมินในส่ วนที่ไม่
พึงพอใจส่ วนมากเป็ นเรื่อง ด้ านสิ่ งอานวยความสะดวก เช่ นทีจ่ อดรถ
จานวนบ้ านพัก อัตราค่ าตอบแทน อัตราค่ าจ้ างลูกจ้ างชั่วคราว
• สภาวะสุ ขภาพพบว่ า ปี นีเ้ จ้ าหน้ าทีต่ รวจสุ ขภาพ
•
ปี 2548
ปี 2549
ปี 2550
• ผลตรวจ 70.67
98.40
88.60
Design & Action
1. การวางรูปแบบและการจัดระบบงาน
• มีคณะกรรมการทีม Hum
• คณะกรรมการ HRD
• (ประชุ มอย่ างน้ อย 2 เดือน/ครั้ง หรือมีวาระเร่ งด่ วน)
– คณะกรรมการ Hum & HRD กาหนดนโยบายและแผนพัฒนา
ทรั พ ยากรบุ ค คล ที่ ส อดคล้ อ งกั บ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ของ
โรงพยาบาล โดยมีนโยบายและเป้าหมาย
– 1.มีกาลังคนเพียงพอทั้งด้ านปริมาณและคุณภาพ
– 2.พัฒนาความรู้และทักษะตามแผนการประเมินส่ วนขาด
– 3.การสร้ างแรงจูงใจและความก้าวหน้ า
– 4.สร้ างความพึงพอใจและความผาสุ ก
– โดยเป้ าหมายแต่ ล ะเรื่ อ งจะมอบให้ อ ยู่ ใ นงานประจ าของแต่ ล ะ
หน่ วยงาน
นโยบายข้ อที่ 1 อัตรากาลังเพียงพอ
1.การคิดภาระงานและแนวทางการทดแทนส่ วนขาด
2.กระบวนการสรรหาว่ าจ้ างและธารงรักษาบุคลากร
3.การเตรียมความพร้ อมประจาการ (HRD – ปฐมนิเทศ)
4.การกาหนด JD, JS, Competency และ KPI รายบุคคล(กพ.)
5.การกากับดูแลผู้มีคุณสมบัติไม่ ครบ – ทดลองการปฏิบัติงาน การ
สอนงานโดยมีพเี่ ลีย้ ง
นโยบายข้ อที่ 2 ความรู้ และทักษะ
1.การสารวจ Training Need และการประเมิน Competency
2.การวางแผนพัฒนาทรัพยากร
3.การทา KM
นโยบายข้ อที่ 3 แรงจูงใจและความก้ าวหน้ า
•
1.ระบบการประเมินผลงานโปร่ งใสและเป็ นธรรม
•
• 2.การรับทราบผลการปฏิบัตงิ านเพือ่ พัฒนาตนเอง
•
• 3.การให้ รางวัลและการบริหารค่ าตอบแทน
นโยบายข้ อที่ 4 ความพึงพอใจและความผาสุ ก
• 1.สภาพแวดล้ อมในการทางานปลอดภัยสุ ขภาพดี
• 2.การสารวจความคิดเห็นของเจ้ าหน้ าที่และการตอบสนอง
• 3.การจัดระบบสวัสดิการ การรักษาเวลาเจ็บป่ วย การช่ วยเหลือ
ด้ านอืน่ ๆ ตามระบบสวัสดิการทีร่ พ.กาหนด
• 4.การดูแลสุ ขภาพ กาย จิต เป็ นแบบอย่ างพฤติกรรมสุ ขภาพ
2.ระบบประเมินผลและพัฒนางานของบุคลากร
• บุคลากร มีการประเมินผลการปฏิบัตงิ านปี ละ 2 ครั้ง
•
- หน่ วยงานทาการประเมิน
•
- ส่ วนขาด/ประสิ ทธิภาพการทางานตา่ มีการแก้ ไข
•
- นาผลการประเมินประกอบการพิจารณาความดี
•
ความชอบบุคลากรประจาปี
• จัดงานมหกรรม CQI
3.การจ้ างงานและความก้ าวหน้ าในสายงาน
• เจ้ าหน้ าทีท่ ุกคนกาหนด JD,JS,Competency,KPI รายบุคคล
• กระบวนการสรรหา ว่ าจ้ าง คัดเลือก บรรจุหรือรับย้ าย
หน่ วยงานทีต่ ้ องการบุคลากร กาหนดคุณลักษณะ
คุณสมบัตเิ ฉพาะให้ ทมี Hum พิจารณาพร้ อม Work Load
4.การเรียนรู้และการสร้ างแรงจูงใจสาหรับบุคลากร
• ทุกหน่ วยงานมีการประเมิน Training Need
• ความต้ องการ ส่ วนขาดของ Competency และ JS เพือ่ เป็ น
ข้ อมูลนาไปประกอบทาแผนพัฒนาบุคลากร ซึ่งมีแผนระยะสั้ น
และแผนระยะยาว แผนการฝึ กอบรม แผนการศึกษาต่ อเนื่อง
• แผนพัฒนาบุคลากร ต้ องสอดคล้ องกับภารกิจของ โรงพยาบาล
5.การติดตามหลังการอบรม
• เชิงปริมาณพบร้ อยละตามแผนบุคลากรทีไ่ ด้ รับการอบรม
– ปี 2548 ร้ อยละ 85.00
– ปี 2549 ร้ อยละ 85.00
– ปี 2550 ร้ อยละ 89.00
– ปี 2551 ร้ อยละ
เชิงคุณภาพ - ความเสี่ ยงจากผลการปฏิบัติงานหลังจากอบรม
น่ าจะลดลง
6.แรงจูงใจและความก้ าวหน้ าในหน้ าทีก่ ารงาน
• ผลการสารวจความพึงพอใจของเจ้ าหน้ าที่ (ปี 2550)
•
1.ความพึงพอใจในบรรยากาศการทางาน ร้ อยละ 74.80
•
2.ความพึงพอใจในการจัดสวัสดิการของโรงพยาบาลให้ กบั บุคลากร
ร้ อยละ 66.40
•
3.ความพึงพอใจในระบบป้องกันความเสี่ ยงและความปลอดภัย
พร้ อมทั้งการจัดอุปกรณ์ ป้องกันอุบัตกิ าร ร้ อยละ 70.00
•
4.ความพึงพอใจในเงินเดือนและค่ าตอบแทน ร้ อยละ 64.00
•
5.คะแนนเฉลีย่ ในความพึงพอใจกับโอกาสและกิจกรรมที่โรงพยาบาล
ได้ พฒ
ั นาคุณภาพความสามารถของตัวท่ าน ร้ อยละ 71.80
7.ความก้ าวหน้ าในหน้ าที่การงาน
•
เมือ่ มีการอนุมตั ติ าแหน่ งให้ ว่าจ้ างลูกจ้ างชั่วคราว ทีเ่ ป็ น
ตาแหน่ งทีต่ ้ องใช้ คุณวุฒิทสี่ ู งขึน้ โรงพยาบาลจะพิจารณา
ให้ สิทธิลูกจ้ างชั่วคราวรายวัน / รายเดือน ทีม่ คี ุณวุฒิตามที่
ต้ องการได้ โอกาสเข้ าสอบทาการคัดเลือกก่ อนโดยใช้ วุฒิที่
สู งขึน้
• เจ้ าหน้ าทีท่ มี่ วี ุฒิสูงขึน้ เปิ ดโอกาสให้ สามารถสอบ
คัดเลือกเข้ าสู่ ตาแหน่ งทีส่ ู งขึน้ ตามประกาศ สป.
8.ความผาสุ กและความพึงพอใจของบุคลากร
• สภาพแวดล้ อมในการทางาน
• - 5 ส.
• - คณะกรรมการตรวจสอบ แสง เสี ยง ความร้ อนและ
ความปลอดภัยอาคาร ปี ละ 1 ครั้ง
• - ซ้ อมแผนอัคคีภัย/อุบัตเิ หตุหมู่ ปี ละ 1 ครั้ง
9.การดูแลและสร้ างความพึงพอใจแก่ บุคลากร
• สารวจความพึงพอใจเจ้ าหน้ าทีป่ ี ละ 1 ครั้ง
• อัตราการลาออกของลูกจ้ างชั่วคราว
–
–
–
-
ปี 2548
ปี 2549
ปี 2550
ปี 2551
ร้ อยละ 6.36
ร้ อยละ 5.21
ร้ อยละ 3.37
ร้ อยละ 1.69 (ลาออก 4 คน ให้ ออก 1 คน)
10.สุ ขภาพของบุคลากร
• โรงพยาบาลกาหนดนโยบาย โรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพ
บุคลากรจะต้ องเป็ นผู้นาด้ านสุ ขภาพและเป็ นตัวอย่ างที่ดแี ก่
ประชาชน (ไม่ ดมื่ เหล้ า, ไม่ สูบบุหรี่)
• การตรวจสุ ขภาพเจ้ าหน้ าทีป่ ระจาปี (ปี 2548=70.67%
•
ปี 2549=98.40% และปี 2550=88.60%)
• เจ้ าหน้ าทีใ่ หม่ ทุกคนก่ อนเข้ าปฏิบัตงิ านจะต้ องตรวจสุ ขภาพ
• การปฏิบัตงิ านตามหลัก SP
เครื่องชี้วดั ประสิ ทธิภาพระบบทรัพยากรบุคคล
เป้าหมาย
เครื่องชี้วดั
ความ
เพียงพอ
1.ร้ อยละขององค์ กรพยาบาลมี
Productivity อยู่ในเกณฑ์ ทกี่ าหนด
2.ร้ อ ยละของหน่ วยสนั บสนุ นมีก าร
คิดภาระงาน
3.ระยะเวลาในการสรรหาบุคลากร
4.ค่ าตอบแทนนอกเวลาเมื่อเทียบกั บ
ค่ าใช้ จ่ายบุคลากร
Target ปี 49 ปี 50 ปี 51
100
100
25 วัน
<1
20
20
0.42
20
0.31
เครื่องชี้วดั ประสิ ทธิภาพระบบทรัพยากรบุคคล
เป้าหมาย
เครื่องชี้วดั
Target ปี 49 ปี 50 ปี 51
ร้ อยละ5
พัฒนาอยู่ 1.ร้ อยละค่าใช้ จ่ายในการฝึ กอบรม
เสมอ เกี่ ย วกั บ งบประมาณรายจ่ า ยด้ า น
บุคลากร
2.ร้ อยละของบุ ค ลากรได้ รั บการ
พัฒนาตามเกณฑ์
3.จานวนผลลัพธ์ ที่ได้ จากการอบรม
(การนาความรู้มาพัฒนาระบบงาน)
>80
100
1.62
1.88
89.00
89.00
2.22
เครื่องชี้วดั ประสิ ทธิภาพระบบทรัพยากรบุคคล
เป้าหมาย
เครื่องชี้วดั
ความผาสุ ก
-พึงพอใจ
-สภาวะ
สุ ขภาพ
1.ระดับความพึงพอใจของ จนท.
2.อัตราการ Turn over rate
3.ร้ อยละ จนท.ทีม่ กี ารตรวจสุ ขภาพ
4.ร้ อยละของ จนท.ต่ อสภาวะสุ ขภาพ
กลุ่มดี
กลุ่มเสี่ ยง
กลุ่มป่ วย
(ยั ง ไม่ ไ ด้ ก าหนดว่ า ต้ อ งตรวจพบ
อะไรบ้ างจึงจะถือว่ าเป็ นกลุ่มดี)
Target ปี 49 ปี 50 ปี 51
70
<1
100
70
< 25
<5
82.80
5.21
98.40
74.80
3.37
88.60
71.20
(N)
เครื่องชี้วดั ประสิ ทธิภาพระบบทรัพยากรบุคคล
เป้าหมาย
เครื่องชี้วดั
ความผาสุ ก 5.ร้ อยละของ จนท.ต่ อ พฤติ ก รรม
สุ ขภาพ
-พฤติกรรม
- รอบเอว ชาย>36 นิว้ (17 คน)
สุ ขภาพ
หญิง>32 นิว้ (32 คน)
- BMI <18.5 (34 คน)
- BMI 18.6-22.9 (156 คน)
-BMI > 23 (105 คน)
Target ปี 49 ปี 50 ปี 51
< 10
< 10
<5
< 75
< 15
13.17
12.08
8.63
39.59
26.65
เครื่องชี้วดั ประสิ ทธิภาพระบบทรัพยากรบุคคล
เป้าหมาย
เครื่องชี้วดั
ความผาสุ ก 6.อัตราการบาดเจ็บ/ติดเชื้อ/ป่ วย
-พฤติกรรม จากการปฏิบตั ิงาน
7.ระดับความเครียดของ จนท.
สุ ขภาพ
-ไม่ แน่ ใจ
-ปกติ-เครียดเล็กน้ อย
-ปานกลาง-มาก
Target ปี 49 ปี 50 ปี 51
<2:100
>80
<2
13 คน
12 คน